ครุ่นคิด | (v) ponder, See also: muse, be immersed in thought, be engrossed or absorbed in thought, be deep in thought, hav, Syn. คิดหนัก, คิดมาก, ใคร่ครวญ, Example: ผมครุ่นคิดถึงปัญหาตลอดเวลาที่ขับรถอยู่, Thai Definition: คิดคำนึงตลอดเวลา |
การครุ่นคิด | (n) pondering, See also: considering, Syn. การกังวล, Example: การครุ่นคิดในบางเรื่องมากเกินไปทำให้จิตใจไม่ผ่องใส |
ครุ่น | (คฺรุ่น) ว. บ่อย ๆ เช่น เจ็บปวดครุ่นไปไข้ชราถอยกำลังวังชาลงทุกปี (สังข์ทอง), ซ้ำ ๆ, รํ่าไป, เช่น ครุ่นแค้น. |
ครุ่นคิด ๑ | ก. คิดซ้ำ ๆ ซาก ๆ. |
ครุ่นคิด ๑ | ดูใน ครุ่น. |
ครุ่นคิด ๒ | น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น หน้าทับเฉพาะ (เทียบเท่าหน้าทับสองไม้). |
กามวิตก | น. ความครุ่นคิดในกาม, ความคิดคำนึงในทางกาม (ป.). |
ปรารมภ์ | วิตก, รำพึง, ครุ่นคิด. |
brooding | อาการครุ่นวิตก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
New Age consumers | ผู้บริโภครุ่นใหม่ [TU Subject Heading] |
Gorbachev doctrine | นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต] |
กำลังครุ่นคิด | [kamlang khrunkhit] (adj) EN: pensive |
ครุ่นคิด | [khrunkhit] (v) EN: ponder ; muse ; be immersed in thought ; be engrossed in thought ; be absorbed in thought ; be deep in thought ; have a bee in one's bonnet |
brood | (vi) ครุ่นคิด, See also: กังวล |
gloat over | (phrv) มองหรือครุ่นคิดเกี่ยวกับความทะยานอยาก (เช่น อยากได้เงิน, อยากเป็นเจ้าของ, อยากประสบความสำเร็จ) |
lost in thought | (phrv) มัวแต่ครุ่นคิด |
mull over | (phrv) ครุ่นคิด, See also: ใคร่ครวญ, Syn. think about |
meditate | (vi) ครุ่นคิด, See also: ใคร่ครวญ, ไตร่ตรอง, พิจารณา, Syn. think, consider |
meditation | (n) การไตร่ตรอง, See also: การครุ่นคิด, การพิจารณา, การใคร่ครวญ, Syn. deliberation, contemplation |
monomania | (n) การครุ่นคิดเรื่องเดียว |
monomaniac | (adj) เกี่ยวกับการครุ่นคิดเรื่องเดียว |
monomaniacal | (adj) ซึ่งครุ่นคิดเรื่องเดียว |
mull | (vi) ครุ่นคิด, Syn. meditate, ponder, reflect |
mull | (vt) ครุ่นคิด |
muse | (vi) ตรึกตรอง, See also: ใคร่ครวญ, พิจารณา, วิเคราะห์, ครุ่นคิด, คิดทบทวน, Syn. cogitate, ruminate, think, meditate, ponder, contemplate, deliberate |
musing | (adj) ซึ่งครุ่นคิด, Syn. pensive, introspective |
musingly | (adv) อยางครุ่นคิด |
pensive | (adj) ครุ่นคิด, See also: วิตกกังวล, Syn. meditative, absorbed, engrossed, thoughtful |
ponder | (vi) ครุ่นคิด, See also: พิจารณา, ไตร่ตรอง, Syn. consider, deliberate, meditate |
ponder | (vt) ครุ่นคิด, See also: พิจารณา, ไตร่ตรอง, Syn. consider, deliberate, meditate |
pore on: pore upon | (phrv) ไตร่ตรอง, See also: ครุ่นคิดถึง, Syn. think about |
reflect | (vi) ไตร่ตรอง, See also: ครุ่นคิด, Syn. consider, muse, ponder |
revolve | (vi) ครุ่นคิด, See also: ใคร่ครวญ, Syn. think over |
ruminant | (adj) ครุ่นคิด, Syn. reflective, thoughtful |
ruminate | (vi) ครุ่นคิด, See also: คำนึง, ตรึกตรอง, ใคร่ครวญ, Syn. ponder, reflect, think |
ruminate | (vt) ครุ่นคิด, See also: คำนึง, ตรึกตรอง, ใคร่ครวญ, Syn. ponder, reflect, think |
think | (vi) คิด, See also: ครุ่นคิด, คิดอ่าน |
thoughtful | (adj) ครุ่นคิด, See also: ไตร่ตรอง, Syn. thinking, meditative, engrossed |
thought-out | (adj) ไตร่ตรองมาก, See also: ครุ่นคิดมาก, ละเอียด |
withdrawn | (adj) ซึ่งครุ่นคิดถึงเรื่องส่วนตัว, See also: ซึ่งเก็บเนื้อเก็บตัว, ซึ่งไม่ชอบเข้าสังคม, Syn. aloof, introverted, remote, Ant. intimate, sociable, unreserved |
withdrawnness | (n) การครุ่นคิดถึงเรื่องส่วนตัว, See also: การไม่ชอบเข้าสังคม, การเก็บเนื้อเก็บตัว |
brood | (บรูด) { brooded, brooding, broods } n. คอกหนึ่ง, กลุ่มหนึ่ง, พันธุ์หนึ่ง, ชนิดหนึ่ง vi. กก (ไข่) , ใช้ปีกโอบคุ้มกัน (ลูกสัตว์) , ครุ่นคิด. adj. สำหรับไว้กกไข่ |
brooder | (บรู'เดอะ) n. เครื่อง (สัตว์) ฟักไข่, คนที่ครุ่นคิด |
broody | (บรู'ดี) adj. มีอารมณ์, ครุ่นคิด, รำพึง, See also: broodiness n. ดูbroody, Syn. moody |
chew | (ชู) { chewed, chewing, chews } vt. เคี้ยว, ขยำ, ทำลาย, ทำให้บาดเจ็บใคร่ครวญ, ครุ่นคิด, ไตร่ตรอง. -vi. เคี้ยว, เคี้ยวใบยาสูบ, ครุ่นคิด, See also: chew the cud เคี้ยวเอื้อง, ครุ่นคิด chew out ด่าว่า -n. การเคี้ยว, ปริมาณเต็มปาก -S... |
consider | (คันซิด'เดอะ) { considered, considering, considers } vt. พิจารณา, ครุ่นคิด, คิด, คำนึงถึง, See also: considerer n. ดูconsider, Syn. examine, ponder |
consideration | (คันซิดเดอเร'เชิน) n. การพิจารณา, การครุ่นคิด, สิ่งที่ควรพิจารณา, การชดเชย, ความเห็นใจคนอื่น, ความสำคัญ, ความนับถือ, Syn. thinking |
contemplative | (คัมเทม'พละทิฟว) adj. ซึ่งครุ่นคิด, ซึ่งไตร่ตรอง. n. ผู้ชอบเข้าฌาน (เช่นพระ) ., See also: contemplativeness n. ดูcontemplative, Syn. thoughtful, Ant. unreflective |
creep { crept | (ครีพ) vi. คลาน, ค่อย ๆ เข้ามา, เลื้อย, ย่อง, เล็ดลอด, พลัด, ประจบ, เอาใจ, รู้สึกขนลุก. n. การคลาน, การเลื้อย, การค่อย ๆ เข้ามา, การย่อง, ความรู้สึกที่ขนลุกขนพอง, คอกล้อม, คนที่น่าเบื่อและรบกวนคนอื่น, คนครุ่นคิด, ความน่ากลัว, ความน่าขยะแขยง, Syn. cr |
creeping | (ครีพ) vi. คลาน, ค่อย ๆ เข้ามา, เลื้อย, ย่อง, เล็ดลอด, พลัด, ประจบ, เอาใจ, รู้สึกขนลุก. n. การคลาน, การเลื้อย, การค่อย ๆ เข้ามา, การย่อง, ความรู้สึกที่ขนลุกขนพอง, คอกล้อม, คนที่น่าเบื่อและรบกวนคนอื่น, คนครุ่นคิด, ความน่ากลัว, ความน่าขยะแขยง, Syn. cr |
creeps } | (ครีพ) vi. คลาน, ค่อย ๆ เข้ามา, เลื้อย, ย่อง, เล็ดลอด, พลัด, ประจบ, เอาใจ, รู้สึกขนลุก. n. การคลาน, การเลื้อย, การค่อย ๆ เข้ามา, การย่อง, ความรู้สึกที่ขนลุกขนพอง, คอกล้อม, คนที่น่าเบื่อและรบกวนคนอื่น, คนครุ่นคิด, ความน่ากลัว, ความน่าขยะแขยง, Syn. cr |
crept | (ครีพ) vi. คลาน, ค่อย ๆ เข้ามา, เลื้อย, ย่อง, เล็ดลอด, พลัด, ประจบ, เอาใจ, รู้สึกขนลุก. n. การคลาน, การเลื้อย, การค่อย ๆ เข้ามา, การย่อง, ความรู้สึกที่ขนลุกขนพอง, คอกล้อม, คนที่น่าเบื่อและรบกวนคนอื่น, คนครุ่นคิด, ความน่ากลัว, ความน่าขยะแขยง, Syn. cr |
cud | (คัด) n. ส่วนของอาหารจากกระเพาะที่สัตว์เคี้ยวเอื้องสำรอกออกมาเคี้ยวอีก, เส้นยาสูบที่ใช้เคี้ยว -Id. (chew the cud ครุ่นคิด) |
introvert | (อิน'ทระเวิร์ท) vi., n., adj. (ผู้) หันเข้าข้างใน, ครุ่นคิดแต่เรื่องของตัวเอง, ฝัง (หุ้ม) ตัวอยู่ |
melancholy | (เมล'เลินคอลลี) n. ภาวะจิตใจหดหู่, ใจคอเหี่ยวแห้ง, อาการครุ่นคิดมาก adj. หดใจหู่ใจ, สลดใจ, ครุ่นคิดหนัก, Syn. gloomy, dismal, gloom |
muse | (มิวซ) v. รำพึง, ครุ่นคิด, ใคร่ครวญ, จ้องอย่างใคร่ครวญ, See also: muser n., Syn. ponder |
musing | (มิว'ซิง) adj., n. (การ) ครุ่นคิด, ใคร่ครวญ, รำพึง, Syn. thoughtful |
nostalgia | (นอสแทล'เจีย) n. การครุ่นคิดอยากให้กลับมาซึ่งประสบการณ์, สิ่งของหรือความคุ้นเคยในอดีต, See also: nostalgic adj. |
pensive | (เพน'ซิฟว) adj. ครุ่นคิด, รำพึง, เป็นทุกข์, See also: pensiveness n., Syn. reflective, wistful, Ant. heedless |
ponder | (พอน'เดอะ) vi., vt. ครุ่นคิด, คำนึง, ไตร่ตรอง, พิจารณา. |
pore | (พอร์) n. รูเล็ก ๆ , รูขน, ขุมขน vi. ไตร่ตรอง, ครุ่นคิด, พินิจ, อ่านอย่างตั้งใจ, ศึกษาอย่างตั้งใจ |
puzzle | (พัส'เซิล) n. ปัญหา, ปัญหายุ่งยาก, ปริศนา, เรื่องฉงนสนเท่ห์, สภาวะที่ซับซ้อน vt. ทำให้ฉงนสนเท่ห์, ทำให้งงงวย, ทำให้ยุ่ง. vi. ครุ่นคิดหนัก, ใคร่ครวญ, ไตร่ตรอง, See also: puzzle out แก้ปัญหาโดยความพยายามหรือไตร่ตรอง puzzledly adv. puzzlingly adv. |
reflect | (รีเฟลคทฺ') vt., vi. สะท้อนกลับ, ส่องกลับ, สะท้อนภาพให้เห็น, ครุ่นคิด, ไตร่ตรอง, ส่อให้เห็น, นำมาสู่ (ชื่อเสียง, การตำหนิ), See also: reflectibility n. reflectingly adv., Syn. cast back, mirror, show, ponder |
reflection | (รีเฟลค'เชิน) n. การสะท้อนกลับ, การส่องกลับ, สิ่งที่สะท้อนกลับ, ภาพสะท้อน, แสงสะท้อน, ความร้อนสะท้อนกลับ, การครุ่นคิด, การไตร่ตรอง, การตำหนิ, การกล่าวหา, การพับกลับ, การงอกลับ., See also: al adj., Syn. reflexion, thought |
revolve | (รีวอลว') vi., vt. หมุนรอบ, โคจร, เกิดขึ้นเป็นวัฎจักร, ครุ่นคิด, คิดทบทวน, ทำให้โคจร, See also: revolvable adj. revolvably adv., Syn. spin, rotate, whirl |
ruminant | (รู'มะเนินทฺ) n. สัตว์เคี้ยวเอื้อง (เช่น วัว, ควาย, กวาง, อูฐ) adj. เคี้ยวเอื้อง, รำพึง, ครุ่นคิด, ตรึกตรอง, |
ruminate | (รู'มะเนท) vi., vt. เคี้ยวเอื้อง, รำพึง, ครุ่นคิด, ตรึกตรอง, ทบทวน, See also: rumination n. ruminative adj. ruminatively adv. ruminator n., Syn. chew the cud, muse, ponder |
speculate | (สเพค'คิวเลท) vi. พิจารณา, เก็ง, เดา, ครุ่นคิด, เสี่ยงโชค, คาดการณ์, ซื้อขายหากำไร, ค้าขาย., See also: speculation n. speculative adj. speculator n., Syn. conjecture, ponder, meditate |
think | (ธิงคฺ) vi. คิด, ใช้ความคิด, ครุ่นคิด, นึก, ระลึก, รำลึก, รำพึง, ไตร่ตรอง, อยากจะ, เข้าใจว่า, รู้สึกว่า, คิดว่า, ถือว่า. vt. คิดว่า, รู้สึกว่า, ถือว่า, เข้าใจว่า, คาดคิด, See also: thinkable adj. -Phr. think fit คิดว่าเหมาะสม, -Phr. think up วางแผน คิดขึ้น |
thought-out | adj. ไตร่ตรองมาก, ครุ่นคิดมาก, คิดมาอย่างละเอียด |
thoughtful | (ธอท'ฟูล) adj. ครุ่นคิด, ไตร่ตรอง, ใช้ความคิด, คิดหนัก, เอาอกเอาใจผู้อื่น, ระมัดระวัง., Syn. meditative, attentive |
brood | (vi) ครุ่นคิด, รำพึง, คิด |
consideration | (n) การพิจารณา, การครุ่นคิด, การคำนึงถึง, ความเห็นอกเห็นใจ |
contemplate | (vi) นึก, ไตร่ตรอง, ใคร่ครวญ, ครุ่นคิด |
introspection | (n) การพิจารณา, การใคร่ครวญ, การทบทวน, การครุ่นคิด |
muse | (vi) ครุ่นคิด, ใคร่ครวญ, คิดทบทวน, รำพึง |
perpend | (vi) คิด, ครุ่นคิด, พิจารณา, ไตร่ตรอง, ใช้วิจารณญาณ |
ponder | (vt) ใคร่ครวญ, ครุ่นคิด, พิจารณา |
reflect | (vi) ใคร่ครวญ, ไตร่ตรอง, ครุ่นคิด, สะท้อนกลับ, ส่อให้เห็น |
revolve | (vt) คิดทบทวน, ตรึกตรอง, พิจารณา, ครุ่นคิด |
ruminate | (vt) ครุ่นคิด, ตรึกตรอง, เคี้ยวเอื้อง |
rumination | (n) การครุ่นคิด, การตรึกตรอง, การรำพึง, การเคี้ยวเอื้อง |
thoughtful | (adj) ช่างคิด, ครุ่นคิด, รอบคอบ, เกรงใจ |
Schweigen | (n) |das| อาการเงียบ, อาการนิ่งงัน เช่น Sie antwortete nach einem nachdenklichen Schweigen. เธอตอบหลังจากอาการเงียบครุ่นคิด |