ข่มขืน | ก. บังคับ, ขืนใจ, ขู่เข็ญ. |
ข่มขืนกระทำชำเรา | น. เป็นฐานความผิดอาญา ที่ผู้กระทำ ชำเราบุคคลอื่น ไม่ว่าผู้กระทำหรือผู้ถูกกระทำจะเป็นชายหรือหญิง และจะเป็นคู่สมรสของตนหรือไม่ โดยใช้กำลังประทุษร้าย โดยผู้ถูกกระทำอยู่ในภาวะที่ไม่สามารถขัดขืนได้ หรือโดยทำให้ผู้ถูกกระทำเข้าใจผิดว่าตนเป็นบุคคลอื่น. |
ข่มขืนใจ | ก. บังคับจิตใจหรือฝืนใจให้ต้องกระทำการหรืองดเว้นกระทำการ เช่น ข่มขืนใจเจ้าพนักงานให้ปฏิบัติการอันมิชอบด้วยหน้าที่ หรือให้ละเว้นการปฏิบัติการตามหน้าที่ โดยใช้กำลังประทุษร้าย หรือขู่เข็ญว่าจะใช้กำลังประทุษร้าย ซึ่งเป็นความผิดต่อเจ้าพนักงาน. |
กรรโชก | (กัน-) น. เป็นฐานความผิดอาญา ที่ผู้กระทำข่มขืนใจผู้อื่นให้ยอมให้หรือยอมจะให้ตนหรือผู้อื่นได้ประโยชน์ในลักษณะที่เป็นทรัพย์สิน โดยใช้กำลังประทุษร้ายหรือโดยขู่เข็ญว่าจะทำอันตรายต่อชีวิต ร่างกาย เสรีภาพ ชื่อเสียง หรือทรัพย์สินของผู้ถูกขู่เข็ญ หรือของบุคคลที่สาม จนผู้ถูกข่มขืนใจยอมเช่นว่านั้น. |
ขืนใจ | ข่มขืน. |
ชำเรา ๑ | ก. ลึก, ล่วงเข้าไป, เช่น ชายใดข่มขืนภิริยาท่านถึงชำเรา ให้ไหมโดยประถมผิดเมียทวีคูณ ถ้าข่มขืนมิได้ถึงชำเรา ให้ไหมโดยปรถมผิดเมีย (สามดวง พระไอยการลักษณผัวเมีย) |
โทรมหญิง | ก. ร่วมกันตั้งแต่ ๒ คนขึ้นไปข่มขืนกระทำชำเราหญิง โดยผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกันหรือกระทำพร้อมกัน. |
ปล้นสวาท | ก. ข่มขืนกระทำชำเรา. |
รีดเอาทรัพย์ | น. เป็นฐานความผิดอาญา ที่ผู้กระทำข่มขืนใจผู้อื่นให้ยอมให้หรือยอมจะให้ตนหรือผู้อื่นได้ประโยชน์ในลักษณะที่เป็นทรัพย์สิน โดยขู่เข็ญว่าจะเปิดเผยความลับ ซึ่งการเปิดเผยนั้นจะทำให้ผู้ถูกขู่เข็ญหรือบุคคลที่สามเสียหายจนผู้ถูกข่มขืนใจยอมเช่นว่านั้น. |
ลงแขก | รุมกันข่มขืนกระทำชำเราหญิง. |
Date rape | การข่มขืนคู่นัดพบฉันท์ชู้สาว [TU Subject Heading] |
Gang rape | การข่มขืนเป็นกลุ่ม [TU Subject Heading] |
Incest victims | ผู้ถูกข่มขืนจากบุคคลในครอบครัว [TU Subject Heading] |
Rape | การข่มขืน [TU Subject Heading] |
Rape in marriage | การข่มขืนในชีวิตสมรส [TU Subject Heading] |
Rape in mass media | การข่มขืนในสื่อมวลชน [TU Subject Heading] |
Rape victims | ผู้ถูกข่มขืน [TU Subject Heading] |
Rapists | ผู้ข่มขืน [TU Subject Heading] |
Trials (Rape) | การพิจารณาและตัดสินคดี (การข่มขืน) [TU Subject Heading] |
Commission on Human Rights | คณะกรรมาธิการว่าด้วยสิทธิมนุษยชน แต่งตั้งขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1946 ตามมติของคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมของสหประชาชาติ มีหน้าที่รับผิดชอบในการเสนอข้อเสนอแนะและรายงานการสอบสวนต่าง ๆ เกี่ยวกับประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนไปยังสมัชชา (General Assembly) สหประชาชาติ โดยผ่านคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม คณะกรรมาธิการประกอบด้วยผู้แทนประเทศสมาชิก 53 ประเทศ ซึ่งได้รับเลือกตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่ตามวาระ 3 ปี มีการประชุมกันทุกปี ปีละ 6 สัปดาห์ ณ นครเจนีวา และเมื่อไม่นานมานี้ คณะกรรมาธิการได้จัดตั้งกลไกเพื่อให้ทำหน้าที่สอบสวนเกี่ยวกับปัญหาสิทธิ มนุษยชนเฉพาะในบางประเทศ กลไกดังกล่าวประกอบด้วยคณะทำงาน (Working Groups) ต่าง ๆ รวมทั้งเจ้าหน้าที่พิเศษที่สหประชาชาติแต่งตั้งขึ้น (Rapporteurs) เพื่อให้ทำหน้าที่ศึกษาและสอบสวนประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนโดยเฉพาะในบาง ประเทศมีเรื่องน่าสนใจคือ ใน ค.ศ. 1993 ได้มีการประชุมในระดับโลกขึ้นที่กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย ซึ่งแสดงถึงความพยายามของชุมชนโลก ที่จะส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นมูลฐานไม่ว่าที่ไหน ในระเบียบวาระของการประชุมดังกล่าว มีเรื่องอุปสรรคต่างๆ ที่เห็นว่ายังขัดขวางความคืบหน้าของการดำเนินงานด้านสิทธิมนุษยชน รวมทั้งการหาหนทางที่จะเอาชนะอุปสรรคเหล่านั้น เรื่องความเกี่ยวพันกันระหว่างการพัฒนาลัทธิประชาธิปไตย และการให้สิทธิมนุษยชนทั่วโลก เรื่องการท้าทายต่างๆ ที่เกิดขึ้นใหม่ ซึ่งทำให้ไม่อาจปฏิบัติให้บรรลุผลอย่างสมบูรณ์ในด้านสิทธิมนุษยชน เรื่องการหาหนทางที่จะกระชับความร่วมมือระหว่างประเทศในด้านสิทธิมนุษยชน และการที่จะส่งเสริมศักยภาพของสหประชาชาติในการดำเนินงานในเรื่องนี้ให้ได้ ผล ตลอดจนเรื่องการหาทุนรอนและทรัพยากรต่างๆ เพื่อใช้ในการปฏิบัติงานดังกล่าวในการประชุมระดับโลกครั้งนี้มีรัฐบาลของ ประเทศต่างๆ บรรดาองค์กรของสหประชาชาติ สถาบันต่างๆ ในระดับประเทศชาติ ตลอดจนองค์การที่มิใช่ของรัฐบาลเข้าร่วมรวม 841 แห่ง ซึ่งนับว่ามากเป็นประวัติการณ์ ช่วงสุดท้ายของการประชุมที่ประชุมได้พร้อมใจกันโดยมิต้องลงคะแนนเสียง (Consensus) ออกคำปฏิญญา (Declaration) แห่งกรุงเวียนนา ซึ่งมีประเทศต่าง ๆ รับรองรวม 171 ประเทศ ให้มีการปฏิบัติให้เป็นผลตามข้อเสนอแนะต่างๆ ของที่ประชุม เช่น ข้อเสนอแนะให้ตั้งข้าหลวงใหญ่เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนหนึ่งตำแหน่งให้มีการรับ รู้และรับรองว่า ลัทธิประชาธิปไตยเป็นสิทธิมนุษยชนอันหนึ่ง ซี่งเป็นการเปิดโอกาสให้ลัทธิประชาธิปไตยได้รับการสนับสนุนส่งเสริมให้มั่น คงยิ่งขึ้น รวมทั้งกระชับหลักนิติธรรม (Rule of Law) นอกจากนี้ยังมีเรื่องการรับรองว่า การก่อการร้าย (Terrorism) เป็นการกระทำที่ถือว่ามุ่งทำลายสิทธิมนุษยชน ทั้งยังให้ความสนับสนุนมากขึ้นในนโยบายและแผนการที่จะกำจัดลัทธิการถือเชื้อ ชาติและเผ่าพันธุ์ การเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับเชื้อชาติ การเกลียดคนต่างชาติอย่างไร้เหตุผล และการขาดอหิงสา (Intolerance) เป็นต้นคำปฎิญญากรุงเวียนนายังชี้ให้เห็นการล่วงละเมิดสิทธิมนุษยชน อย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ (Genocide) และการข่มขืนชำเราอย่างเป็นระบบ (Systematic Rape) เป็นต้น [การทูต] |
assault | (n) การข่มขืน, Syn. rape, sexual assault |
felony | (n) อาชญากรรม, See also: การฆาตกรรม, การข่มขืนกระทำชำเรา, การกระทำผิด, Syn. crime, misdeed, misbehavior, Ant. good, virtue |
gang-rape | (vt) ข่มขืน, See also: รุมโทรมหญิง |
outrage | (vt) ข่มขืน, See also: ข่มขืนกระทำชำเรา, Syn. rape, ravish, violate |
rape | (n) การข่มขืน, Syn. ravishment, sexual assault, violation |
rape | (vt) ข่มขืน, See also: ขืนใจ, ข่มขืนกระทำชำเรา, ปลุกปล้ำ, ปล้ำ, Syn. ravish, violate |
raper | (n) ผู้ข่มขืนกระทำชำเรา, Syn. rapist |
rapist | (n) ผู้ข่มขืนกระทำชำเรา, Syn. raper |
ravish | (vt) ข่มขืนกระทำชำเรา, Syn. abuse, rape |
gang-bang | (sl) การข่มขืนหมู่ |
abuse | (อะบิวซ) vt., n. ใช้ในทางผิด, ใช้มากเกินไป, ใช้เป็นโทษ, หลอกลวง, ข่มขืน, ชำเรา, กล่าวร้าย. -abusive adj., -abuser n. |
assault | (อะซอลทฺ') n. การโจมตีอย่างรุนแรง, การจู่โจม, การข่มขืน, การทำลาย (ชื่อเสียง) -vt. โจมตี, จู่โจม, ทำลาย, ข่มขืน -assaulter n., Syn. attack, abuse, rape |
atrocious | (อะโทร'เชิส) adj. โหดร้าย, ชั่วร้าย, น่ากลัว, ดุร้าย, เลวร้าย, ข่มขืนใจสตรี. |
attack | (อะแทค') vt., vi., n. โจมตี, เข้าตี, ทำร้าย, เล่นงาน, ลงมือทำ, (โรค) เป็น, (ไข้) จับ, ลงมือทำ, เริ่มขึ้น, เริ่มต้น, ข่มขืน, พยายามข่มขืน |
felony | (เฟล'เลินนี) n. ความผิดอาญาร้ายแรง (เช่นฆาตกรรม-วางเพลิง-ข่มขืนกระทำ ชำเรา) |
harrow | (แฮ'โร) n. คราด vt. คราด (ดิน) . รบกวนอย่างเจ็บปวด, ทรมานจิตใจ, ข่มขืนชำเรา, ทำให้เจ็บช้ำ, แย่ง, ย่ำยี, ปล้นสะดม, See also: harrower n. |
outrage | (เอาทฺ'เรจฺ) vt., n. (การ) ทำให้เจ็บแค้นใจ, ทำให้โกรธ, ก้าวร้าว, ทำร้าย, ข่มขืนกระทำชำเรา |
rape | (เรพ) n. v., n. (การ) ข่มขืนชำเรา, ช่วงชิง, ชิงทรัพย์., See also: rapist n., Syn. ravish, violate, molest |
rapist | (เร'พิสทฺ) n. ผู้ข่มขืนชำเรา |
ravish | (แรฟ'วิช) vt. ชิง, ช่วงชิง, แย่งชิง, ข่มขืนชำเรา, เต็มไปด้วยอารมณ์., See also: ravisher n. ravishment n. ravishedly, adv. |
violate | (ไว'อะเลท) vt. ฝ่าฝืน, ละเมิด, รบกวน, ทำลาย, ประทุษร้าย, ข่มขืน (โดยเฉพาะกระทำชำเรา) , ทำให้เสื่อมเสีย., See also: violator n. violater n., Syn. shirk, break, profane, intefere |
violation | (ไวอะเล'เชิน) n. การฝ่าฝืน, การละเมิด, การรบกวน, การทำลาย, การประทุษร้าย, การข่มขืน, การกระทำชำเรา, การทำให้เสื่อมเสีย., See also: violative adj. -S .infringement |
assault | (n) การเข้าทำร้าย, การจู่โจม, การโจมตี, การข่มขืน |
assault | (vt) ทำร้าย, โจมตี, จู่โจม, ข่มขืน |
outrage | (n) การข่มขืน, การทำร้าย, การทำลาย |
outrage | (vt) ข่มขืน, ทำลาย, ก้าวร้าว |
rape | (n) การชิงทรัพย์, การแย่งชิง, การข่มขืน, การขืนใจ |
rape | (vt) ชิงทรัพย์, แย่งชิง, ข่มขืน, ขืนใจ |
ravish | (vt) ชื่นชม, แย่งชิง, ช่วงชิง, ข่มขืน |
ravishment | (n) การชื่นชม, การแย่งชิง, การช่วงชิง, การข่มขืน, ความมีเสน่ห์ |
violate | (vt) หักล้าง, ละเมิด, ประทุษร้าย, ข่มขืน |