ก่นโคตร | ก. ขุดโคตรขึ้นมาด่า. |
กระจัง ๒ | น. ชื่อปลานํ้ากร่อยชนิด Periophthalmodon schlosseri (Pallas) ในวงศ์ Gobiidae พบในบริเวณป่าชายเลน รูปร่าง การเคลื่อนไหว และความสามารถขึ้นมาพ้นนํ้าได้คล้ายปลาจุมพรวดซึ่งมีขนาดใหญ่กว่า มีครีบอกเป็นกล้ามเนื้อใช้ต่างตีน ช่วยครีบหาง ทำรูลึกอยู่ในเลน เคลื่อนไหวได้รวดเร็วบนผิวเลนและผิวนํ้า ปีนเกาะบนที่ชันและกระโจนเป็นห้วง ๆ ได้ ขนาดยาวได้ถึง ๒๗ เซนติเมตร, กะจัง ก็เรียก. |
กรุ้มกริ่ม | (กฺรุ้มกฺริ่ม) ก. แสดงสีหน้า แววตา และท่าทางเจ้าชู้ เช่น เห็นผู้หญิงเดินผ่านมาก็ทำกรุ้มกริ่มขึ้นมาทันที, กรุ้งกริ่ง ก็ว่า. |
กวนน้ำให้ขุ่น | ก. ทำเรื่องราวที่สงบอยู่แล้วให้เกิดเป็นปัญหาขึ้นมา. |
ก่อง ๓ | น. เครื่องมือจับสัตว์นํ้าชนิดหนึ่ง ใช้ในจังหวัดหนองคาย ทำด้วยตาข่าย ซึ่งด้านหนึ่งติดกับลำไม้ไผ่คล้ายธง ทิ้งชายด้านหนึ่งลงไปในนํ้า มุมหนึ่งถ่วงด้วยหิน และอีกมุมหนึ่งมีเชือกโยงมาบนเรือ ลากติดไปกับเรือ พอรู้ว่าปลาติดตาข่ายก็สาวเชือกขึ้นมา. |
กอบ | น. เรียกของที่กอบขึ้นครั้งหนึ่ง ๆ ว่า กอบหนึ่ง ๆ, ลักษณนามเรียกปริมาณของของที่กอบขึ้นมาเช่นนั้น เช่น ทรายกอบหนึ่ง ข้าวสาร ๒ กอบ |
กะผลุบกะโผล่ | (-ผฺลุบ-โผฺล่) ก. อาการที่ผลุบลงแล้วโผล่ขึ้น เช่น ปลากะผลุบกะโผล่ขึ้นมาหายใจ, อาการที่ผลุบเข้าไปแล้วโผล่ออกมา เช่น มากะผลุบกะโผล่อยู่หลังเวทีทำไม, จม ๆ ลอย ๆ เช่น ขอนลอยน้ำกะผลุบกะโผล่, โดยปริยายหมายความว่า ไปหรือมาไม่สม่ำเสมอ เช่น ถ้าจะมาช่วยงานก็ขอให้มาสม่ำเสมอ อย่ากะผลุบกะโผล่ มาบ้างไม่มาบ้าง, ผลุบโผล่ ๆ หรือ ผลุบ ๆ โผล่ ๆ ก็ว่า. |
เก็บ ๑ | ก. เอาไปหรือเอามาจากที่ เช่น เก็บผ้า เก็บผลไม้, เอาเข้าที่ เช่น เอาหนังสือไปเก็บ เอารถไปเก็บ, เอาสิ่งของที่ตกหล่นอยู่ขึ้นมา เช่น เก็บของตก, รวบรวมไว้ เช่น เก็บคะแนน, เรียกเอา เช่น เก็บค่าเช่า เก็บค่านํ้า, รักษาไว้ เช่น ห้องเก็บของ. |
เก็บเบี้ยใต้ถุนร้าน | ก. เก็บเล็กผสมน้อย, ทำอะไรที่ประกอบด้วยส่วนเล็กส่วนน้อย โน่นบ้างนี่บ้าง จนสำเร็จเป็นรูปเป็นร่างขึ้นมา. |
เก็บ ๒ | น. วิธีบรรเลงเครื่องดนตรีดำเนินทำนองทั่วไปที่เพิ่มเติมเสียงสอดแทรกให้มีพยางค์ถี่ขึ้นมากกว่าทำนองเนื้อเพลงธรรมดา, ทำนองเก็บ หรือ ลูกเก็บ ก็เรียก. |
แกะสะเก็ด | ก. เป็นคำเปรียบหมายความว่ารื้อฟื้นเรื่องเก่าขึ้นมาพูดให้เจ็บใจ. |
โกฐพุงปลา | น. ชื่อเรียกสิ่งที่นูนปูดขึ้นมาตามกิ่งและใบของไม้ต้นหลายชนิดในสกุล T erminalia วงศ์ Combretaceae เช่น สมอไทย ( T. chebula Retz.), อีสานเรียก ปูดกกส้มมอ. |
ขมิ้นอ้อย | น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Curcuma zedoaria (Berg.) Roscoe ในวงศ์ Zingiberaceae เหง้าสีเหลือง บางส่วนโผล่พ้นดินขึ้นมา ใช้ปรุงอาหารและทำยา, ขมิ้นขึ้น หรือ ขมิ้นหัวขึ้น ก็เรียก, ปักษ์ใต้เรียก กะตุมู. |
ขยุ้ม | (ขะยุ่ม) ก. เอาปลายนิ้วทั้ง ๕ หยิบรวบขึ้นมาเพื่อให้ได้มาก, โดยปริยายใช้ในอาการอย่างนั้น เช่น แมงมุมขยุ้มหลังคา. |
ขอดค่อน | ก. ค่อนว่า, พูดแคะไค้ในเรื่องที่ไม่ดี, พูดให้เขาอายหรือเจ็บใจ, ยกความชั่วขึ้นมาว่าให้เจ็บใจ, ค่อนขอด ก็ว่า. |
ขี้แต้ | น. ดินที่แห้งแข็งเป็นตะปุ่มตะป่ำอยู่ตามทุ่งนา มักอูดขึ้นมาจากรอยกีบเท้าวัวเท้าควาย เรียกว่า หัวขี้แต้. |
ขี้ลอก | น. ดินที่ลอกขึ้นมาจากท้องร่อง. |
ขึ้น ๑ | นิยมนับถือ, เลื่อมใส, เช่น อาจารย์คนนี้มีคนขึ้นมาก |
ขึ้นชื่อ | ยกขึ้นมาอ้าง เช่น อย่ามาขึ้นชื่อฉัน. |
ขุด | โดยปริยายหมายถึงอาการที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ขุดเรื่องเก่า ๆ ขึ้นมาพูด, ขุดคุ้ย หรือ คุ้ยเขี่ย ก็ว่า. |
ขุดคุ้ย | ก. ค้นเอาเรื่องเก่าขึ้นมาเปิดเผย, ขุด หรือ คุ้ยเขี่ย ก็ว่า. |
เขิน ๒ | ว. ตื้นสูงเป็นเนินขึ้นมา (ใช้แก่พื้นที่ในแม่นํ้า ลำคลอง หนอง บึง เป็นต้น), มักใช้ว่า ตื้นเขิน เช่น แม่นํ้าตื้นเขิน |
ครีม | (คฺรีม) น. หัวนํ้านมส่วนที่ลอยขึ้นมา |
คลื่นกระทบฝั่ง ๒ | น. เรื่องราวที่ครึกโครมขึ้นมาแล้วกลับเงียบหายไป. |
ควัก | (คฺวัก) ก. ดึงหรือล้วงสิ่งใดสิ่งหนึ่งออกมา, เอามือล้วงลงไปในที่ใดที่หนึ่ง แล้วเอาสิ่งที่อยู่ในนั้นออกมา, ใช้เครื่องมือปลายโค้งหรืองอทำอาการเช่นนั้น เช่น ควักหู, ใช้เข็มควักถักด้ายให้เป็นลวดลายต่าง ๆ เรียกว่า ควักลูกไม้, เอาเครื่องมือรูปพายขนาดเล็กตักสิ่งใดสิ่งหนึ่งขึ้นมา เช่น ควักปูน ควักกะปิ, (ปาก) ดึงเอาตัวออกมา เช่น ควักเอาตัวมาจากที่นอน. |
ค่อนขอด | ก. ค่อนว่า, พูดแคะไค้ในเรื่องที่ไม่ดี, พูดให้เขาอายหรือเจ็บใจ, ยกความชั่วขึ้นมาว่าให้เจ็บใจ, ขอดค่อน ก็ว่า. |
ค่อนแคะ | ก. ค้นหาเอาสิ่งที่ไม่ดีขึ้นมากล่าวติเตียน. |
คัน ๑ | น. แนวดินหรือแนวทรายเป็นต้นที่พูนสูงขึ้นเป็นแนวยาว เช่น คันทราย, แนวดินที่พูนขึ้นมาสำหรับกั้นนํ้า เช่น คันนา คันดิน |
คำทาย | น. ปัญหาที่ตั้งขึ้นมาเพื่อให้ทายว่าได้แก่อะไร มีคำว่า อะไรเอ่ย อยู่ข้างหน้าเสมอ เช่น อะไรเอ่ย ต้นเท่าครก ใบปกดิน, มักใช้เข้าคู่กับคำ ปริศนา เป็น ปริศนาคำทาย. |
คำประสม | น. คำที่เกิดจากการนำคำมูลที่เกิดอิสระได้ตั้งแต่ ๒ คำขึ้นไปมาประสมกันแล้วกลายเป็นคำใหม่ที่มีความหมายใหม่ขึ้นมาอีกคำหนึ่ง เช่น ลูกเสือ ลูกน้ำ แขกยาม เครื่องใน ไฟฟ้า. |
คืนชีพ | ก. ตายแล้วกลับฟื้นขึ้นมาอีก. |
คืบ ๒ | น. ว่านชนิดหนึ่ง ใบเหมือนผักอีแปะ ก้านเขียวเล็ก มีเมล็ดที่ปลายใบ เมื่อเมล็ดแก่และหางตกถึงดินแล้ว เมล็ดงอกเป็นต้นขึ้นมา ในตำรากบิลว่านกล่าวว่าใช้เมล็ดห่อผ้าไว้ ตีฟันไม่เข้า. |
คุ้ย | ก. ใช้มือ เท้า หรือสิ่งอื่นตะกุยขึ้นมา. |
คุ้ยเขี่ย | ก. ค้นเอาเรื่องเก่าขึ้นมาเปิดเผย เช่น เรื่องนี้อย่าไปคุ้ยเขี่ยขึ้นมาเลย, ขุด หรือ ขุดคุ้ย ก็ว่า. |
แค่นแคะ, แค่นไค้ | ก. เฟ้นหาความชั่วขึ้นมากล่าว, เซ้าซี้จะให้ได้สมประสงค์. |
แคะไค้ | ก. ซอกแซกหาเรื่องขึ้นมาว่า. |
จระเข้ขวางคลอง ๑ | น. ผู้ที่ชอบกันท่าหรือขัดขวางไม่ให้ผู้อื่นทำการอย่างใดอย่างหนึ่งได้สะดวก เหมือนจระเข้ที่ขึ้นมาขวางคลองทำให้เรือผ่านไปมาไม่สะดวก. |
จ้วง | ก. กิริยาที่เอาภาชนะเช่นขันเอื้อมลงไปตักนํ้าขึ้นมาโดยแรง |
ฉิว | ก. รู้สึกไม่พอใจขึ้นมาทันที. |
ฉุกคิด | ก. คิดขึ้นมาทันที, คิดได้ในขณะนั้น, บังเอิญคิดได้. |
ฉุด | ก. ออกแรงดึงสิ่งใดสิ่งหนึ่งอย่างแรงให้เข้ามาหาตัว เช่น ฉุดคนที่หกล้มให้ลุกขึ้นมา ฉุดไว้ไม่ให้ไป, โดยปริยายหมายความว่า ถ่วงให้ต่ำลง เช่น คะแนนภาษาอังกฤษฉุดให้คะแนนรวมต่ำลง, หรือดึงให้สูงขึ้น เช่น ได้เกาะชายผ้าเหลืองฉุดขึ้นสวรรค์. |
ฉุน | ก. รู้สึกชักโกรธขึ้นมาทันที. |
ฉุย | อาการของควันที่พลุ่งขึ้นมาเรื่อย ๆ เช่น ควันฉุย |
เฉลียว | (ฉะเหฺลียว) ก. นึกระแวงขึ้นมา เช่น ไม่เฉลียวว่าเขาจะหักหลัง, มีไหวพริบ เช่น ฉลาดแต่ไม่เฉลียว. |
เฉลียวใจ | ก. นึกระแวงขึ้นมา, ชักจะสงสัย. |
ชายพก | น. ริมผ้านุ่งที่ดึงรวบขึ้นมาไขว้กัน เหน็บไว้ที่บริเวณสะดือ แล้วดึงชายข้างใดข้างหนึ่งให้ยาวกว่า มีลักษณะคล้ายถุงเล็ก ๆ เหน็บไว้ที่เอว ใส่เงินหรือหมากเป็นต้นได้. |
ชุบ | ทำให้เป็นคนขึ้นมา เช่น อันรูปซึ่งชุบในอัคคี มีนามชื่อลบอนุชา (รามเกียรติ์ ร. ๑) |
ซอกแซก | ก. ไปทั่วทุกแห่งทุกที่ที่ต้องการจะไปหรือที่คนอื่นไม่คิดจะไปด้วยความอยากรู้อยากเห็น ในความว่า ซอกแซกไป, เสาะค้นขึ้นมาถามในเรื่องที่ต้องการจะรู้หรือเรื่องที่คนอื่นไม่คิดจะถามด้วยความอยากรู้อยากเห็น ในความว่า ซอกแซกถาม. |
ซับ | ก. เอาของเช่นผ้าหรือกระดาษทาบลงที่นํ้าหรือที่เปียกหรือสิ่งที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้นเพื่อให้ดูดน้ำขึ้นมาหรือเพื่อให้แห้ง เช่น ซับเหงื่อ |
แซม | ก. แทรกขึ้นมาในระหว่าง เช่น ฟันแซม ขนแซม, เสียบเข้าไปในระหว่าง เช่น เด็ดดอกไม้แซมผม, เอาสิ่งใดสิ่งหนึ่งเหน็บแทรกหรือสอดเข้าไปเพื่อแทนสิ่งที่ชำรุดให้ดีขึ้น เช่น แซมกระบุง แซมหลังคา. |
Innovation | นวัตกรรม, นวัตกรรม หรือนวกรรม หมายถึง วิธีการปฏิบัติใหม่ๆ ที่แปลกไปจากเดิม โดยอาจจะได้มาจากการคิดค้นพบวิธีการใหม่ๆ ขึ้นมา หรือการปรุงแต่งของเก่าให้ใหม่และเหมาะสม และสิ่งทั้งหลายเหล่านี้ได้รับการทดลองพัฒนาจนเป็นที่เชื่อถือได้แล้วว่าได้ผลดีในทางปฏิบัติ ทำให้ระบบก้าวไปสู่จุดหมายปลายทางได้อย่างมีประสิทธิภาพขึ้น โดย มีหลักการที่สำคัญอยู่ 3 ประการ ที่จัดเป็นหลักพิจารณาว่าสิ่งใดเป็นนวัตกรรมทางการศึกษาหรือไม่ คือ <ul><li>สิ่งนั้นควรเป็นสิ่งที่ค้นพบ หรือประดิษฐ์ขึ้นมาใหม่ หรือการปรับปรุงแต่งของเก่าให้ใหม่เหมาะสมกับกาลสมัยมาใช้ในวงการศึกษา เพื่อให้ระบบการศึกษาก้าวหน้าไปอย่างมีประสิทธิภาพ</li><li>ได้ผ่านการทดลอง การปรับปรุงพัฒนา จนเป็นที่ยอมรับกับอย่างแพร่หลาย</li><li>ได้มีการนำมาปฏิบัติจริงในวงการนั้น</li></ul> [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Natural Flow | การผลิตโดยปล่อยให้น้ำมันไหลขึ้นมาด้วยแรงที่มีอยู่ในธรรมชาติ [ปิโตรเลี่ยม] |
Oil Recovery Factor | ความสามารถในการนำน้ำมันขึ้นมา, Example: ขึ้นอยู่กับสภาพของชั้นหินกักเก็บและคุณสมบัติของปิโตรเลียมเองแล้ว ยังขึ้นกับวิธีการผลิตอีกด้วย [ปิโตรเลี่ยม] |
Cuttings | หินใต้ดินที่ถูกหัวเจาะตัดเป็นเศษหินเล็กๆ, หินใต้ดินที่ถูกหัวเจาะตัดเป็นเศษหินเล็กๆ และถูกพาขึ้นมาจากหลุมเจาะ ซึ่งจะปนเปื้อนด้วยน้ำมันที่ใช้เป็นตัวหล่อลื่นการเจาะ [ปิโตรเลี่ยม] |
Coning | การที่ระดับน้ำสูงขึ้นมาเป็นรูปกรวย (Cone) ในชั้นน้ำมันดิบ, การที่ระดับน้ำสูงขึ้นมาเป็นรูปกรวย (Cone) ในชั้นน้ำมันดิบ ตรงส่วนที่เป็นรอยต่อระหว่างชั้นน้ำกับน้ำมัน (oil/water contact), Example: Coning เกิดขึ้นเนื่องมาจากทำการผลิตเร็วเกินไป [ปิโตรเลี่ยม] |
Recoverable Oil in Place | ปริมาณน้ำมันดิบในแหล่งกักเก็บใต้ดิน, ปริมาณน้ำมันดิบในแหล่งกักเก็บใต้ดินที่คาดว่าจะสามารถผลิตขึ้นมาได้และคุ้มค่าต่อการลงทุน [ปิโตรเลี่ยม] |
Recovery Factor | ค่าตัวแปรที่ใช้บ่งถึงอัตราส่วนของปริมาณปิโตรเลียมที่เราสามารถนำขึ้นมาใช้ได้, ค่าตัวแปรที่ใช้บ่งถึงอัตราส่วนของปริมาณปิโตรเลียมที่เราสามารถนำขึ้นมาใช้ได้ต่อปริมาณทั้งหมดที่มีอยู่ในแหล่ง [ปิโตรเลี่ยม] |
Ultimate Recovery | ปริมาณก๊าซธรรมชาติหรือน้ำมันดิบที่คาดว่าจะผลิตขึ้นมาได้จากหลุมเจาะ, Example: ปริมาณทั้งหมดของก๊าซธรรมชาต ิหรือน้ำมันดิบที่คาดว่าจะผลิตขึ้นมาได้จากหลุมเจาะ หรือจากแอ่งภายใต้สภาวะเศรษฐกิจปัจจุบันและสภาพทางวิศวกรรม Ultimate recovery อาจจะเป็นการผลิตขั้นปฐมภูมิอย่างเดียว หรือรวมทั้งการผลิตขั้นทุติยภูมิด้วย เช่น การทำ water flood (ดูคำ Water Flood) เมื่อพิจารณาว่าคุ้มค่าต่อการลงทุน [ปิโตรเลี่ยม] |
Enhanced Oil Recovery | วิธีการที่ช่วยในการผลิตน้ำมันขึ้นมาจากหลุมหลังจากที่ได้มีการผลิตตามธรรมชาติ, วิธีการที่ช่วยในการผลิตน้ำมันขึ้นมาจากหลุมหลังจากที่ได้มีการผลิตตามธรรมชาติแล้ว ได้แก่ การผลิตขั้นทุติยภูมิ และ การผลิตขั้นตติยภูมิ (ดูคำ Secondary Recovery และ Tertiary Recovery) [ปิโตรเลี่ยม] |
Point mutation | การกลายเฉพาะจุด, การกลายที่เกิดจากการแทนที่คู่เบสหนึ่งโดยอีกคู่เบสหนึ่ง หรือจากนิวคลีโอไทด์จำนวนเล็กน้อยเพิ่มขึ้นมาหรือขาดหายไป, Example: [นิวเคลียร์] |
หัวเกรียน | ใช้เรียกการกระทำที่ดูไร้สาระ ทำแล้วไม่ได้ก่อให้เกิดประโยชน์อะไรขึ้นมา หรือใช้เรียก พวกที่ก่อกวนคนอื่นหรือทำให้ผู้อื่นเดือดร้อน [ศัพท์วัยรุ่น] |
Amnesty International | องค์การนิรโทษกรรมสากล องค์การนี้เริ่มต้นจากเป็นขบวนการเล็ก ๆ ก่อน เพื่อทำหน้าที่ประท้วง (Protest) แต่ภายในเวลาไม่นานนัก ได้ขยายตัวออกเป็นองค์การ เพื่อให้สมกับเป้าหมายและภารกิจที่ต้องปฏิบัติเพิ่มขึ้นมากมาย คติดั้งเดิมของการรณรงค์ระหว่างประเทศเพื่อสนับสนุนบรรดาบุคคลที่ต้องถูกคุม ขังอยู่ทั่วโลก ด้วยข้อหาเกี่ยวกับความเชื่อถือทางการเมืองและการศาสนานั้น ได้บังเกิดจากความคิดของบุคคลหนึ่งชื่อปีเตอร์ เบเนนสันปีเตอร์ เบเนนสัน ได้เขียนบทความลงในหนังสือพิมพ์ประจำวันอาทิตย์ของอังกฤษชื่อ Sunday Observer เมื่อเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1961 โดยให้หัวเรื่องบทความว่า ?นักโทษที่ถูกลืม? (The Forgotten Prisoners) บทความนี้ได้ประทับใจมติมหาชนทั่วโลกทันที และภายในปีเดียว องค์การได้รับเรื่องร้องเรียนในนามของนักโทษกว่า 200 รายองค์การนิรโทษกรรมสากลมีเป้าหมายนโยบายกว้างๆ อยู่ 3 ข้อ คือ ต้องการให้ปล่อยนักโทษผู้มีนโนธรรม (Prisoners of Conscience) ทั้งหมด ให้มีการยุติการทรมานนักโทษไม่ว่าด้วยวิธีใดๆ รวมทั้งการลงโทษประหารชีวิตและให้มีการพิจารณาพิพากษาคดีนักโทษการเมืองทั้ง หมดอย่างเป็นธรรมและไม่รอช้า องค์การนี้นอกจากจะมีชื่อเสียงว่าเป็นผู้ดำรงความเป็นกลางไม่เข้ากับฝ่ายใด และเป็นที่น่าเชื่อถือไว้วางใจได้อย่างแท้จริงแล้ว ยังเป็นเสมือนศูนย์ข้อมูลและข้อสนเทศที่สำคัญ ซึ่งบรรดาบุคคลสำคัญๆ ทางการเมืองทั่วโลกได้ใช้อ้างอิงอีกด้วยในปัจจุบัน องค์การนิรโทษกรรมมีสมาชิกและผู้สนับสนุนเป็นจำนวนกว่า 1 ล้านคน จากประเทศต่างๆ กว่า 150 ประเทศ องค์การอยู่ภายใต้การบริหารของคณะกรรมการบริหารจำนวน 9 คน รวมทั้งตัวเลขาธิการอีกผู้หนึ่ง ทำหน้าที่ปฏิบัติให้เป็นไปตามข้อมติเกี่ยวกับนโยบาย และเป็นหัวหน้าของสำนักเลขาธิการขององค์การด้วย มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ ณ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ องค์การมีผู้แทนของตนประจำอยู่กับองค์การสหประชาชาติ เมื่อปี ค.ศ. 1978 ได้รับรางวัลเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนของสหประชาชาติ และในปี ค.ศ. 1977 ก็ได้รับรางวัลสันติภาพโนเบลมาแล้ว [การทูต] |
Intellectual Property | ทรัพย์สินทางปัญญา " หมายถึง ผลงานอันเกิดจากความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์ซึ่งผู้เป็นเจ้าของสามารถถือครอง และ/หรือเก็บเกี่ยวสิทธิประโยชน์ได้ นอกเหนือจากสังหาริมทรัพย์และอสังหาริมทรัพย์ - Patent สิทธิบัตร หมายถึง สิ่งประดิษฐ์ที่สร้างใหม่ ยังไม่เคยมีการเปิดเผยมาก่อน และเป็นสิ่งประดิษฐ์ที่มีขั้นตอนการประดิษฐ์ที่สูงขึ้น และการประดิษฐ์นั้นสามารถประยุกต์ใช้ในทางอุตสาหกรรมได้ - Copy Rights ลิขสิทธิ์ หมายถึง งานหรือความคิดสร้างสรรค์ในสาขาวรรณกรรม ศิลปกรรม ดนตรี งานภาพยนต์ หรืองานอื่นใดในแผนกวิทยาศาสตร์ - Neighboring Rights สิทธิข้างเคียง เป็นความคุ้มครองที่แตกแขนงมาจากลิขสิทธิ์ เนื่องจากงานที่สร้างขึ้นไม่สามารถถูกจัดเข้าเป็นงานลิขสิทธิ์ได้โดยตรง เพราะผลงานที่เกิดขึ้นนั้นได้มีบุคคลอื่นเข้ามาเป็นสื่อกลาง และก่อให้เกิดผลงานโดยใช้ เครื่องมือในทางวิชาชีพสร้างงานขึ้นมา ดังนั้น บุคคลผู้ที่เข้ามาเป็น สื่อกลางเพื่อผลิตงานให้แก่ผู้สร้างงานจึงควรมีสิทธิในผลงานนั้นเหมือนกับ เจ้าของงานลิขสิทธิ์ด้วย - Trade Marks เครื่องหมายการค้า หมายถึง เครื่องหมาย สัญลักษณ์ หรือตราที่ใช้กับสินค้าเพื่อให้ประชาชนทั่วไปแยกแยะได้ว่าสินค้านั้นเป็นของ ผู้ใด ใครเป็นเจ้าของ และมีความแตกต่างกันอย่างไร ซึ่งโดยทั่วไปจะเรียกว่า ยี่ห้อ สำหรับเครื่องหมายการค้านั้น จะเป็นภาพ เป็นคำ หรือเป็นตัวอักษรก็ได้ Service Marks เครื่องหมายบริการ เป็นเรื่องที่เกิดใหม่เนื่องจากสินค้าบริการได้เจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว เช่น การให้บริการด้านการเงิน การโทรคมนาคม จึงทำให้ผู้ให้บริการต้องการที่จะใช้เครื่องหมาย เพื่อชี้ให้เห็นถึงการบริการของตน เช่นเดียวกับการใช้เครื่องหมายการค้า " [การทูต] |
JAPAN-ASEAN General Exchange Fund | กองทุนการแลกเปลี่ยนญี่ปุ่น-อาเซียน เป็นกองทุนสำหรับการพัฒนาบุคลากรของประเทศสมาชิกใหม่และ การพัฒนาสำนักเลขาธิการอาเซียน โดยญี่ปุ่นบริจาคเงินจำนวน 2, 542, 000 เหรียญสหรัฐ ในปีงบประมาณ 2543 ได้จัดตั้งกองทุน JAGEF ขึ้นมาใหม่ แทนกองทุนความร่วมมือเดิม (JACPP) [การทูต] |
peace building | การสร้างสันติภาพ เป็นการสร้างและพัฒนาเงื่อนไขเพื่อให้เกิดสันติภาพที่ถาวร อันรวมถึงการสร้างสถาบันและโครงสร้างพื้นฐานของชาติที่ถูกทำลายโดยสงคราม กลางเมืองหรือการสู้รบขึ้นมาใหม่ [การทูต] |
Personal Diplomacy | คือการเจรจากันโดยตรงระหว่างรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงต่างประเทศด้วยกัน ส่วนการเจรจากันโดยตรงระหว่างประมุขของรัฐ หรือหัวหน้าของรัฐบาล แต่เดิมก็จัดอยู่ในประเภทการมทูตส่วนบุคคล แต่มาในปัจจุบันนี้ มักนิยมเรียกกันว่าเป็นทูตแบบสุดยอด (Summit Diplomacy) แยกออกต่างหากจากการทูตส่วนบุคคลมีผู้สังเกตการณ์หลายคนเตือนว่า ในกรณีที่เกิดเรื่องหรือปัญหาที่ยังคาราคาซังอยู่นั้น ไม่ควรหันเข้าใช้วิธีส่งผู้แทนพิเศษจากนครหลวงไปแก้ปัญหา ควรให้เอกอัครราชทูตเป็นผู้ดำเนินการมากกว่า เพราะประการแรก การกระทำเช่นนั้นยังผลเสียหายต่อศักดิ์ศรีของตัวเอกอัครราชทูตเอง ทั้งยังกระทบกระเทือนต่อการที่เขาจะปฏิบัติงานให้ประสบผลอย่างเต็มที่ ระหว่างที่ดำรงตำแหน่งอยู่ในประเทศนั้นในภายหน้าด้วย อีกประการหนึ่ง จะพึงคาดหมายได้อย่างไรว่า ตัวผู้แทนพิเศษที่ส่งไปนั้นจะมีความรอบรู้เกี่ยวกับภูมิหลังของปัญหา รวมทั้งตัวบุคคลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องเท่ากับตัวเอกอัครราชทูตเอง ซึ่งได้ประจำทำงานอยู่ระยะเวลาหนึ่งแล้ว ณ ที่นั่น แม้แต่ แฮโรลด์ นิโคลสัน ก็ไม่เห็นด้วย และได้เตือนว่า การที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของประเทศหนึ่งไปเยือนและพบปะกับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของอีกประเทศหนึ่งบ่อย ๆ นั้น เป็นสิ่งที่ไม่ควรกระทำและไม่ควรสนับสนุน เพราะการกระทำเช่นนี้ นอกจากจะทำให้ประชาชนคาดหมายไปต่าง ๆ นานาแล้ว ยังจะทำให้เกิดเข้าใจผิด และเกิดความสับสนขึ้นมาได้แม้แต่ผู้รอบรู้ในเรื่องธรรมเนียมปฏิบัติทางการ ทูตบางคนก็ยังแคลงใจว่า การทูตแบบสุดยอด (Summit Diplomacy) จะได้ประโยชน์และให้ผลจริง ๆ หรือไม่ นอกจากเฉพาะในกรณียกเว้นจริง ๆ เท่านั้น บ้างเห็นว่า การพบปะเจรจาแบบสุดยอดมักจะกลายสภาพเป็นการโฆษณาเพื่อประชาสัมพันธ์มากกว่า ที่จะเป็นการเจรจากันอย่างแท้จริง เพราะมีอันตรายอยู่ว่า ผู้ร่วมเจรจามักจะแสดงความคิดเห็นตามความรู้สึกมากกว่าตามข้อเท็จจริง เพราะมัวแต่เป็นห่วงและคำนึงถึงประชามติในประเทศของตนมากเกินไปนอกจากนี้ ผู้เจรจาไม่อยู่ในฐานะที่จะให้ข้อลดหย่อนหรือทำการประนีประนอม ( ซึ่งเป็นสิ่งที่จำเป็นยิ่งหากจะให้เจรจาบังเกิดผล) เพราะกลัวเสียหน้าหากกระทำเช่นนั้น ตามปกติ ถ้าให้นักการทูตเป็นผู้เจรจา เขาจะมีโอกาสมากกว่าที่จะใช้วิธีหลบหลีกอันชาญฉลาดในการเจรจาต่อรอง เพื่อให้เป็นผลตามที่มุ่งประสงค์ [การทูต] |
Potsdam Proclamation | คือคำประกาศ ณ เมืองปอตสแดม ออกเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม ค.ศ. 1945 โดยหัวหน้าคณะรัฐบาลของประเทศสหรัฐอเมริกา อังกฤษ และจีน ลงนามโดยประธานาธิบดีของรัฐบาลจีนคณะชาติ เป็นคำประกาศเมื่อตอนใกล้จะเสร็จสิ้นสงครามโลกครั้งที่สอง โดยฝ่ายสัมพันธมิตรดังกล่าวกำลังทำสงครามขับเคี่ยวอยู่กับฝ่ายญี่ปุ่น พึงสังเกตว่า สหภาพโซเวียต ในตอนนั้นมิได้มีส่วนร่วมในการออกคำประกาศ ณ เมืองปอตสแดมแต่อย่างใดโดยแท้จริงแล้ว คำประกาศนี้เท่ากับเป็นการยื่นคำขาดให้ฝ่ายญี่ปุ่นตัดสินใจเลือกเอาว่าจะทำ การสู้รบต่อไป หรือจะยอมจำนนเพื่อยุติสงคราม คำประกาศได้เตือนอย่างหนักแน่นว่า หากญี่ปุ่นตัดสินใจที่จะสู้รบต่อไป แสนยานุภาพอันมหาศาลของสัมพันธมิตรก็จะมุ่งหน้าโจมตีบดขยี้กองทัพและประเทศ ญี่ปุ่นให้แหลกลาญ แต่หากว่าญี่ปุ่นยอมโดยคำนึงถึงเหตุผล ฝ่ายสัมพันธมิตรก็ได้ตั้งเงื่อนไขไว้หลายข้อ สรุปแล้วก็คือ ลัทธิถืออำนาจทหารเป็นใหญ่จะต้องถูกกำจัดให้สูญสิ้นไปจากโลกอำนาจและอิทธิพล ของบรรดาผู้ที่ชักนำให้พลเมืองญี่ปุ่นหลงผิด โดยกระโจนเข้าสู่สงครามเพื่อครองโลกนั้น จะต้องถูกทำลายให้สิ้นซาก รวมทั้งพลังอำนาจในการก่อสงครามของญี่ปุ่นด้วยจุดต่าง ๆ ในประเทศญี่ปุ่น ตามที่ฝ่ายสัมพันธมิตรจะกำหนด จะต้องถูกยึดครองไว้จนกระทั่งได้ปฏิบัติตามจุดมุ่งหมายของสัมพันธมิตรเป็นผล สำเร็จแล้ว อำนาจอธิปไตยของญี่ปุ่นให้จำกัดอยู่เฉพาะภายในเกาะฮอนซู ฮ็อกไกโด กิวชู ชิโกกุ และเกาะเล็กน้อยอื่น ๆ ตามที่ฝ่ายสัมพันธมิตรจะกำหนด อาชญากรสงครามทุกคนจะต้องถูกนำตัวขึ้นศาล รวมทั้งที่ทำทารุณโหดร้ายต่อเชลยศึกของสัมพันธมิตร รัฐบาลญี่ปุ่นจะต้องกำจัดสิ่งต่าง ๆ ทั้งหมดที่เป็นอุปสรรคต่อการรื้อฟื้น และเสริมสร้างความเชื่อถือในหลักประชาธิปไตยในระหว่างพลเมืองญี่ปุ่น และจัดให้มีเสรีภาพในการพูด การนับถือศาสนา และในการแสดงความคิดเห็น ตลอดจนการเคารพสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐาน อย่างไรก็ดี ญี่ปุ่นจะได้รับอนุญาตให้ดำเนินกิจการด้านอุตสาหกรรมที่จะเกื้อกูลต่อภาวะ เศรษฐกิจของประเทศ และความสามารถที่จะชำระค่าปฏิกรรมสงคราม แต่จะไม่ยอมให้คงไว้ซึ่งกิจการอุตสาหกรรมชนิดที่จะช่วยให้ญี่ปุ่นสร้างสม อาวุธเพื่อทำสงครามขึ้นมาอีก ในทีสุด กำลังทหารสัมพันธมิตรจะถอนตัวออกจากประเทศญี่ปุ่นในทันทีที่จุดประสงค์ต่าง ๆ ได้บรรลุผลเรียบร้อยแล้ว ในตอนท้ายของเงื่อนไข สัมพันธมิตรได้เรียกร้องให้รัฐบาลญี่ปุ่นประกาศยอมแพ้อย่างไม่มีเงื่อนไข เสียโดยไว [การทูต] |
United Nations Emergency Force | กองกำลังฉุกเฉินของสหประชาชาติ เมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน ค.ศ. 1956 สมัชชาแห่งสหประชาชาติได้ขอรัองให้เลขาธิการสหประชาชาติเสนอแผนการภายใน 48 ชั่วโมง เพื่อจัดตั้งกองกำลังระหว่างชาติของสหประชาชาติ โดยได้รับอนุมัติจากชาติที่เกี่ยวข้อง ให้ทำหน้าที่ยุติและควบคุมดูแลการหยุดรบในประเทศอียิปต์ วันรุ่งขึ้น คือ วันที่ 5 พฤศจิกายน สมัชชาก็ได้ลงมติให้จัดตั้งกองบัญชาการแห่งสหประชาชาติขึ้นปรากฏว่า ผู้แทนของสหภาพโซเวียตได้กล่าวอ้างว่า การจัดตั้งกองกำลังดังกล่าวเป็นการกระทำที่ละเมิดกฎบัตรสหประชาชาติ โดยยกบทที่ 7 ของกฎบัตรขึ้นมาอ้างว่า คณะมนตรีความมั่นคงองค์กรเดียวเท่านั้น ที่กฎบัตรให้อำนาจจัดตั้งกองกำลังระหว่างชาติได้ ด้วยเหตุนี้ สหภาพโซเวียตและอีกบางประเทศจึงแถลงว่า จะไม่ยอมมีส่วนร่วมในการออกเงินค่าใช้จ่ายสำหรับกองกำลังดังกล่าวโดยเด็ดขาด พึงสังเกตว่า การที่สหภาพโซเวียตอ้างยืนยันว่า คณะมนตรีความมั่นคงเท่านั้นที่กฎบัตรสหประชาชาติให้อำนาจตั้งกองกำลังสห ประชาชาติได้ ก็เพราะหากยินยอมตามข้ออ้างของสหภาพโซเวียตดังกล่าว จะไม่มีทางจัดตั้งกองกำลังขึ้นได้เลย เพราะสหภาพโซเวียตจะใช้สิทธิยับยั้ง (Veto) ในคณะมนตรีความมั่นคงอย่างไม่ต้องสงสัย [การทูต] |
ปริมาณสำรองปิโตรเลียม | ปริมาณสำรองปิโตรเลียม, ปริมาณที่ค้นพบแล้วและจะสามารถผลิตขึ้นมาใช้ให้คุ้มค่าได้ค่อนข้างแน่นอน ประกอบด้วยปริมาณที่พิสูจน์แล้วและปริมาณที่ยังไม่ได้พิสูจน์ [ปิโตรเลี่ยม] |
renewable energy | พลังงานหมุนเวียน, พลังงานหมุนเวียน พลังงานที่ใช้แล้วสามารถผลิตขึ้นมาใหม่ได้ในระยะเวลาที่ไม่นานมาก เช่น พลังงานทีได้จากไม้ ฟืน แกลบ กากอ้อย เอทานอล ไบโอดีเซล น้ำ แสง อาทิตย์ ความร้อนใต้พิภาพ ลมและคลื่น [ปิโตรเลี่ยม] |
Clone | โคลน , วิธีการหรือกระบวนการที่ใช้สร้างสิ่งที่เหมือนกันโดยสมบูรณ์ ซึ่งอาจจะเป็นดีเอ็นเอ ยีน เซลล์ หรือสิ่งมีชีวิตก็ได้ นอกจากนี้ยังอาจหมายถึง สิ่งที่สร้างขึ้นมาจากกระบวนการดังกล่าวได้อีกด้วย คำว่า โคลน มีที่มาจากคำในภาษากรีกที่แปลง่า กิ่งก้าน [เทคโนโลยีชีวภาพ] |
ASTM | องค์กรสากลที่ตั้งขึ้นมาเพื่อดูแลและกำหนดมาตรฐานการทดสอบวัสดุ ผลิตภัณฑ์ ระบบและบริการ ย่อมาจาก American Society of Testing and Materials [เทคโนโลยียาง] |
Scorch time | ระยะเวลาที่ยางเริ่มจะเกิดการคงรูป หรือบอกถึงระยะเวลาที่ยางสามารถไหลได้ในขณะผลิตก่อนเกิดการคงรูป สามารถหาได้โดยใช้เครื่อง Oscilating Disc Rheometer (ODR) หรือ Moving Die Rheometer (MDR) วัดที่จุดสูงกว่าค่าแรงบิด (torque) ต่ำสุดขึ้นมา 2 หน่วย (t2) หรือ 5 หน่วย (t5) [เทคโนโลยียาง] |
Buffalo Hump | ไขมันพอกเป็นหนอกบริเวณไหล่ด้านหลัง, ไขมันเพิ่มสูงที่บริเวณลำตัว, ไขมันพอกมากที่บริเวณไหล่และใต้ต้นคอลงมา, หนอก, หลังเป็นหนอก, หลังนูนขึ้นมา, หลังเป็นโหนก [การแพทย์] |
Children, Young | เด็กที่โตขึ้นมา, เด็กเล็ก [การแพทย์] |
Co-Incidences | สาเหตุอื่นที่บังเอิญเกิดขึ้นมาพร้อมกัน [การแพทย์] |
Confabulation | การสร้างเรื่องขึ้นมาใหม่, พูดจาเชื่อถือไม่ได้, พูดตอแหล, อาการคล้ายการตอแหล, การเสื่อมทางจิตและความจำ, พูดจากลบเกลื่อนแต่งเรื่อง [การแพทย์] |
Elastin Fibre, Mature | เส้นใยของอีลาสตินที่สร้างขึ้นมาสมบูรณ์แล้ว [การแพทย์] |
Epigastric Rising Sensation | แน่นขึ้นมาจุกที่ลิ้นปี่ [การแพทย์] |
uric acid | กรดยูริก, กรดอินทรีย์ชนิดหนึ่งสูตรเคมีคือ C5H4O3N4 พบในเลือดและน้ำปัสสาวะของสัตว์ที่กินเนื้อ สำหรับคนถ้ามีกรดนี้เกิดขึ้นมากและขับถ่ายไม่ทันจะสะสมตามข้อ เกิดอาการปวดซึ่งเรียกว่า โรคเกาต์ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
regeneration | รีเจเนอเรชัน, การเจริญทดแทน, การสร้างเนื้อเยื่อหรืออวัยวะใหม่ขึ้นมาทดแทนเนื้อเยื่อหรืออวัยวะเก่าที่หลุดหรือขาดออกไป เช่น การเจริญทดแทนของหางจิ้งจก [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
active immunization | ภูมิคุ้มกันก่อเอง, ภูมิคุ้มกันที่ร่างกายสร้างขึ้นเองโดยการฉีดวัคซีนซึ่งเป็นเชื้อโรคที่ถูกทำให้อ่อนฤทธิ์หรือตายลงจนไม่สามารถทำให้เกิดโรคได้ วัคซีนจะเป็นแอนติเจนไปกระตุ้นร่างกายให้สร้างแอนติบอดีขึ้นมาต่อต้าน ซึ่งจะทำให้ร่างกายมีภูมิคุ้มกันต่อเชื้อโรคชนิดที่ฉีดเข้าไป [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
aminopeptidase | อะมิโนเพปทิเดส, เอนไซม์ที่ลำไส้เล็กผลิตขึ้นมาใช้สำหรับย่อยเพปไทด์ให้เป็นกรดอะมิโน [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
antibody | แอนติบอดี, สารจำพวกโปรตีนที่ร่างกายสร้างขึ้นในกระแสเลือดมีสมบัติต่อต้านทำลายเชื้อโรคหรือแอนติเจนที่เข้ามาในร่างกาย แอนติบอดีแต่ละชนิดที่ร่างกายผลิตขึ้นมานั้นจะมีผลทำลายเชื้อโรคหรือแอนติเจนเฉพาะอย่าง [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
antigen | แอนติเจน, สิ่งแปลกปลอมที่เข้าไปในร่างกาย แล้วร่างกายจะผลิตสารซึ่งเรียกว่าแอนติบอดีขึ้นมาต่อต้าน หรือทำลายสิ่งแปลกปลอมนั้น ๆ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
synthetic fibre | เส้นใยสังเคราะห์, เส้นใยที่สังเคราะห์ขึ้นมาจากเซลลูโลสหรือสารเคมีบางชนิดเช่น เรยอง ไนลอน เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
plutonic rock | หินอัคนีระดับลึก, หินอัคนีชนิดหนึ่ง ซึ่งเกิดจากหินหนืดดันตัวแทรกเปลือกโลกขึ้นมาแต่เย็นตัวก่อนถึงผิวโลก หินชนิดนี้อยู่ในระดับลึกมาก [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
underground water | น้ำใต้ดิน, น้ำที่อยู่ในช่องว่างในเนื้อหินหรือในชั้นดิน ซึ่งสามารถสูบขึ้นมาใช้ได้ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
malware | มัลแวร์, โปรแกรมที่ไม่พึงประสงค์แฝงมากับข้อมูลที่อยู่บนเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อทำลาย หรือรบกวนระบบคอมพิวเตอร์ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
protocol | โพรโทคอล, กฎเกณฑ์ ระเบียบ หรือข้อปฏิบัติต่าง ๆ ที่กำหนดขึ้นมา เพื่อเป็นข้อตกลงในการสื่อสารข้อมูลระหว่างผู้รับและผู้ส่ง [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
universal serial bus (USB) | พอร์ตยูเอสบี, พอร์ตมาตรฐานที่คิดค้นขึ้นมาทดแทนพอร์ตอนุกรมและพอร์ตขนาน ทำงานด้วยความเร็วสูง สามารถเชื่อมต่อได้หลายอุปกรณ์ในขณะเดียวกัน [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Gliosis, Severe | เกลียลเซลล์งอกงามขึ้นมาก [การแพทย์] |
Gyrus | ส่วนนูนขึ้นมา [การแพทย์] |
Infection, Ascending | เชื้อลามขึ้น, การติดเชื้อผ่านจากทางคลอดย้อนขึ้นมา, การติดเชื้อแบบลามขึ้น [การแพทย์] |
Insecticides, Synthesized Organic | ยาฆ่าแมลงที่เป็นสารอินทรีย์ที่มนุษย์สร้างขึ้นมา [การแพทย์] |
Lipohypertrophy | ผิวหนังนูนขึ้นมากกว่าปกติ, ไขมันโตขึ้น [การแพทย์] |
adventitious | (adj) ที่เพิ่มขึ้นมาเอง, See also: ที่เพิ่มหรืองอกขึ้นมาแบบไม่ปกติ |
a lot of water has passed under the bridge | (idm) มีความเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นมากมาย |
at random | (idm) แบบสุ่ม, See also: โดยสุ่มขึ้นมา |
built-in | (n) สิ่งหรือส่วนที่เพิ่มเติมขึ้นมา |
be in the money | (idm) เป็นเศรษฐีใหม่ (คำไม่เป็นทางการ), See also: ร่ำรวยขึ้นมาไม่นาน |
be made out of whole cloth | (idm) ไม่ใช่ของจริง, See also: สร้างขึ้นมาจาก |
be up | (phrv) ขึ้นมาข้างบน (จากระดับต่ำกว่า) |
be up to | (phrv) ขึ้นมาถึง, See also: ขึ้นสูงถึง |
climb out of | (phrv) ปีนออกมา, See also: ตะกายขึ้นมา |
come across | (phrv) เกิดขึ้นในใจ, See also: ก่อตัวขึ้นในใจ, ผุดขึ้นมา |
drag up | (phrv) ยกขึ้นมาพูดโดยไม่จำเป็น, Syn. drag in |
embody in | (phrv) ทำให้เป็นรูปเป็นร่างขึ้นมา, Syn. lie in, repose in, reside in, rest in |
fish out | (phrv) นำขึ้นมาจากน้ำ, Syn. fish up |
fish up | (phrv) นำขึ้นมาจากน้ำ, Syn. fish out |
fizzle out | (phrv) (ระเบิด) ไม่ระเบิดตามที่วางแผนไว้ (คำไม่เป็นทางการ), See also: ไม่ปะทุขึ้นมา |
flash on | (phrv) เป็นที่รู้จักทันทีโดย, See also: ทำให้นึกถึงขึ้นมา, ทำให้จำได้ทันที, Syn. flash upon |
flash upon | (phrv) เป็นที่รู้จักทันทีโดย, See also: ทำให้นึกถึงขึ้นมา, ทำให้จำได้ทันที, Syn. flash on |
entasis | (n) ส่วนที่นูนขึ้นมาเล็กน้อยของเสาโรมัน |
Eocene | (adj) เกี่ยวกับยุคแรกเริ่มที่สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมถือกำเนิดขึ้นมา |
erotica | (n) ศิลปะหรืองานประพันธ์ที่ทำขึ้นมาเพื่อความสุนทรียทางเพศ, Syn. pornography |
ersatz | (adj) ซึ่งเป็นของเทียม, See also: ซึ่งทำขึ้นมาเลียนแบบ, Syn. artificial, counterfeit, synthetic |
Eve | (n) ผู้หญิงคนแรกที่พระแจ้งสร้างขึ้นมาตามพระคัมภีร์ไบเบิล |
excess | (n) จำนวนที่มากเกินไป, See also: จำนวนที่เกิน, จำนวนที่เกินควร, ส่วนเกิน, ส่วนที่เพิ่มขึ้นมา, ความเกินพอดี, ส่วนเกิน, Syn. surplus |
excrescence | (n) ส่วนที่เพิ่มขึ้นมาอย่างน่าเกลียด เช่น ส่วนของตึก |
factitious | (adj) ไม่ใช่ที่ประดิษฐ์ขึ้นมา, See also: ปลอม, กุขึ้นเอง, ที่ทำด้วยฝีมือมนุษย์, ที่สมมติ, Syn. artificial |
fade-in | (vi) ค่อยๆ ปรากฏขึ้นมาอย่างช้าๆ, See also: การค่อยๆ เพิ่มขึ้นของความชัดของเสียง |
fade-in | (vt) ค่อยๆ ปรากฏขึ้นมาอย่างช้าๆ, See also: การค่อยๆ เพิ่มขึ้นของความชัดของเสียง |
false | (adj) ปลอม, See also: ซึ่งไม่ธรรมชาติ, ซึ่งผลิตขึ้นมา, ซึ่งสังเคราะห์ขึ้นมา, เทียม, Syn. counterfeit, sythetic, unreal, Ant. genuine, real |
feigned | (adj) ซึ่งเสแสร้ง, See also: ซึ่งกุขึ้นมา, Syn. simulated |
feigned | (adj) ซึ่งสร้างขึ้นมา, See also: ซึ่งทำเลียนแบบ, ซึ่งทำปลอมแปลง, Syn. counterfeit, fake |
fictitious | (adj) ไม่จริง, See also: ไม่แท้, ซึ่งแต่งขึ้นมา, Syn. imaginary, made-up, untrue, Ant. real |
flash | (vi) ส่องแสงวาบขึ้นมา, See also: แปลบ, แลบ, วูบ, Syn. flare, gleam |
flicker | (vi) ปรากฏขึ้นมาแวบหนึ่ง (อารมณ์, ความรู้สึก), See also: ผุดขึ้นมาในแวบหนึ่ง, Syn. glimmer |
flicker | (n) ความรู้สึกหรืออารมณ์ที่เกิดขึ้นมาแวบหนึ่ง |
foundation | (n) สถาบัน (ที่ก่อตั้งขึ้นมาจากกองทุน), See also: มูลนิธิ, องค์กร, องค์การ, สมาคม |
fright | (n) การสะดุ้งตกใจ, See also: ความหวาดกลัวขึ้นมาอย่างกระทันหัน, Syn. fear, scare |
have up | (phrv) เชิญให้ขึ้นมาข้างบนหรือสถานที่ที่สำคัญ, Ant. have down |
heave up | (phrv) ลากขึ้นมา, See also: กู้ขึ้นมา |
hitch up | (phrv) ดึงขึ้น, See also: เกี่ยวขึ้นมา |
grassland | (n) ทุ่งหญ้า, See also: ท้องทุ่ง, บริเวณที่มีหญ้าขึ้นมาก, Syn. meadow, prairie |
gusher | (n) บ่อน้ำมันที่มีน้ำมันไหลพุ่งขึ้นมา, See also: คนพูดมาก, คนพูดพล่าม |
gust | (n) อารมณ์ที่พลุ่งขึ้นมา |
hybrid | (n) สิ่งที่เกิดจากการผสมขึ้นมา, See also: ลูกผสม, พันธุ์ผสม |
get a bright idea | (idm) ฉุกคิดขึ้นมา, See also: คิดออก |
strike it rich | (idm) รวยทันที, See also: มั่งคั่งขึ้นมาทันที |
interject | (vt) อุทาน, See also: พูดแทรก, พูดสอดขึ้นมา, Syn. interpose |
interject | (vi) อุทาน, See also: พูดแทรก, พูดสอดขึ้นมา, Syn. interpose |
interjection | (n) การพูดสอดขึ้นมา |
interpolate | (vt) พูดแทรก, See also: พูดสอดขึ้นมา, Syn. interpose, interrupt, interject, Ant. continue, maintain |
invent | (vt) แต่งเรื่อง, See also: กุ, สร้างเรื่องขึ้นมา, Syn. concoct, make up, fabricate |
application window | วินโดว์โปรแกรม <คำแปล>หมายถึงวินโดว์ของโปรแกรมแต่ละโปรแกรม ถ้าจะสร้างแฟ้มข้อมูล ก็จะมองเห็นมีวินโดว์ใหม่ซ้อนขึ้นมาอีกวินโดว์หนึ่ง เรียกว่า วินโดว์เอกสาร (document window) |
assembly language | ภาษาแอสเซมบลีหมายถึง ภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมภาษาหนึ่งซึ่งจะตรงเข้าไปจัดการกับตัวไมโครโพรเซสเซอร์ หรือ "ตัวประมวลผล" ของเครื่องคอมพิวเตอร์ และจะทำการประมวลผลโดยตรงได้เลย โดยปกติ ภาษานี้จะเรียนยากและต้องเขียนยาวกว่าภาษา C หรือภาษา BASIC แต่จะทำให้ได้ผลลัพธ์ (result) เร็วกว่า และใช้เนื้อที่เก็บน้อยกว่าโปรแกรมภาษาอื่นมาก นิยมใช้ภาษานี้เมื่อต้องการประหยัดเวลาทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ และเพิ่มประสิทธิภาพของโปรแกรม โดยไม่ต้องพะวงถึงความชัดเจนมากนัก และที่สำคัญก็คือ โปรแกรมภาษานี้จะเขียนขึ้นมาเพื่อใช้เฉพาะกับเครื่องใดเครื่องหนึ่ง หากจะนำไปใช้กับเครื่องคนละรุ่น ก็จะต้องมีการปรับแก้ก่อน (ขึ้นกับหน่วยประมวลผลหรือ CPU) |
bezier curve | รูปโค้งเบซิเอร์หมายถึง รูปเส้นโค้งทางคณิตศาสตร์รูปหนึ่ง เป็นโค้งที่ไม่มีรูปลักษณ์ที่มีกฏเกณฑ์เป็นสูตรกำหนด การสร้างเส้นโค้งในโปรแกรมบางโปรแกรม จะต้องเริ่มด้วยการลากเส้นตรงขึ้นมาเส้นหนึ่งก่อน แล้วสร้างจุดสองจุดบนเส้นตรงนั้น ใช้เมาส์ดึงแต่ละจุดขึ้นไป ในทิศทางที่ต่างกัน ก็จะได้โค้งแบบเบซีเอร์ ขึ้นมา |
bob | (บอบ) { bobbed, bobbing, bobs } n. การผงกศีรษะ, ผมบ๊อบ, ทรงผมสั้นของสตรี, ผมมวย, หางม้าที่ตัดสั้น, ทุ่นตกปลา, ลูกตุ้ม, ลูกดิ่ง, การตีเบา vt., vt. ผงกศีรษะ, ผลุบโผล่, ลอย, แกว่ง, โดดขึ้นโดดลง, ลอยขึ้นมาอีก, ตัดให้สั้น, ตัดผมบ๊อบ, พยายามงับสิ่งที่แขวนอยู่, ตกปลาด้วยเหยื่อและทุ่น |
browser | (บราว' เซอร์) n. เรียกข้อมูลขึ้นมาดูเฉพาะส่วนอย่างรวดเร็ว |
common user access | การเข้าถึงผู้ใช้ร่วมกันใช้ตัวย่อว่า CUA หมายถึง ตัวชี้นำ (guidelines) ที่ เครื่องไอบีเอ็มสร้างขึ้นมา ใช้เพื่อทำให้การเข้าสู่โปรแกรมมีลักษณะเป็นแบบเดียวกัน แม้แต่เครื่องแมคอินทอชก็ใช้ตัวชี้นำนี้ |
compatibility | ความเข้ากันได้ความใช้แทนกันได้การเทียบเคียงกันได้หมายถึง ความสามารถในการทำงานของอุปกรณ์หรือโปรแกรมที่สามารถเทียบแทนกันได้กับอุปกรณ์หรือโปรแกรมที่มีมาตรฐานเป็นที่ยอมรับอยู่แล้ว เช่น ถ้าใช้ว่า "IBM Compat" ก็แปลความได้ว่าคอมพิวเตอร์นั้นไม่ใช่ยี่ห้อไอบีเอ็ม แต่ผลิตขึ้นมาด้วยมาตรฐานเดียวกับเครื่องคอมพิวเตอร์ของไอบีเอ็ม และสามารถนำมาใช้แทนเครื่องไอบีเอ็มได้ (หมายถึง ใช้โปรแกรมหรือคำสั่งต่าง ๆ ของไอบีเอ็มได้นั่นเอง) |
cross-question | (ครอส'เควส'เชิน) vt. ไต่ถาม, ตรวจสอบโดยการถาม, ปัญหาที่ถามขึ้นมาในขณะซักถาม, See also: cross-questioning n. ดูcross-question |
crown | (เคราน์) n. มงกุฎ, มาลัย, มาลัยสวมศีรษะ, เครื่องประดับสำหรับศีรษะ, เกียรติยศจากผลงานที่ดีเด่น, -Phr. (the Crown ผู้มีอำนาจสูงสุด) , รัฐาธิปัตย์, เหรียญเงินตราที่มีรูปมงกุฎ, กษัตริย์, เหรียญเงินของอังกฤษสมัยก่อนที่เท่ากับ 5 ชิลลิงส์, ส่วนที่โผล่ขึ้นมา, สิ่งประดับบนยอด |
cua | (ซียูเอ) ย่อมาจาก คำว่า Common User Access ซึ่งหมายถึง ตัวชี้นำ (guidelines) ที่ เครื่องไอบีเอ็มสร้างขึ้นมา ใช้เพื่อทำให้การเข้าสู่โปรแกรมมีลักษณะเป็นแบบเดียวกัน แม้แต่เครื่องแมคอินทอชก็ใช้ตัวชี้นำนี้ |
debugger | โปรแกรมตรวจสอบจุดบกพร่องหมายถึง โปรแกรมพิเศษที่เขียนขึ้นมาเพื่อใช้แก้ไขโปรแกรมโดยเฉพาะ |
delete | (ดิลีท') vt. ลบออก, เอาออก ลบทิ้งลบออกลบ1. หมายถึง แป้นสำหรับสั่งให้ลบทิ้ง การกดแป้นนี้ จะทำให้ลบตัวอักขระที่ตัวชี้ตำแหน่ง (cursor) นำอยู่ออก ตัวอักขระที่อยู่ถัดไปจะเลื่อนขึ้นมาทางซ้ายอีกตำแหน่งหนึ่งตามกันมาเป็นกระบวน2. ในความหมายทางคอมพิวเตอร์ที่แท้จริงนั้น หมายถึง การลบข้อความหรือข้อมูล หรือระเบียน ออกจากแฟ้มข้อมูล (file) หรือฐานข้อมูล (database) 3. ในระบบดอส ใช้เป็นคำสั่งลบชุดคำสั่ง (program) หรือแฟ้มข้อมูล (file) ที่เก็บไว้ในจานบันทึก (disk) เช่นเดียวกับคำสั่ง ERASE อาจใช้ตัวย่อว่า DEL ก็ได้ เช่น A>DEL* . BASมีความหมายเหมือน erase |
develop | (ดีเวล'เลิพ) { developed, developing, develops } vt. พัฒนา, ทำให้เจริญ, ทำให้ปรากฎชัดขึ้นมา, ล้างรูป, ค่อย ๆ ปรากฎชัดขึ้นมาตามลำดับ. vi. พัฒนา, วิวัฒนา, See also: developability n. ดูdevelop, Syn. mature |
dialog box | กรอบสนทนาหมายถึงวินโดว์เล็ก ๆ มี ลักษณะเป็นกรอบสี่เหลี่ยมที่จะปรากฏขึ้นมาบนจอภาพเพื่อถามหาข้อมูลเพิ่มเติม ก่อนที่จะนำคำสั่งไปปฏิบัติ เช่น ในโปรแกรมพิมพ์เอกสาร ถ้าสั่งเริ่มแฟ้มข้อมูลใหม่ ก็จะมีกรอบสี่เหลี่ยมเล็ก ๆ ถามว่าต้องการกำหนดหน้าเป็นขนาดใด กั้นขอบซ้าย ขวา บน ล่างเข้ามาเท่าใด มีจำนวนกี่หน้า เมื่อตอบคำถามต่าง ๆ แล้ว จึงกดปุ่ม OK กรอบสนทนานี้ก็จะหายไป พร้อมกับที่คอมพิวเตอร์นำความต้องการนั้นไปปฏิบัติ (อนึ่ง กรอบสนทนาจะปรากฏบนจอภาพทุกครั้งที่เลือกรายการคำสั่งที่มี....ตามหลัง เช่น คำสั่ง new... ใต้เมนู FILE) |
disinter | (ดิสอินเทอ') vt. ขุดขึ้นมา, ขุดค้น, เปิดเผย., See also: disinterment n. ดูdisinter, Syn. exhume |
enumerate | (อินิว'มะเรท) vt. นับ, ยกตัวอย่าง, ระบุ, ยกขึ้นมากล่าว, จาระไน., See also: enumeration n. ดูenumerate enumerative adj. ดูenumerate enumerator n. ดูenumerate, Syn. tally |
exhume | (เอคซูม') vt. ขุดขึ้นจากหลุม, ขุดศพขึ้นมา, ขุดค้น, ปฏิสังขรณ์., See also: exhumation n. exhumer n., Syn. unearth |
fabrication | (แฟบระเค'เชิน) n. การประดิษฐ์, การคิดค้น, การปลอมขึ้น, เรื่องที่เสกสรรขึ้นมา, Syn. deceit |
file creation | การสร้างแฟ้มหมายถึงการสร้างแฟ้มข้อมูลขึ้นมาเพื่อเก็บสารสนเทศต่าง ๆ โดยกำหนดแบ่งเป็นเขตข้อมูลว่า จะให้มีกี่เขต แต่ละเขตจะต้องใช้ความยาวเท่าใด |
gigo | (กิโก) ย่อมาจาก garbage in , garbage out พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถานแปลว่า เข้าผิด ออกผิด แต่ถ้าแปลตามตัวจะได้ว่า ขยะเข้า ขยะออก เป็นคำกล่าวที่ใช้เตือนสติผู้ใช้คอมพิวเตอร์ว่า ถ้าใส่ข้อมูลที่ไร้คุณค่าลงไปในเครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องก็มิอาจจะทำให้ข้อมูลนั้นมีค่าขึ้นมาได้เลย อีกนัยหนึ่ง เป็นการบอกให้นักคอมพิวเตอร์มือใหม่รู้ว่า เครื่องคอมพิวเตอร์หาใช่สิ่งมหัศจรรย์ที่จะเนรมิตข้อมูลเลว ๆ ให้เป็นสารสนเทศ (information) ดี ๆ ได้ ถ้าใส่ขยะ (ข้อมูลเลว ๆ) เข้าไป ก็จะได้ขยะ (สารสนเทศเลว ๆ) ออกมา |
hollerith, dr. herman | เป็นชาวอเมริกัน เกิด ค.ศ.1860 ตาย ค.ศ.1929 เป็นผู้คิดเอาวิธีนำเอาระบบบัตรเจาะรูมาใช้ในการบันทึกข้อมูลลงในบัตร โดยเลียนแบบจากบัตรของแจ็กการ์ด (Jacquard) ซึ่งเคยใช้วิธีการนี้ควบคุมการให้ลายและพิมพ์สีลงบนผ้า ฮอลเลอริทได้สร้างรหัสสำหรับบัตรเจาะรูขึ้น แล้วจึงนำข้อมูลถ่ายลงบนบัตรเพื่อนำไปให้เครื่องคอมพิวเตอร์อ่าน เครื่องมือประดิษฐ์ของฮอลเลอริทนี้ได้นำมาใช้ในงาประมวลผลและรายงานผลสำมะโนประชากรของสหรัฐอเมริกาในปี ค.ศ.1890 ซึ่งทำให้ทราบผลลัพธ์เร็วขึ้นมาก โดยสามารถทำเสร็จภายในเวลาเพียง 2 ปีเท่านั้น ในปัจจุบัน การเจาะบัตรเพื่อส่งข้อมูลเข้าคอมพิวเตอร์นั้นเกือบจะไม่มีแล้ว เพราะล้าสมัย |
horst | (ฮอสทฺ) n. ส่วนของผิวโลกที่เคลื่อนขึ้นมา |
hot spot | จุดร้อนหมายถึง เนื้อที่บางส่วนบนจอภาพ ที่เมื่อกดเมาส์ลงไปแล้ว จะทำให้เกิดรายการอื่นขึ้นมา แทนที่จะเป็นเรื่องเดิมที่ทำอยู่ ตัวอย่าง เช่นในโปรแกรมประเภทใช้สื่อหลายแบบ (multimedia) หรือการเรียกเมนู Help หรือกดเรียกลูกโป่ง (balloon) มาให้คำอธิบายในเครื่องแมคอินทอช |
impromptu | (อิมพรอม' ทฺ) adj. ซึ่งไม่ได้ตระเตรียมมาก่อน, แบกกลอนสด, กะทันหัน, ทันควัน, เฉพาะหน้า. -adv. อย่างไม่ได้ตระเตรียมมาก่อน. -n. การพูดหรือการแสดงที่ไม่ได้ตระเตรียมมาก่อน, กลอนสด, เพลงหรือบทประพันธ์ที่แต่งขึ้นมาอย่างทันทีทันควัน -S... |
industry standard archite | ใช้ตัวย่อว่า ISA (อ่านว่า อิซ่า) ซึ่งก็คือบัส (bus) แบบหนึ่งที่สร้างขึ้นมาใช้กับเครื่องไอบีเอ็ม เอที (IBM AT) คอมพิวเตอร์ที่เลียนแบบไอบีเอ็มมักใช้บัสนี้หรืออีซา (EISA) ดู EISA เปรียบเทียบ |
interphase | เป็นระยะแรกในการแบ่งตัวของเซลล์แบบ mitosis เป็นระยะที่เตรียมพร้อมดังนั้นในระยะนี้นิวเคลียสจะสะสมทุกอย่างและมี metabolism มากที่สุด จึงเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า metabolivc stage ในระยะนี้โครโมโซมจะมีการจำลองตัวเอง โดยการสร้างโครโมโซมขึ้นมาใหใภายในตัวมีลักษรัเหมือนเดิมทุกอย่างแต่สลับข้างกัน |
intrusion | (อินทรู'เชิน) n. การบุกรุก, การก้าวก่าย, การก้าวร้าว, การผลักดัน, สิ่งที่ถูกดันขึ้นมา., See also: intrusional adj. |
isa | (อิซ่า) ย่อมาจาก industry standard architecture ซึ่งก็คือบัส (bus) แบบหนึ่งที่สร้างขึ้นมาใช้กับเครื่องไอบีเอ็ม เอที (IBM AT) คอมพิวเตอร์ที่เลียนแบบไอบีเอ็มมักใช้บัสนี้หรืออีซา (EISA) ดู EISA เปรียบเทียบ |
kilo instructions per sec | พันคำสั่งต่อวินาทีใช้ตัวย่อว่า KIPS เป็นหน่วยวัดความเร็วในการทำงานของหน่วยประมวลผลกลาง (CPU) โดยวัดเป็นจำนวนคำสั่ง (หน่วยเป็นพัน) ซึ่งคอมพิวเตอร์สามารถกระทำการ (execute) ได้ใน 1 วินาที เช่น คอมพิวเตอร์เครื่องนี้ทำงานได้ 50 กิปส์ หมายความว่า ทำงานได้เร็วห้าหมื่นคำสั่งในหนึ่งวินาที ปัจจุบัน นิยมใช้หน่วยวัดเป็นมิปส์หรือ MIPS (ล้านคำสั่งต่อวินาที) เพราะคอมพิวเตอร์ทำงานได้เร็วขึ้นมาก |
kips | (กิปส์) ย่อมาจาก kilo instructions per second พันคำสั่งวินาที เป็นหน่วยวัดความเร็วในการทำงานของหน่วยประมวลผลกลาง (CPU) โดยวัดเป็นจำนวนคำสั่ง (หน่วยเป็นพัน) ซึ่งคอมพิวเตอร์สามารถกระทำการ (execute) ได้ใน 1 วินาที เช่นคอมพิวเตอร์นี้ทำงานได้ 50 กิปส์ หมายความว่า ทำงานได้เร็วห้าหมื่นคำสั่งในหนึ่งวินาที ปัจจุบัน นิยมใช้หน่วยวัดเป็นมิปส์หรือ MIPS (ล้านคำสั่งต่อวินาที) เพราะคอมพิวเตอร์ทำงานได้เร็วขึ้นมากดู MIPS เปรียบเทียบ |
linear programming | กำหนดการเชิงเส้นเป็นเทคนิคในการคำนวณเพื่อหาผลลัพธ์ที่ดีที่สุด ในการแก้ปัญหาใดปัญหาหนึ่งโดยเฉพาะ การแก้ปัญหาชนิดนี้เป็นการแก้ปัญหาด้วยการหาค่าที่ดีที่สุดขึ้นมาชุดหนึ่ง เช่น การหาสัดส่วนของผสมเพื่อให้ได้ส่วนผสมที่ดีที่สุด มีค่ามากที่สุด และใช้ต้นทุนน้อยที่สุดเป็นต้น |
master file | แฟ้มหลักหมายถึงแฟ้มข้อมูลที่ทำไว้ค่อนข้างถาวร และมีข้อมูลเก็บไว้อย่างสมบูรณ์ ในการแก้ไขหรือปรับปรุงแฟ้มข้อมูลหลักนี้ (เช่น ถ้าเป็นแฟ้มประวัติพนักงานของบริษัท ที่จะมีการแก้ไขเฉพาะรายการเงินเดือน ส่วนรายการอื่นไม่มีการแก้) มักจะใช้วิธีสร้างแฟ้มข้อมูลขึ้นมาใหม่ ซึ่งจะเปลี่ยนแปลงข้อมูลเฉพาะบางรายการ เรียกว่า "แฟ้มรายการ เปลี่ยนแปลง " (transaction file) แล้วเขียนโปรแกรมให้คอมพิวเตอร์อ่านแฟ้มข้อมูล ใหม่นี้ เข้าไปจัดการแก้ไขปรับปรุงข้อมูลในแฟ้มหลักให้ ดู transaction file เปรียบเทียบ |
object linking and embedd | การเชื่อมโยงและการฝังตัวของวัตถุใช้ตัวย่อว่า OLE (อ่านว่า โอเล) เท่ากับการแทรกเอกสาร หรือ ภาพ หรือบางส่วนของเอกสาร ที่ได้สร้างขึ้นไว้ในโปรแกรมหนึ่ง (เรียกว่า วัตถุ) เข้าไปในแฟ้มเอกสาร หรือส่วนของเอกสารที่สร้างขึ้นมาจากอีกโปรแกรมหนึ่ง แถมด้วยการที่สามารถยึดโยงหรือเชื่อมโยงความผูกพันระหว่างเอกสารทั้งสองไว้ให้อีกด้วย การยึดโยงดังกล่าวมีความหมายว่า การแก้ใขแฟ้มหนึ่งจะทำให้อีกแฟ้มหนึ่งถูกแก้ไปด้วยโดยอัตโนมัติ วิธีการนี้นิยมใช้มากในระบบวินโดว์ |
ole | (โอเล') n. การตะโกน, เปล่งเสียงที่แสดงถึงการเห็นด้วย โอเล <คำอ่าน>ย่อมาจาก object linking and embedding (แปลว่า การเชื่อมโยงและการฝังตัวของวัตถุ) เท่ากับการแทรกเอกสาร หรือภาพหรือบางส่วนของเอกสาร ที่ได้สร้างขึ้นไว้ในโปรแกรมหนึ่ง (เรียกว่า วัตถุ) เข้าไปในแฟ้มเอกสาร หรือส่วนของเอกสาร ที่สร้างขึ้นมาจากอีกโปรแกรมหนึ่ง แถมด้วยการที่สามารถเชื่อมโยงหรือยึดโยงความผูกพันระหว่างเอกสารทั้งสองไว้ให้อีกด้วย การยึดโยงดังกล่าวมีความหมายว่า การแก้ใขแฟ้มหนึ่งจะทำให้อีกแฟ้มหนึ่งถูกแก้ไปด้วยโดยอัตโนมัติ วิธีการนี้นิยมใช้มากในระบบวินโดว์ |
os/2 | โอเอส/ทูหมายถึง เครื่องหมายการค้าของผลิตภัณฑ์ของบริษัทไอบีเอ็ม และบริษัทไมโครซอฟต์ ย่อมาจากคำเต็มว่า operating system II ระบบปฏิบัติการชุดนี้สร้างขึ้นมาใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลหรือพีซี |
overgrow | (โอ'เวอะโกร) vt., vi. ขึ้นมากเกินไป, ขึ้นปกคลุมมากเกินไป, โตใหญ่เกินไป., See also: overgrowth n. |
paged memory management u | ใช้ตัวย่อว่า PMMU (อ่านว่า พีเอ็มเอ็มยู) หมายถึง ชิป (chip) หรือวงจรตัวหนึ่งในคอมพิวเตอร์รุ่นใหม่ ๆ ที่สร้างขึ้นมาเพื่อใช้ขยายหน่วยความจำเสมือน (virtual memory) |
parity bit | บิตภาวะคู่หรือคี่หมายถึง บิตที่เพิ่มขึ้นมา เพื่อตรวจสอบความผิดพลาดในการส่งข้อมูล ถ้าเป็น 1 ก็เรียกว่า ภาวะคี่ ถ้าเป็น 0 ก็เป็น ภาวะคู่ |
perk | (เพิร์ค) vi. เชิดหน้า, เงย, ชูคอ, กระฉับกระเฉงขึ้นมา, เสือก, ทะลึ่ง, วางมาด, วางท่า vi., vt. กรอง, ชง, ซึมผ่านadj. ปราดเปรียว, ว่องไว, กระปรี้กระเปร่า, อวดดี, เชิดหน้า, เงยหน้า, แต่งตัว. perkingly adv., See also: perkish adj., Syn. perky |
picking | (พิค'คิง) n. การเลือก, การสรร, การคัด, การขุด, การแคะ, การจิก, การเด็ด, การเก็บ, การดีดสายเครื่องดนตรี, สิ่งที่ถูกเลือก (คัด, ขุด...) , สิ่งที่เก็บขึ้นมาได้, อัฐิที่ยังเผาไม่หมด, ของโจร, See also: pickings n., pl. สิ่งที่ควรเก็บสะสมไว้, ผลกำไรที่ได้มาโดยทุจริต |
pmmu | (พีเอ็มเอ็มยู) ย่อมาจาก paged memory management unit หมายถึง ชิป (chip) หรือวงจรตัวหนึ่งในคอมพิวเตอร์รุ่นใหม่ ๆ ที่สร้างขึ้นมาเพื่อใช้ขยายหน่วยความจำเสมือน (virtual memory) |
recur | (รีเคอร์') vi. เกิดขึ้นอีก, กลับมาอีก, กำเริบ, เกิดเป็นความคิดขึ้นมาอีก, พิจารณาอีก, หยิบยกขึ้นมาอีก, See also: recurringly adv. |
recurrence | (รีเคอ'เรินซฺ) n. การเกิดขึ้นอีก, การกลับมาอีก, การกำเริบ, การหันกลับ, การหยิบยกขึ้นมาพิจารณาอีก. |
reef | (รีฟ) n. หินโสโครก, โขดหินใต้น้ำหรือสูงขึ้นมาเกือบพันระดับน้ำทะเล, ทางแร่ |
resurge | (รีเซิร์จ') vt. ลุกขึ้นมาอีก, คืนชีพ, ฟื้นคืน, Syn. revive |
resurgent | (รีเซอ'เจินทฺ) adj. ฟื้นคืนอีก, คืนชีพ, ลุกขึ้นมาอีก, See also: resurgence n. |
risen | (รีส'เซิน) adj. โผล่ขึ้น, ปรากฎขึ้น, เกิดขึ้น, ฟื้นขึ้นมา, คืนชีพ |
rouse | (เราซ) vt., n. (การ) ปลุก, ปลุกให้ตื่น, ทำให้ตื่น, กระตุ้น, ทำให้โกรธ, ยุยง, ก่อกวน, ดึงขึ้นสุดกำลัง, การดื่มเหล้ารวดเดียวหมด, การดื่มจนเมา, การเลี้ยงสุรา, การเลี้ยงอาหารอย่างเอะอะโวยวาย vi. ตื่นขึ้นมา, ลุกขึ้นมา, ฮึดสู้, Syn. awaken |
salvable | (แซล'วะเบิล) adj. ช่วยให้รอดได้, กอบกู้ขึ้นมาได้, See also: salvableness n. salvably adv. |
salvage | (แซล'วิจฺ) n. การกู้เรือ, การกู้ทรัพย์สินให้พ้นภัยพิบัติ, ทรัพย์สินที่กอบกู้ให้พ้นความเสียหาย, เรือที่กอบกู้ขึ้นมาได้, ค่ากู้ให้พ้นภัย, มูลค่าทรัพย์สินที่กู้ให้พ้นภัย, การใช้ของเสียให้เป็นประโยชน์, การช่วยเหลือ, การช่วยชีวิต. vt. กู้เรือ, กอบกู้ทรัพย์สินให้พ้นภัย |