Amnesty International | องค์การนิรโทษกรรมสากล องค์การนี้เริ่มต้นจากเป็นขบวนการเล็ก ๆ ก่อน เพื่อทำหน้าที่ประท้วง (Protest) แต่ภายในเวลาไม่นานนัก ได้ขยายตัวออกเป็นองค์การ เพื่อให้สมกับเป้าหมายและภารกิจที่ต้องปฏิบัติเพิ่มขึ้นมากมาย คติดั้งเดิมของการรณรงค์ระหว่างประเทศเพื่อสนับสนุนบรรดาบุคคลที่ต้องถูกคุม ขังอยู่ทั่วโลก ด้วยข้อหาเกี่ยวกับความเชื่อถือทางการเมืองและการศาสนานั้น ได้บังเกิดจากความคิดของบุคคลหนึ่งชื่อปีเตอร์ เบเนนสันปีเตอร์ เบเนนสัน ได้เขียนบทความลงในหนังสือพิมพ์ประจำวันอาทิตย์ของอังกฤษชื่อ Sunday Observer เมื่อเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1961 โดยให้หัวเรื่องบทความว่า ?นักโทษที่ถูกลืม? (The Forgotten Prisoners) บทความนี้ได้ประทับใจมติมหาชนทั่วโลกทันที และภายในปีเดียว องค์การได้รับเรื่องร้องเรียนในนามของนักโทษกว่า 200 รายองค์การนิรโทษกรรมสากลมีเป้าหมายนโยบายกว้างๆ อยู่ 3 ข้อ คือ ต้องการให้ปล่อยนักโทษผู้มีนโนธรรม (Prisoners of Conscience) ทั้งหมด ให้มีการยุติการทรมานนักโทษไม่ว่าด้วยวิธีใดๆ รวมทั้งการลงโทษประหารชีวิตและให้มีการพิจารณาพิพากษาคดีนักโทษการเมืองทั้ง หมดอย่างเป็นธรรมและไม่รอช้า องค์การนี้นอกจากจะมีชื่อเสียงว่าเป็นผู้ดำรงความเป็นกลางไม่เข้ากับฝ่ายใด และเป็นที่น่าเชื่อถือไว้วางใจได้อย่างแท้จริงแล้ว ยังเป็นเสมือนศูนย์ข้อมูลและข้อสนเทศที่สำคัญ ซึ่งบรรดาบุคคลสำคัญๆ ทางการเมืองทั่วโลกได้ใช้อ้างอิงอีกด้วยในปัจจุบัน องค์การนิรโทษกรรมมีสมาชิกและผู้สนับสนุนเป็นจำนวนกว่า 1 ล้านคน จากประเทศต่างๆ กว่า 150 ประเทศ องค์การอยู่ภายใต้การบริหารของคณะกรรมการบริหารจำนวน 9 คน รวมทั้งตัวเลขาธิการอีกผู้หนึ่ง ทำหน้าที่ปฏิบัติให้เป็นไปตามข้อมติเกี่ยวกับนโยบาย และเป็นหัวหน้าของสำนักเลขาธิการขององค์การด้วย มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ ณ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ องค์การมีผู้แทนของตนประจำอยู่กับองค์การสหประชาชาติ เมื่อปี ค.ศ. 1978 ได้รับรางวัลเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนของสหประชาชาติ และในปี ค.ศ. 1977 ก็ได้รับรางวัลสันติภาพโนเบลมาแล้ว [การทูต] |
Diplomatist หรือ Diplomat | ใช้กับราชการทุกคนที่ประจำทำงานในด้านทางการทูต ไม่ว่าจะประจำอยู่ในกระทรวงการต่างประเทศ หรือในราชการต่างประเทศ คือ ในสถานเอกอัครราชทูต สถานกงสุล หรือในสำนักงานทางทูตอื่นๆในทรรศนะของ เซอร์แฮโรลด์ นิโคลสัน นักการทูตยอดเยี่ยมคนหนึ่งของอังกฤษ ได้ระบุไว้ว่า นักการทูตหรือ Diplomat จะต้องประกอบด้วยคุณสมบัติดังต่อไปนี้ คือ ยึดถือความเป็นจริง มีความแม่นยำ สงบเยือกเย็น มีความอดกลั้น อารมณ์ดี มีความสงบเสงี่ยมและมีความจงรักภักดี ทั้งยังจะต้องเป็นผู้ที่มีสติปัญญา มีความรู้ มองเห็นการณ์ไกล มีความสุขุมรอบคอบ ใจดีกับแขกและผู้แปลกหน้า มีเสน่ห์ มีความอุตสาหะวิริยะ มีความกล้า และมีปฏิภาณในทำนองเดียวกัน Francoise de Callieres (1645-1717) นักการทูตชั้นเยี่ยมของฝรั่งเศส ซึ่งเคยเป็นเอกอัครราชทูตประจำโปแลนด์ ซาวอย ฮอลแลนด์ บาวาเรีย และลอเรน ได้เขียนหนังสือไว้เล่มหนึ่งชื่อว่า De la miniere avec les souverains เป็นเรื่องเกี่ยวกับวิธีการเจรจาทางการทูต ซึ่งจนถึงปัจจุบันยังเป็นที่รับรองกันทั่วไปว่าเป็นหนังสือที่ดีเยี่ยมเล่ม หนึ่ง หรือเป็นจินตกวีนิพนธ์เรื่องการดำเนินการทูตกับเจ้าผู้ครองนคร (Princes) สมัยนั้นCallieres ได้วางมาตรฐานของนักการทูตไว้สูงมากเพราะเขาเห็นว่า ไม่มีงานราชการใด ๆ ที่จะยากยิ่งไปกว่าการเจรจา ในการเจรจานั้น ผู้เจรจาจะต้องสามารถมองเห็นเหตุการณ์ทะลุปรุโปร่ง หรือมีสติปัญญาเฉียบแหลม มีความคล่องแคล่วกระฉับกระเฉง มีความละมุนละไม มีความรอบรู้และความเข้าใจอย่างกว้างขวาง ตลอดจนข้อสำคัญที่สุด ต้องเป็นผู้มีความสุขุมคัมภีรภาพ สามารถมองเห็นการณ์ไกลชนิดเจาะลึกทีเดียว นอกจากนี้ จะต้องเป็นผู้มีอารมณ์ขันอย่างสม่ำเสมอ ไม่โกรธง่าย มีจิตใจสงบเยือกเย็น มีความอดกลั้น พร้อมเสมอที่จะรับฟังทุกคนที่เขาพบด้วยความตั้งอกตั้งใจ พูดจาอย่างเปิดเผย และมีอารมณ์ร่าเริงไม่หน้าเง้าหน้างอ มีอัธยาศัยไมตรี รวมทั้งมีกิริยาท่าทางเป็นที่ต้องตาต้องใจกับทุกคน ในฐานะนักเจรจา (Negotiator) นักการทูตจะต้องมีคุณลักษณะและคุณสมบัติตามที่กล่าวมานี้เป็นอย่างน้อย เนื่องจากมีการเจรจาเป็นหน้าที่สำคัญที่สุดของนักการทูตนั่นเอง [การทูต] |
Iron Curtain | ม่านเหล็ก เป็นศัพท์ที่อดีตนายกรัฐมนตรีของอังกฤษ ผู้ล่วงลับไปแล้ว คือ เซอร์วินสตัน เชอชิลล์ เป็นผู้บัญญัติขึ้นหมายถึงเครื่องกีดขวางปิดกั้นเขต ซึ่งโซเวียตรัสเซียและประเทศคอมมิวนิสต์ในยุโรปตะวันออกไม่ยอมให้มีการ ติดต่อหรือเดินทางเข้าไปในอาณาเขตของประเทศดังกล่าว ที่เรียกกันว่า ประเทศหลังม่านเหล็ก เป็นปรากฏการณ์ทางการเมืองในระหว่างสงครามเย็น แต่ภายหลังที่ลัทธิคอมมิวนิสต์ล่มสลาย ม่านเหล็กก็พลอยหมดสภาพไปในที่สุด [การทูต] |
Presentation of Credentials | หมายถึง การยื่นสารตราตั้ง เป็นธรรมเนียมปฏิบัติทางการทูตว่า ผู้ใดได้รับแต่งตั้งเป็นเอกอัครราชทูตประจำประเทศใดประเทศหนึ่ง ก่อนที่จะปฏิบัติงานในหน้าที่ จะต้องนำสารตราตั้ง (Credentials) ไปยื่นต่อประมุขของรัฐนั้น ๆ พิธียื่นสารตราตั้งจะกระทำไม่เหมือนกันในแต่ละประเทศ แล้วแต่จะพิจารณาเห็นความเหมาะสม และความเคร่งต่อธรรมเนียมประเพณีที่ปฏิบัติติดต่อกันมาเป็นสำคัญ เช่น อังกฤษเป็นประเทศหนึ่งที่พิธียื่นสารตราตั้งของเอกอัครราชทูตต่อองค์ประมุข ของประเทศค่อนข้างวิจิตรพิสดารมาก ส่วนบางประเทศมีพิธียื่นสารอย่างง่าย ๆ แทบจะไม่มีพิธีรีตองอย่างใดในสหรัฐอเมริกา ณ กรุงวอชิงตันดีซี พิธียื่นสารตราตั้งต่อประธานาธิบดีของสหรัฐฯ กระทำอย่างเรียบง่าย กล่าวคือ พอถึงเวลาที่กำหนดในวันยื่นสารตราตั้ง อธิบดีกรมพิธีการทูตหรือผู้แทนของกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ จะนำรถยนต์ลีมูซีนสีดำไปยังทำเนียบของเอกอัครราชทูต เพื่อรับเอกอัครราชทูตและครอบครัวไปยื่นสารตราตั้งต่อประธานาธิบดี ณ ตึกทำเนียบขาว ( White House)มีข้อน่าสนใจอันหนึ่งคือ ทางฝ่ายสหรัฐฯ จะสนับสนุนให้เอกอัครราชทูตพาภรรยาและบุตรทั้งชายหญิงไปร่วมในการยื่นสารตรา ตั้งนั้นด้วย การแต่งกายของเอกอัครราชทูตก็สวมชุดสากลผูกเน็คไทตามธรรมดา ระหว่างที่ยื่นสารมีการปฏิสันถารกันพอสมควรระหว่างเอกอัครราชทูตกับ ประธานาธิบดีสหรัฐฯมีช่างภาพของทางราชการถ่ายรูปไว้เป็นที่ระลึก และมอบภาพถ่ายให้แก่เอกอัครราชทูตในวันหลัง (ต่างกับพิธีของอังกฤษมาก) เอกอัครราชทูตไม่ต้องพาคณะเจ้าหน้าที่ของสถานเอกอัครราชทูตติดตามไปด้วย หลังจากพบกับประธานาธิบดีสหรัฐฯ แล้ว อธิบดีกรมพิธีการทูตจะนำเอกอัครราชทูตและครอบครัวกลับไปยังทำเนียบที่พักโดย รถยนต์คันเดิม เป็นอันเสร็จพิธียื่นสารตราตั้ง โดยที่ประเทศต่าง ๆ ในโลกต่างมีสถานเอกอัครราชทูตของตนตั้งอยู่ในกรุงวอชิงตันดีซี ดังนั้น ในวันไหนที่มีการยื่นสารตราตั้งต่อประธานาธิบดี ทางการทำเนียบขาวมักจะกำหนดให้เอกอัครราชทูตใหม่จากประเทศต่าง ๆ เข้ายื่นสารในวันนั้นราว 4-5 ประเทศติดต่อกัน มิใช่วันละคนอย่างที่ปฏิบัติในบางประเทศทันทีที่เอกอัครราชทูตยื่นสารตรา ตั้งต่อประธานาธิบดีเรียบร้อยแล้ว เอกอัครราชทูตจะมีหนังสือเวียนไปยังหัวหน้าคณะทูตทุกแห่งในกรุงวอชิงตันดีซี แจ้งให้ทราบว่าในวันนั้น ๆ เขาได้ยื่นสารตราตั้งต่อประมุขของรัฐ ในฐานะเอกอัครราชทูตเรียบร้อยแล้ว พร้อมกับแสดงความหวังในหนังสือว่าความสัมพันธ์อันดีที่มีอยู่ระหว่างคณะผู้ แทนทางการทูตทั้งสอง ทั้งในทางราชการและทางส่วนตัว จะมั่นคงเป็นปึกแผ่นยิ่งขึ้นอีก จากนั้น เอกอัครราชทูตใหม่ก็จะหาเวลาไปเยี่ยมคารวะเอกอัครราชทูตของประเทศต่าง ๆ ที่ประจำอยู่ในกรุงวอชิงตันดีซีทีละราย กว่าจะเยี่ยมหมดทุกคนก็กินเวลานานอยู่หลายเดือนทีเดียว [การทูต] |
American Revolution | (n) สงครามระหว่างอังกฤษกับอาณานิคมของอังกฤษในอเมริกา (ค.ศ. 1775-1783) |
Anglia | (n) ชื่อภาษาละตินของอังกฤษ |
Anglomania | (n) การคลั่งไคล้วัฒนธรรมของอังกฤษ |
baron | (n) ท่านบารอน, See also: ขุนนางขั้นต่ำของอังกฤษหรือญี่ปุ่น |
by-election | (n) การเลือกตั้งสมาชิกสภาที่ตายหรือลาออกของอังกฤษ, See also: การเลือกตั้งซ่อม |
cadet corps | (n) องค์การสำหรับฝึกทางทหารให้แก่นักเรียนในบางโรงเรียนของอังกฤษ |
down South | (idm) ไปทางใต้ของอังกฤษ |
duke | (n) ท่านดยุค, See also: ขุนนางชั้นสูงของอังกฤษ, Syn. aristocrat, nobleman, peer, Ant. citizen, commoner |
Elizabeth I | (n) สมเด็จพระราชินีนาถแห่งอังกฤษช่วงปี ค.ศ.1558-1603, See also: พระธิดาของกษัตริย์เฮนรี่ที่ 8 และแอนน์โบลีน, สมเด็จพระราชินีนาถของอังกฤษและไอร์แลนด์ใน |
English | (adj) เกี่ยวกับประเทศอังกฤษ, See also: แห่งประเทศอังกฤษ, ของอังกฤษ, แบบอังกฤษ |
farthing | (n) เหรียญเงินตราของอังกฤษสมัยก่อนมีค่าเท่ากับ 1/4 เพนนี |
first class | (n) เกียรตินิยมอันดับหนึ่งในมหาวิทยาลัยของอังกฤษ |
governor-general | (n) ผู้สำเร็จราชการเมืองขึ้นของอังกฤษ |
halfpenny | (n) เหรียญบรอนซ์ของอังกฤษมีค่าเท่ากับครึ่งเพนนี (เลิกใช้ในปี ค.ศ.1971) |
Manchester | (n) เมืองแมนเชสเตอร์เป็นทางตะวันตกเฉียงเหนือของอังกฤษ, See also: แมนเชสเตอร์ |
midshipman | (n) นักเรียนทหารเรือ (ของอเมริกา), See also: ตำแหน่งทหารเรือที่มียศระหว่าง naval cadet และ sublieutenant ของอังกฤษ, Syn. navigator, mariner, seaman, sailor |
morris dance | (n) การเต้นรำพื้นเมืองของอังกฤษ, Syn. morris |
Ordnance Survey map | (n) แผนที่ของอังกฤษและไอร์แลนด์ |
penny | (n) เหรียญเพนนีของอังกฤษมีค่าเท่ากับ 1/12 ชิลลิง, Syn. cent, copper |
Pict | (n) สมาชิกเผ่าโบราณที่อาศัยอยู่ในภาคเหนือของอังกฤษ |
pound sterling | (n) ธนบัตรและหน่วยเงินตราของอังกฤษ, Syn. pound |
pound | (n) หน่วยเงินตราของอังกฤษ, See also: ปอนด์, ปอนด์สเตอลิงก์ |
prime meridian | (n) เส้นแวงแรกที่พาดผ่านตำบล Greenwich ของอังกฤษ |
quid | (n) 1 ปอนด์สเตอร์ลิงของอังกฤษ, See also: หน่วยเงิน 1 ปอนด์สเตอร์ลิง |
reader | (n) ผู้บรรยายหรืออาจารย์ในมหาวิทยาลัยของอังกฤษ, See also: มีตำแหน่งต่ำกว่า professor ปกติใช้ Reader, Syn. leturer, teacher |
redbrick | (adj) ซึ่งเป็นมหาวิทยาลัยหรือวิทยาลัยของอังกฤษ, Syn. red-brick |
Regency | (adj) ช่วงปี ค.ศ.1811-1820 ของอังกฤษ (ประวัติศาสตร์) |
Regency | (adj) ซึ่งมีรูปแบบตามที่นิยมในช่วงปี ค.ศ.1811-1820 ของอังกฤษ |
regius | (adj) ซึ่งดำรงตำแหน่งเป็นศาสตราจารย์ในมหาวิทยาลัยของอังกฤษ |
Scotland Yard | (n) สำนักงานตำรวจสันติบาลของอังกฤษ |
sergeant at law | (n) ทนายชั้นสูงสุดของอังกฤษ |
shilling | (n) เหรียญเงินชิลลิงแบบเก่าของอังกฤษ (1ชิลลิง=1/20ของ1ปอนด์) |
Sir | (n) คำเรียกนำหน้าชื่ออัศวินหรือขุนนางของอังกฤษ, See also: เซอร์, Syn. lord, knight, baron, master |
sixpence | (n) เหรียญหกเพนนีของอังกฤษ |
sixpenny | (adj) ซึ่งเป็นเหรียญหกเพนนีของอังกฤษ |
spencer | (n) วิกผมของอังกฤษในศตวรรษที่18 |
threepence | (n) เหรียญ 3 เพนนีของอังกฤษ, See also: เป็นโลหะผสมระหว่างทองแดงกับนิเกิล |
twopence | (n) จำนวนสองเพนนี (หน่วยเงินตราของอังกฤษ) |
Union Jack | (n) ธงชาติของอังกฤษ |
virgate | (n) หน่วยวัดเนื้อที่ดินของอังกฤษสมัยก่อน |
Whitmonday | (n) วันอาทิตย์ที่7หลังวันอีสเตอร์, See also: เป็นวันหยุดอย่างเป็นทางการของอังกฤษ ไอร์แลนด์ และเวลส์ |
admiral of the fleet | ผู้บัญชากองเรือรบของอังกฤษ |
american revolution | สงครามระหว่างอังกฤษกับอาณานิคมของอังกฤษในอเมริกา (ค.ศ.1775 - 83) |
anglist | (แอง' กลิท) n. เจ้าหน้าที่หรือผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับเรื่องราวของอังกฤษ |
b.t.u. | abbr. British thermal unit หน่วยวัดค่าความร้อนแบบหนึ่งของอังกฤษ มักใช้ในการแสดงถึงความสามารถในการลดความร้อนของเครื่องปรับอากาศ |
bank annuities | n. พันธบัตรเอกภาพของอังกฤษ |
bank annuity) | n. พันธบัตรเอกภาพของอังกฤษ |
briticism | (บริท'ทิซิสซึม) n. ภาษาอังกฤษที่เป็นลักษณะเฉพาะของอังกฤษ -S.Britishism |
broad church | n. ศาสนาประจำชาติของอังกฤษ |
buckingham palace | n. พระราชวังบัคกิงแฮมของอังกฤษ |
chancellor of the exchequ | n. รัฐมนตรีกระทรวงการคลังของอังกฤษ |
church of england | n. ศาสนาคริสเตียนประจำชาติของอังกฤษ ไม่นับถือสันตะปาปาเป็นผู้นำศาสนา |
common law | n. กฎหมายจารีตประเพณีของอังกฤษ |
count | (เคาทฺ) { counted, counting, counts } v., n. (การ) นับ, นับจำนวน, นับค่า, คิด, คิดว่า, นับว่า, ถือ, เข้าใจว่า, หวังว่า.มขุนนางยุโรปที่มี่ตำแหน่งฐานะเท่าท่านเอิร์ลของอังกฤษ -Phr. (count beyond นับไม่หมด นับไม่ไหว) -Phr. (count down นับย้อนกลับ นับถอยหลัง (ไปยังศูนย์)) - |
crown | (เคราน์) n. มงกุฎ, มาลัย, มาลัยสวมศีรษะ, เครื่องประดับสำหรับศีรษะ, เกียรติยศจากผลงานที่ดีเด่น, -Phr. (the Crown ผู้มีอำนาจสูงสุด) , รัฐาธิปัตย์, เหรียญเงินตราที่มีรูปมงกุฎ, กษัตริย์, เหรียญเงินของอังกฤษสมัยก่อนที่เท่ากับ 5 ชิลลิงส์, ส่วนที่โผล่ขึ้นมา, สิ่งประดับบนยอด |
high church | เกี่ยวกับศาสนาคริสเตียนนิกายประจำชาติของอังกฤษ, Syn. Anglican Church |
home office | กระทรวงมหาดไทยของอังกฤษ |
home secretary | รัฐมนตรีกระทรวงมหาดไทยของอังกฤษ |
liberal | (ลิบ'เบอเริล) adj. ใจกว้าง, ใจป้ำ, โอบอ้อมอารี, ตามอารมณ์, ตามอำเภอใจ, มากมาย, อุดมสมบูรณ์ n. ผู้มีใจกว้าง, มีใจป้ำ, ผู้มีใจโอบอ้อมอารี, สมาชิกพรรคลิบเบอรัลของอังกฤษ, See also: liberalness n. ดูliberal, Syn. abundant, Ant. stingy |
life guards | n. กองทหารรักษาพระองค์, กองทหารม้ารักษาพระองค์ของอังกฤษ |
magna carta | (แมก'นะคาร์'ทะ) n. กฎหมายที่ยิ่งใหญ่, รัฐธรรมนูญฉบับแรกของอังกฤษ |
palestine | (แพล'ลิสไทน์) n. ชื่อประเทศในอาณัติของอังกฤษ สมัยก่อน, See also: Palestinian adj. n. |
prince of wales | n. มงกุฎราชกุมารของอังกฤษ |
red tab | n. นายทหารเสนาธิการของอังกฤษ |
scotland yard | n. ตำรวจสันติบาลของอังกฤษ, Syn. London police |
shilling | (ชิล'ลิง) n. เหรียญชิลลิงของอังกฤษมีค่าเท่ากับ 1/20 ปอนด์หรือ 12 เพนนี |
shire | (ไช'เออะ) n. ชื่อแขวงปกครองในอังกฤษ, the Shires แขวงปกครองใน ตอนกลางของอังกฤษ |
spitfire | (สพิท'ไฟเออะ) n. บุคคล (โดยเฉพาะผู้หญิง) ที่มีอารมณ์ร้าย, Spitfire เครื่องบินรบเครื่องยนต์เดียวของอังกฤษที่ใช้ในสงครามโลกครั้งที่สอง |
tithe | (ไทธฺ) n. 1/10ของผลิตผลทางเกษตร, 1/10อากรของอังกฤษสมัยก่อนที่ชัก1/10, จำนวนเล็กน้อย, พัทธยา, ภาษีย่อม. vi. จ่ายภาษีหนึ่งในสิบ, ให้จำนวนหนึ่งในสิบ, จ่ายค่าอากรที่ชักหนึ่งในสิบ, จัดเก็บภาษีหรืออากรที่ชักหนึ่งในสิบ vi. จ่ายภาษีหรืออากรที่ชักหนึ่งในสิบ. |
virgin queen | n. พระนางเจ้าเอลิซาเบทที่1ของอังกฤษ |
wimbledon | (วิม'เบิลเดิน) n. ชื่อเมืองในภาคตะวันออกเฉียงใต้ของอังกฤษ อยู่ใกล้กรุงลอนดอนเป็นที่มีการแข่งขันเทนนิสโลกทุกปี |
winchester | (วิน'เชสเทอะ) n. ชื่อเมืองและเขตปกครองในตอนใต้ของอังกฤษ, ปืนยิงสัตว์ใหญ่ |
Governor-general | (n) ข้าหลวงต่างพระองค์ในดินแดนของอังกฤษ |
post-truth | [โพสต์-ทรูธ] "เรื่องจริงไว้ทีหลังก็ได้" เป็นคำศัพท์ใหม่สุดของ Oxford ที่บัญญัติไว้ในอาทิตย์นี้เอง หลังจากเหตุการณ์ Brexit ของอังกฤษ และการเลือกตั้งของอเมริกา.....พจนานุกรมอ๊อกซเฝิด บัญญัติไว้ว่าคือ "ภาวะหรือสภาพซึ่ง...ข้อเท็จจริงที่เป็นรูปธรรมจริง.. จะมีน้ำหนักโน้มน้าวทัศนคติผู้คนทั่วไปได้น้อยกว่า การโน้มน้าวให้แต่ละคน มีความเชื่อหรืออารมณ์คล้อยตาม" "relating to or denoting circumstances in which objective facts are less influential in shaping public opinion than appeals to emotion and personal belief."//Oxford Dict. |
post-truth | [โพสต์-ทรูธ] "เรื่องจริงไว้ทีหลังก็ได้" เป็นคำศัพท์ใหม่สุดของ Oxford ที่บัญญัติไว้ในอาทิตย์นี้เอง หลังจากเหตุการณ์ Brexit ของอังกฤษ และการเลือกตั้งของอเมริกา.....พจนานุกรมอ๊อกซเฝิด บัญญัติไว้ว่าคือ "ภาวะหรือสภาพซึ่ง...ข้อเท็จจริงที่เป็นรูปธรรมจริง.. จะมีน้ำหนักโน้มน้าวทัศนคติผู้คนทั่วไปได้น้อยกว่า การโน้มน้าวให้แต่ละคน มีความเชื่อหรืออารมณ์คล้อยตาม" "relating to or denoting circumstances in which objective facts are less influential in shaping public opinion than appeals to emotion and personal belief."//Oxford Dict. |
post-truth | [โพสต์-ทรูธ] "เรื่องจริงไว้ทีหลังก็ได้" เป็นคำศัพท์ใหม่สุดของ Oxford ที่บัญญัติไว้ในอาทิตย์นี้เอง หลังจากเหตุการณ์ Brexit ของอังกฤษ และการเลือกตั้งของอเมริกา.....พจนานุกรมอ๊อกซเฝิด บัญญัติไว้ว่าคือ "ภาวะหรือสภาพซึ่ง...ข้อเท็จจริงที่เป็นรูปธรรมจริง.. จะมีน้ำหนักโน้มน้าวทัศนคติผู้คนทั่วไปได้น้อยกว่า การโน้มน้าวให้แต่ละคน มีความเชื่อหรืออารมณ์คล้อยตาม" "relating to or denoting circumstances in which objective facts are less influential in shaping public opinion than appeals to emotion and personal belief."//Oxford Dict. |
post-truth | [โพสต์-ทรูธ] "เรื่องจริงไว้ทีหลังก็ได้" เป็นคำศัพท์ใหม่สุดของ Oxford ที่บัญญัติไว้ในอาทิตย์นี้เอง หลังจากเหตุการณ์ Brexit ของอังกฤษ และการเลือกตั้งของอเมริกา.....พจนานุกรมอ๊อกซเฝิด บัญญัติไว้ว่าคือ "ภาวะหรือสภาพซึ่ง...ข้อเท็จจริงที่เป็นรูปธรรมจริง.. จะมีน้ำหนักโน้มน้าวทัศนคติผู้คนทั่วไปได้น้อยกว่า การโน้มน้าวให้แต่ละคน มีความเชื่อหรืออารมณ์คล้อยตาม" "relating to or denoting circumstances in which objective facts are less influential in shaping public opinion than appeals to emotion and personal belief."//Oxford Dict. |
SAS | (n, name) ชื่อกลุ่มทหารของอังกฤษ เป็นหน่วยตำรวจในเกมส์ คาวเตอสไต๊ย |