Metabolism | การเผาผลาญ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Energy metablism | การเผาผลาญพลังงาน [TU Subject Heading] |
Positron Emission Tomography | เป็นเทคนิคการถ่ายภาพอวัยวะในร่างกายที่ทันสมัยที่สุดในปัจจุบัน โดยการตรวจวัดสารกัมมันตรังสีบางชนิด ซึ่งให้แก่ร่างกายในรูปของสารเภสัชรังสี เพื่อใช้ในการตรวจวัดเชิงปริมาณของขบวนการทางชีวเคมีในร่างกายของสิ่งมีชีวิต ไอโซโทปรังสีที่ใช้จะเป็นชนิดที่ปลดปล่อยโพซิตรอนออกมา เช่น ออกซิเจน-15 ไนโตรเจน-13 และคาร์บอน-11 โพซิตรอนที่ปล่อยออกมานี้จะเข้าทำปฏิกิริยาประลัย (annihilation) เกือบจะทันทีทันใดกับอิเล็กตรอนที่โคจรอยู่รอบนิวเคลียสในอะตอมของสาร ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นสารเภสัชรังสีนั้น และมีรังสีแกมมาพลังงาน 511 กิโลอิเล็กตรอนโวลต์ ปลดปล่อยออกมาพร้อมกันในสองทิศทางตรงกันข้าม สามารถตรวจวัดได้ด้วยหัววัดรังสีที่อยู่ตรงข้ามกัน จากหัววัดหลายๆ หัวที่ล้อมรอบคนไข้ ทำให้ทราบตำแหน่งที่ผิดปกติในร่างกายได้ โดยการแปลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ เนื่องจากส่วนใหญ่ของไอโซโทปรังสีที่ใช้กับเทคนิคนี้ เป็นไอโซโทปของธาตุที่เป็นส่วนประกอบของอินทรีย์วัตถุ จึงทำให้ PET มีประโยชน์ในการศึกษากระบวนการทางสรีรวิทยาและชีวเคมีที่ผิดปกติด้วย ในทางปฏิบัติ PET จำเป็นต้องใช้ไอโซโทปรังสีที่ผลิตขึ้นจากการระดมยิงที่เป้า ด้วยโปรตรอนพลังงานสูงภายในเครื่องไซโคลตรอน การศึกษาโดยใช้ PET จะมุ่งเน้นไปยังระบบประสาทส่วนกลางเป็นหลัก ด้วยการวัดตัวแปรเสริมอื่นๆ ประกอบ เช่น การไหลเวียนของเลือด กระบวนการสร้างและสลายน้ำตาลกลูโคส และการเผาผลาญออกซิเจน จึงมีความเป็นไปได้ที่จะหาสมุฏฐานของโรคลมบ้าหมู หรือหาขนาดที่แน่นอนของบริเวณที่พิการในสมองได้ ในการศึกษาที่เกี่ยวกับหัวใจและหน้าที่ของหัวใจ การตรวจโดยใช้ PET จะเป็นวิธีที่เฉพาะเจาะจง และให้ผลดีกว่าการตรวจสอบโดยวิธีอื่นๆ [พลังงาน] |
Catabolism | ขบวนการทำลาย, การแยกสลาย, กระบวนการสลายตัว, ขบวนการทำลาย, กระบวนการสลาย, การสลายตัว, การเผาผลาญ, การย่อย, ระบบคาตาบอลิสัม, ขบวนการสลายตัว, การทำลาย, การสลาย, การเผาผลาญ, กระบวนการสลาย [การแพทย์] |
Metabolic Acidosis | กรดจากการเผาผลาญ [การแพทย์] |
Metabolic Activities | ขบวนการย่อย, การเผาผลาญและการครองธาตุ [การแพทย์] |
Metabolic Controls | การควบคุมการเผาผลาญ [การแพทย์] |
Metabolic Disturbances | การรบกวนต่อการเผาผลาญ [การแพทย์] |
Metabolic Process | กระบวนการเผาผลาญ, กระบวนการเมตตะโบลิสซั่ม [การแพทย์] |
Metabolism | เมตะโบลิซึม, เมตาบอลิสม์, การเผาผลาญ, เมตาบอลิสม, สังเคราะห์, เมตาบอลิสซึม, เมตาบอลิสัม, การเผาผลาญอาหาร, เมตาโบลิสม, การสร้างและสังเคราะห์ภายในเซลล์การครองธาตุ, เมทาบอลิสม, ขบวนการเมตะบอลิสม์, เมตาโบลิซั่ม, เมตาโบลิสม์, การเปลี่ยนแปลงในร่างกาย, เมตาบอลิสม, เมตะบอลิสม, การเผาผลาญอาหาร, การสันดาป [การแพทย์] |
Metabolism, Anaerobic | การเผาผลาญที่ไม่ต้องใช้อากาศ, การเผาผลาญแบบไม่ใช้ออกซิเจน, เมตะบอลิสมที่ไม่ใช้ออกซิเจน, แอนแอโรบิคเมตาบอลิซั่ม, เมตาบอลิซึมที่ไม่ใช้ออกซิเจน, เมตาบอลิสมที่ไม่อาศัยออกซิเจน, เมตาบอลิสมแบบไม่ใช้ออกซิเจน [การแพทย์] |
abbau | (แอบ'โบ) ผลิตผลของการเผาผลาญ |
adrenal gland | ต่อมหมวกไต มีส่วนประกอบ 2 ส่วน 1. ส่วนเปลือก (adrenal cortex) ทำหน้าที่สร้างฮอร์โมน 1.1 กลูโคคอร์ติคอยด์ แยกย่อยได้แก่ cortisone , hydrocortisone ซึ่งทำหน้าที่ในการเผาผลาญคาร์โบไฮเดรต ไขมัน และโปรตีน ทำให้จำนวนกลูโคสในเลือดเพิ่มขึ้น และไกลโคเจนจะถูกสะสมในตับมากขึ้น ดังนั้นจะเห็นว่าฮอร์โมนนี้จะทำหน้าที่ตรงข้ามกับ insulin ในขณะที่ร่างกายเครียดจะหลั่ง ACTH และ cortisoneออกมาโดยผ่านทาง higher center ของระบบประสาทส่วนกลาง เราจึงมักพบ cortisone ในสภาวะที่ร่างกายได้รับความเจ็บปวด ถูกของร้อน มีคม ไข้สูง ฯลฯ 1.2 ไมเนอราลคอร์ติคอยด์ แยกย่อยได่แก่ aldosterone deoxycorticosterone ซึ่งมีจำนวนน้อย ทั้งสองฮอร์โมนทำหน้าที่ควบคุมน้ำและเกลือแร่ 1.3 sex hormone แยกย่อยได้เป็น Estrogen Progesterone Androgen 2. ส่วนแกน (adrenal medulla) ทำหน้าที่ผลิตฮอร์โมนสำคัญคือ 2.1 adrenaline หรือ epinephrine ทำให้หัวใจเต้นแรง ความดันเลือดเพิ่มขึ้น เส้นเลือดที่ผิวหนังและอวัยวะภายในบีบตัว อัตราการหายใจเพิ่มขึ้น เร่งการสลาย glycogen ในตับเพื่อเปลี่ยนเป็น glucose ทำให้นเตาลในเลือดสูงขึ้น 2.2 noradrenaline ไม่มีผลต่อการเผาผลายอาหารในร่างกาย แต่มีผลทำให้เลือดหดตัว หัวใจเต้นช้าลง ความดันเลือดสุงขึ้น ขยายหลอดลม แต่ไม่มีผลต่อระดับ้ำตาลในเลือด |
consumption | (คันซัมพฺ'เชิน) n. การบริโภค, การเผาผลาญ, การใช้สินค้าหรือการบริการที่มีค่าทางเศรษฐศาสตร์ที่แลกเปลี่ยนได้, วัณโรค, โรคที่ทำให้ร่างกายเสื่อมโทรม, Syn. consuming, utilization |
growth hormone | เป็นฮอร์โมนที่ช่วยในการเจริญเติบโต และเกี่ยวข้องกับขบวนการเผาผลาญอาหารในร่างกาย |
hyperthyrodism | เกิดจาก thyroxin ถูกขัยออกมามากกว่าปกติ ทำให้อัตราการเผาผลาญอาหารมากทำให้เกิดโรค 2 อย่างคือ 1. exophthalamic goiter เป็นลักษณะคอหอยพอก ใจสั่นเหงื่อออกมาก ชีพจรเต้นเร็ว ตกใจง่าย นอนไม่หลับ อ่อนเพลีย ตาโปนและถลน 2. adenomatous goiter with hyperthyroidism เป็นอาการที่เกิดขึ้นหลังจากต่อมธัยรอยด์โตแล้ว ทำให้เกิดอาการเหมือนชนิดแรก แต่ไม่ใคร่โปนมากนัก |
hypothyrodism | เกิดจาก thyroxin ถูกขัยออกมาน้อยกว่าปกติ ทำให้อัตราการเผาผลาญอาหารน้อยลง |
metabolism | (มะแทบ'บะลิสซึม) n. การสันดาป, การเผาผลาญ, การเปลี่ยนแปลงของเนื้อเยื่อ |
thyroxin | ควบคุมการเผาผลาญอาหารในร่างกาย ช่วยทำการแลกเปลี่ยนน้ำและเกลือแร่ เปลี่ยนกรดอะมิโนให้เป็นกลูโคส ควบคุม fatty acid cholesterol phospholipid ควบคุมการเจริญเติบโต |