กงเต๊ก | น. การทำบุญให้แก่ผู้ตายตามพิธีของนักบวชนิกายจีนและญวน มีการสวดและเผากระดาษที่ทำเป็นรูปต่าง ๆ มีบ้านเรือน คนใช้ เป็นต้น. |
ชัปนะ | (ชับปะนะ) น. การพูดพึมพำ, การสวดมนต์พึมพำ. |
ตุ๊ย | น. เรียกตัวตลกที่ออกมาขัดจังหวะในการสวดคฤหัสถ์ว่า ตัวตุ๊ย. |
นักสวด | น. ผู้ชำนาญในการสวด. |
ภาณ, ภาณ- | (พานะ-) น. การบอก, การกล่าว, การสวด. |
สงฆ์ | ภิกษุตั้งแต่ ๔ รูปขึ้นไปร่วมกันทำสังฆกรรม แต่จำนวนภิกษุที่เข้าร่วมสังฆกรรมแต่ละอย่างไม่เท่ากัน คือในสังฆกรรมทั่ว ๆ ไป เช่น ในการสวดพิธีธรรม สวดอภิธัมมัตถสังคหะ ประกอบด้วยภิกษุ ๔ รูป เรียกว่า สงฆ์จตุรวรรค ในการรับกฐิน สวดพระปาติโมกข์ ปวารณากรรม และอุปสมบทในถิ่นที่ขาดแคลนภิกษุ ต้องประกอบด้วยภิกษุ ๕ รูป เรียกว่า สงฆ์ปัญจวรรค ในการอุปสมบทในถิ่นที่มีภิกษุมาก ต้องประกอบด้วยภิกษุ ๑๐ รูป เรียกว่า สงฆ์ทสวรรค และในการสวดอัพภานระงับอาบัติสังฆาทิเสส ต้องประกอบด้วยภิกษุ ๒๐ รูป เรียกว่า สงฆ์วีสติวรรค, ภิกษุที่เข้าร่วมสังฆกรรมดังกล่าว ถ้ามากกว่าจำนวนที่กำหนดจึงจะใช้ได้ ถ้าขาดจำนวนใช้ไม่ได้. |
สังคายนา, สังคายนาย | (-คายะ-, -คายยะ-) น. การซักซ้อม, การสวดพร้อมกันและเป็นแบบเดียวกัน, การประชุมชำระพระไตรปิฎกให้เป็นแบบเดียวกัน. |
สังคีติ | น. สังคายนา, การสวดพร้อมกันและเป็นแบบเดียวกัน, การประชุมชำระพระไตรปิฎกให้เป็นแบบเดียวกัน. |
สังฆกรรม | น. กิจที่พระสงฆ์ตั้งแต่ ๔ รูปขึ้นไปรวมกันทำภายในสีมา เช่น การทำอุโบสถ การสวดพระปาติโมกข์. |
สาธยาย | (สาทะยาย, สาดทะยาย) น. การท่อง, การสวด, การทบทวน, เช่น สาธยายมนต์, (ปาก) การชี้แจงแสดงเรื่อง เช่น สาธยายอยู่นั่นแหละ ไม่รู้จักจบเสียที. |
อัพภาน | (อับพาน) น. การชักกลับมา, ในวินัยหมายถึง การรับภิกษุผู้ต้องอาบัติสังฆาทิเสส และได้ถูกทำโทษคือ อยู่ปริวาสแล้วให้กลับคืนเป็นผู้บริสุทธิ์, การสวดประกาศเรื่องนี้ เรียกว่า สวดอัพภาน. |
อาขยาน | การสวด |
โอ้เอ้ | น. เรียกการสวดกาพย์ลำนำเป็นทำนองอย่างที่นักเรียนสวดตามศาลารายวัดพระศรีรัตนศาสดารามในวันเข้าพรรษา วันกลางพรรษา และวันออกพรรษา ว่า สวดโอ้เอ้วิหารราย. |
chant | (ชานทฺ) n. เพลง, การร้องเพลง, การท่อง, การสวดมนต์, ท่วงทำนองการร้องเพลง -vt.ร้องเพลง, ร้องสวดมนต์, สรรเสริญ, ชม, See also: chantingly adv. |
grace | (เกรส) n. ความงดงาม, ความนิ่มนวล, ความกลมกล่อม, ความสุภาพ, ความสง่า, ความเมตตา, ความกรุณา, คุณธรรม, การสวดมนต์สั้น ๆ ก่อนรับประทานอาหาร, Syn. elegance, beauty |
kiddush | (คีดูช') n. การอวยพรหรือการสวดมนต์โดยถือถ้วยเหล้าองุ่นหรือขนมปังในพิธีSabbathหรือพิธีเฉลิมฉลองอย่างอื่น |
matin | (แมท'ทัน, แมท'ทิน) n. การสวดมนต์ |
mummer | (มัม'เมอะ) n. ผู้สวมหน้ากากหรือเครื่องแต่งกายแปลก ๆ , นักแสดง, ผู้แสดงละครใบ้โบราณที่คล้ายการสวดคฤหัสถ์, Syn. pantomimist |
prayer | (แพร) n. การสวดมนต์, การอธิษฐาน, คำสวดมนต์, คำอธิษฐาน, การขอร้อง, การภาวนา, สิ่งที่อ้อนวอน, สิ่งที่ขอ, ผู้สวดมนต์, ผู้อธิษฐาน, ผู้วิงวอน |
suffrage | (ซัฟ'ฟริจฺ) n. สิทธิในการออกเสียง, คะแนนเสียง, การสวดมนต์, การอธิษฐาน |
vesper | (เวส'เพอะ) n. ดาวพระศุกร์, ดาวประจำเมืองในตอนเย็น, ระฆังสายัณห์, ยามสายัณห์. adj. เกี่ยวกับพิธีศาสนายามสายัณห์, See also: vespers n. พิธีศาสนาตอนบ่ายมาก ๆ หรือยามสายัณห์, เพลงสายัณห์, บทเรียนหรือการสวดมนต์ยามสายัณห์ |
chant | (n) การร้องเพลงในศาสนา, การสวดมนต์ |
church | (n) โบสถ์, ศาสนจักร, การสวดมนต์, การฟังเทศน์, การบวชเรียน |
litany | (n) การสวดมนตร์, การอธิษฐาน, เพลงสวด |
liturgy | (n) การสวดมนตร์, พิธีสวดมนตร์, พิธีสักการะบูชา |
prayer | (n) การสวดมนตร์, คำอ้อนวอน, การภาวนา, การอธิษฐาน |
recitation | (n) การอ่านออกเสียง, การสวด, การท่องอาขยาน, การบรรยาย |
rosary | (n) สายลูกประคำ, การภาวนา, การอธิษฐาน, การสวดมนตร์ |
thanksgiving | (n) การขอบใจ, การสวดมนตร์ขอบคุณพระเจ้า |
vesper | (n) การสวดมนตร์เย็น, การทำวัตรเย็น |
worship | (n) การสักการะ, การบวงสรวง, การบูชา, การสวดมนตร์, การนับถือ |