จุลอุปรากร | น. ละครประเภทหนึ่ง มีดนตรีเป็นส่วนประกอบสำคัญ ดำเนินเรื่องด้วยการร้องเพลงผสมวงดุริยางค์คล้ายอุปรากรแต่มีบทสนทนา เนื้อเรื่องมีความร่าเริงขบขัน และมักจบลงด้วยความสุข. |
มหาอุปรากร, อุปรากร | น. ละครประเภทหนึ่ง มีดนตรีเป็นส่วนประกอบสำคัญ ดำเนินเรื่องด้วยการร้องเพลงผสมวงดุริยางค์คล้ายอุปรากร ตัวละครทุกตัวจะร้องแทนพูด เนื้อเรื่องมีความจริงจังหนักหน่วง ถือเป็นละครชั้นสูงของชาวตะวันตก. |
ละครสังคีต | น. ละครแบบหนึ่ง ได้รับอิทธิพลจากละครแบบยุโรป ตัวละครร้องและพูดบทของตน การร้องเพลงและการพูดมีความสำคัญเท่ากัน ถ้าตัดส่วนใดออกเนื้อเรื่องจะขาดไป ดนตรีประกอบไพเราะ มีการจัดฉากและแต่งกายตามสมัยที่ปรากฏในเรื่อง เช่น เรื่องวิวาหพระสมุท มิกาโด วั่งตี. |
เสียงตก | น. ความสามารถในการร้องเพลงต่ำกว่าระดับเดิม เพราะร้องมากไปหรืออายุมากขึ้นเป็นต้น เช่น นักร้องคนนี้เคยเสียงดี แต่เวลานี้เสียงตกไปมาก เพราะอายุมากขึ้น |
หลุด | ลืมบท ไม่สามารถเล่นต่อไปได้ (ใช้ในการร้องเพลงและเล่นละคร) เช่น เขาลืมท่องบท เลยหลุดบท |
หางเครื่อง | กลุ่มบุคคลที่ออกมาเต้นประกอบจังหวะในการร้องเพลงประเภทลูกทุ่ง. |
อุปรากร | (อุปะรากอน, อุบปะรากอน) น. ละครเพลงประเภทหนึ่ง ดำเนินเรื่องด้วยการร้องเพลงผสมผสานการบรรเลงจากวงดุริยางค์. |
chant | (ชานทฺ) n. เพลง, การร้องเพลง, การท่อง, การสวดมนต์, ท่วงทำนองการร้องเพลง -vt.ร้องเพลง, ร้องสวดมนต์, สรรเสริญ, ชม, See also: chantingly adv. |
chorus | (คอ'รัส) { chorused, chorusing, choruses } n. คณะนักร้อง, ลูกคู่, การร้องเพลงพร้อม ๆ กัน, เสียงเพลงที่ร้องพร้อมกัน, เสียงที่ออกมาพร้อมกันหลายคน, ความพร้อมเพรียง vt., vi. ร้องพร้อมกัน, ท่องพร้อมกัน, พูดพร้อมกัน pl. choruses |
croon | (ครูน) { crooned, crooning, croons } vt., vi. ร้องเพลงเบา ๆ , ร้องเพลงกับตัวเอง n. การร้องเพลงเบา ๆ กับตัวเอง |
laud | (ลอด) { lauded, lauding, lauds } vt. สรรเสริญ, ชมเชย, สดุดี, ยกย่อง. n., See also: lauds n. ชั่วโมงแห่งการร้องเพลงสรรเสริญภาวนาในตอนเช้า ศาสนาโรมันคาทอลิก lauder n. ดูlaud laudator n. ดูlaud, Syn. praise |
lilt | (ลิลทฺ) n. จังหวะเพลงที่ได้จังหวะ, การร้องเพลงเป็นจังหวะ. vt., vi. ร้องเพลงเป็นจังหวะ, ร้องอย่างร่าเริง, กระโดดโลดเต้นอย่างรวดเร็ว |