กระสอบทราย | น. ถุงผ้าใบหรือหนัง ลักษณะคล้ายหมอนข้างขนาดใหญ่ เดิมบรรจุทราย ปัจจุบันบรรจุขี้เลื่อย เศษผ้า หรือฟองน้ำ อัดแน่น เป็นอุปกรณ์อย่างหนึ่งในการฝึกซ้อมของนักมวยเพื่อฝึกการชก เตะ ขึ้นเข่า เป็นต้น, โดยปริยายเรียกผู้ที่ถูกทำร้ายร่างกายอย่างบอบช้ำ เนื่องจากถูกชก เตะ ต่อย โดยไม่มีทางสู้หรือไม่กล้าต่อสู้. |
กำลังภายใน | น. กำลังที่เร้นอยู่ภายใน, กำลังที่เกิดจากการฝึกจิต โดยเฉพาะในลัทธิเต๋าและพระพุทธศาสนาบางนิกาย เพื่อให้จิตใจกล้าแข็งจนสามารถทำสิ่งที่คนทั่วไปทำไม่ได้. |
ทนม | (ทะนม) น. การข่มใจ, การทรมาน, การฝึกสอนตน. |
ทมนะ | (ทะมะนะ) น. การทรมาน, การข่ม, การฝึกสอนตน, การปราบ. |
ทมะ | (ทะ–) น. การข่มใจ, การทรมาน, การฝึกตน. |
ธนูศิลป์ | น. ศิลปะในการยิงธนู, ฝีมือยิงธนู, การฝึกหัดยิงธนู. |
เนตรนารี | น. เด็กหญิงที่ได้รับการฝึกให้เป็นผู้นำในทางความประพฤติ, สมาชิกแห่งองค์การที่มีวัตถุประสงค์ในการฝึกหัดอบรมบ่มนิสัยเด็กหญิงให้เป็นพลเมืองดีตามจารีตประเพณี มีอุดมคติ และความรับผิดชอบตัวเองและต่อผู้อื่นเป็นต้น. |
พลร่ม | (พน-) น. หน่วยทหารหรือตำรวจที่ได้รับการฝึกให้กระโดดร่มชูชีพจากเครื่องบินหรือเฮลิคอปเตอร์. |
เรียน ๑ | ก. เข้ารับความรู้จากผู้สอน, รับการฝึกฝนอบรมเพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจหรือความชำนาญ, เช่น เรียนหนังสือ เรียนวิชาความรู้, ฝึกให้เกิดความรู้ความเข้าใจจนเป็นหรือมีความชำนาญ เช่น เขาเรียนแก้พัดลมด้วยตนเอง |
เรื้อ | ก. ขาดการฝึกฝนเสียนาน เช่น ไม่ได้พูดภาษาฝรั่งเศสมานานเลยเรื้อไป, ห่างไปนาน เช่น เรื้อเวที เรื้อสังเวียน. |
ลูกเสือ | น. สมาชิกแห่งองค์การที่มีวัตถุประสงค์ในการฝึกหัดอบรมบ่มนิสัยเด็กชายให้เป็นพลเมืองดีตามจารีตประเพณี มีอุดมคติและความรับผิดชอบตัวเองและต่อผู้อื่นเป็นต้น. |
วิปัสสนา | (วิปัดสะนา) น. ความเห็นแจ้ง, การฝึกอบรมปัญญาให้เกิดความเห็นแจ้งในสังขารทั้งหลายว่าเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา. |
สมพล ๑ | แบบวิธีเลขไทยในการฝึกหัดให้คูณคล่อง. |
อสิจรรยาการ | น. การฝึกหัดเพลงดาบ, การฝึกหัดเพลงศัสตรา. |
preservice training; pre-entry training; pre-entry training | การฝึกอบรมก่อนเข้ารับตำแหน่ง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
post-entry training | การฝึกอบรมหลังเข้ารับตำแหน่ง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pleoptics | การฝึกสายตาพิการ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pre-entry training; preservice training; preservice training | การฝึกอบรมก่อนเข้ารับตำแหน่ง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
on-the-job training | การฝึกอบรมในงาน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
off-the-job training | การฝึกอบรมนอกงาน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
fellowship | ฐานภาพผู้รับการฝึกอบรมเฉพาะสาขา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
fellow | ๑. ผู้รับการฝึกอบรมเฉพาะสาขา๒. วุฒิบัณฑิต๓. สิกขบัณฑิต [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
in-service training | การฝึกอบรมในงาน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
internship | การฝึกงาน (เพื่อเตรียมเข้าปฏิบัติหน้าที่) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
trainee | ผู้รับการฝึกอบรม [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
training | การฝึกอบรม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
training, in-service; training, on-the-job | การฝึกอบรมในงาน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
training, off-the-job | การฝึกอบรมนอกงาน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
training, on-the-job; training, in-service | การฝึกอบรมในงาน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
training, post-entry | การฝึกอบรมหลังเข้ารับตำแหน่ง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
training, pre-entry; training, preservice | การฝึกอบรมก่อนเข้ารับตำแหน่ง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
training, preservice; training, pre-entry | การฝึกอบรมก่อนเข้ารับตำแหน่ง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Computer-Based Training | การนำเอาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มาใช้ในการฝึกอบรม [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Agricultural training | การฝึกอบรมด้านเกษตร [เศรษฐศาสตร์] |
Farm training | การฝึกอบรมงานไร่นา [เศรษฐศาสตร์] |
Muscle strength training | การฝึกกำลังกล้ามเนื้อ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Training | การฝึกอบรม [การจัดการความรู้] |
Speech Viewer | โปรแกรมฝึกพูด, โปรแกรมที่ใช้ในการฝึกพูดแก่ผู้ที่ไม่ได้ยินเสียงพูดของตนเอง โดยโปรแกรมจะฝึกผู้พูดให้ออกเสียงแต่ละเสียงถูกต้องโดยการให้ "มองเห็น" สิ่งที่กำลังพูด การฝึกประกอบด้วย เรื่อง ความดัง ระดับเสียงสูง ต่ำ เสียงก้อง เสียงไม่ก้อง และการฝึกเสียงตามหน่วยเสียงที่กำหนด ซึ่งอาจจะเริ่มต้นที่ ๑ หน่วยเสียง ไปจนถึง ๔ หน่วยเสียง โปรแกรมนี้เป็นผลิตภัณฑ์ของบริษัทไอบีเอ็ม จำกัด [Assistive Technology] |
Total Communication | การสื่อสารระบบรวม, รูปแบบการสอนนักเรียนที่บกพร่องทางการได้ยิน ที่ไม่ได้เน้นการฝึกฟัง หรือภาษามืออย่างใดอย่างหนึ่งเหมือนในอดีต แต่พยายามจะใช้หลายๆ ระบบรวมกัน [Assistive Technology] |
Animal training | การฝึกสัตว์ [TU Subject Heading] |
Assertiveness training | การฝึกการกล้าแสดงออก [TU Subject Heading] |
Assertiveness training for teenagers | การฝึกการกล้าแสดงออกสำหรับวัยรุ่น [TU Subject Heading] |
Autogenic training | การฝึกจิต [TU Subject Heading] |
Breathing exercises | การฝึกหายใจ [TU Subject Heading] |
Coaching (Athletics) | การฝึกสอนกีฬา [TU Subject Heading] |
Drill and tractics | การฝึกและยุทธวิธี [TU Subject Heading] |
Education--Study and teaching | การฝึกหัดครู [TU Subject Heading] |
Employee training personnel | บุคลากรทางการฝึกอบรมลูกจ้าง [TU Subject Heading] |
Fieldwork | การฝึกภาคปฏิบัติ [TU Subject Heading] |
Flight training | การฝึกบิน [TU Subject Heading] |
Group relation training | การฝึกกลุ่มสัมพันธ์ [TU Subject Heading] |
In-service training | การฝึกอบรมเพื่อพัฒนา [TU Subject Heading] |
Internship programs | โปรแกรมการฝึกงาน [TU Subject Heading] |
Nursing, Practical | การฝึกปฏิบัติทางการพยาบาล [TU Subject Heading] |
Occupational retraining | การฝึกอาชีพซ้ำ [TU Subject Heading] |
Occupational training | การฝึกอาชีพ [TU Subject Heading] |
Occupational training for women | การฝึกอาชีพสำหรับสตรี [TU Subject Heading] |
Physical training | การฝึกพละ [TU Subject Heading] |
Police training | การฝึกอบรมตำรวจ [TU Subject Heading] |
Spiritual exercises | การฝึกจิตวิญญาณ [TU Subject Heading] |
Student teaching | การฝึกสอน [TU Subject Heading] |
Study and teaching (Internship) | การศึกษาและการสอน (การฝึกงาน) [TU Subject Heading] |
Training | การฝึกอบรม [TU Subject Heading] |
Training | การฝึกหัด [TU Subject Heading] |
Training manuals | คู่มือการฝึกอบรม [TU Subject Heading] |
Training needs | ความต้องการในการฝึกอบรม [TU Subject Heading] |
Voice training | การฝึกเสียงพูด [TU Subject Heading] |
Weight training | การฝึกโดยใช้น้ำหนัก [TU Subject Heading] |
Classes of Consuls | เจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุล แบ่งออกเป็นสองประเภท คือ กงสุลอาชีพ (Consules de Carriere) กับกงสุลกิตติมศักดิ์ (Honorary Consuls) กงสุลอาชีพเป็นคนชาติของรัฐผู้ส่ง และจะประจำทำงานเต็มเวลาในที่ทำการทางกงสุล ส่วนกงสุลกิตติมศักดิ์นั้นไม่มีฐานะเป็นกงสุลอาชีพ โดยมากเป็นนักธุรกิจในต่างประเทศ ซึ่งจะประจำทำงานเพียงส่วนหนึ่งของวัน (ไม่ใช่เต็มวัน) ในสถานที่ทำการทางกงสุลของตน และอาจจะเป็นคนชาติของรัฐที่เขาเป็นตัวแทนอยู่ หรือไม่เป็นคนชาติของรัฐนั้นก็ได้ ความแตกต่างอื่นๆ ระหว่างกงสุลอาชีพกับกงสุลกิตติมศักดิ์ มีดังนี้1. กงสุลอาชีพจะได้รับเงินเดือนประจำ แต่กงสุลกิตติมศักดิ์ไม่มีเงินเดือน2. กงสุลอาชีพมีตำแหน่งหน้าที่ถาวร ส่วนกงสุลกิตติมศักดิ์มีตำแหน่งว่าจ้างเพียงชั่วคราว 3. ส่วนมากกงสุลอาชีพจะต้องเป็นผู้ได้รับการฝึกอบรมหรือมีประสบการณ์มาก่อน ส่วนกงสุลกิตติมศักดิ์ไม่ต้องเป็นเช่นนั้น4. กงสุลอาชีพมีสิทธิได้รับความคุ้มกัน (immunities) และการยกเว้นต่าง ๆ มากกว่ากงสุลกิตติมศักดิ์สำหรับบุคคลที่เป็นหัวหน้าในที่ทำการทางกงสุลนั้น มีตำแหน่งตามลำดับชั้น คือ1) กงสุลใหญ่ (Consuls-general)2) กงสุล (Consuls)3) รองกงสุล (Vice-consuls) [การทูต] |
Cobra Gold | การฝึกร่วม/ผสมคอบร้าโกลด์ เป็นการฝึกทางทหารที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในภูมิภาคเอเซีย ตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งกองทัพไทยและกองกำลังสหรัฐอเมริกาภาคพื้นแปซิฟิก (USPACOM) ร่วมกันเป็น เจ้าภาพจัดการฝึกในประเทศไทยเป็นประจำทุกปี การฝึกคอบร้าโกลด์พัฒนามาจากการฝึกผสมยกพลขึ้นบกระหว่างกองทัพเรือไทยกับกอง ทัพเรือสหรัฐอเมริกาและกองกำลังนาวิกโยธินสหรัฐอเมริกา ซึ่งทำการฝึกร่วมกันมาตั้งแต่ พ.ศ. 2499 ต่อมาใน พ.ศ. 2525 ได้รวมการฝึกหลายอย่างเข้าด้วยกันแล้วกำหนดชื่อรหัสการฝึกขึ้นใหม่ว่า "การฝึกร่วม/ผสมคอบร้าโกลด์" ปัจจุบัน มีประเทศที่ร่วมฝึกรวม ทั้งร่วมสังเกตการณ์หลายประเทศ รวมทั้งได้ขยายการฝึกครอบคลุมการให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม การตอบโต้การก่อการร้ายด้วย [การทูต] |
International Law Enforcement Academy | สถาบันฝึกอบรมระหว่างประเทศว่าด้วยการดำเนินการให้เป็นไปตามกฎหมาย จัดตั้งขึ้นในประเทศไทยเมื่อเดือนกันยายน 2541 เป็นโครงการ 3 ปี (ระหว่าง 2541-2544) โดยสหรัฐอเมริกาให้เงินสนับสนุน 3 ล้านเหรียญสหรัฐ โดยจัดการฝึกอบรมแก่ประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และจีน เพื่อเสริมศักยภาพการดำเนินการตามกฎหมายในการป้องกันปราบปรามอาชญากรรม ระหว่างประเทศ [การทูต] |
The Netherlands Fellowship Progrmmes | แผนงานด้านทุนของเนเธอร์แลนด์ รัฐบาลเนเธอร์แลนด์ได้ให้ความร่วมมือด้านทุนการศึกษา และฝึกอบรมในระดับหลังปริญญาตรีแก่ผู้สนใจในประเทศกำลังพัฒนา โดยมีหลักสูตรต่าง ๆ ดังรายละเอียดใน http://www.nuffic.nl โดยผู้สมัครจะต้องเป็นผุ้ที่สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรีและต้องทำงานไม่ ต่ำกว่า 2 - 3 ปี เพื่อให้มีประสบการณ์ในการทำงานและเพื่อนำสิ่งที่ได้จากการฝึกอบรมมาพัฒนา งานของตน ทั้งนี้เน้นการให้ทุนฝึกอบรมระยะสั้นเพื่อเพิ่มพูนความรู้มากกว่าการศึกษา [การทูต] |
Social Safety Nets | โครงข่ายรองรับทางสังคม หมายถึง มาตรการในการให้ความช่วยเหลือทางสังคมแก่ประชาชนเพื่อบรรเทาภาวะวิกฤตต่าง ๆ อาทิ ปัญหาการว่างงาน ปัญหาความยากจน และการส่งเสริมผู้ด้อยโอกาสทางสังคม เป็นต้น ด้วยการดำเนินนโยบายระยะสั้นในการสร้างงาน การให้การฝึกอบรมวิชาชีพใหม่ และอื่น ๆ อันจะนำไปสู่การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์อย่างต่อเนื่องในระยะยาวและการพัฒนา สังคมอย่างรอบด้านในภาพรวม [การทูต] |
Third Country Training Program | โครงการฝึกอบรมประเทศที่สาม " เป็นรูปแบบการให้ความร่วมมือทางวิชาการระหว่างกรมวิเทศสหการกับองค์การ ระหว่างประเทศและ/หรือรัฐบาลต่างประเทศในการจัด หลักสูตรการศึกษา/ฝึกอบรม/ดูงานให้แก่ผู้รับทุนจากประเทศกำลังพัฒนา โดยองค์การระหว่างประเทศหรือรัฐบาลต่างประเทศเป็น ผู้สนับสนุนค่าใช้จ่ายของผู้รับทุนและค่าใช้จ่ายในการศึกษา/ฝึกอบรม/ ดูงาน " [การทูต] |
The Foreign Office | ในสมัยก่อน เมื่อสังคมนานาชาติมีสมาชิกประเทศอยู่เพียงไม่กี่แห่ง และการเจริญความสัมพันธ์ระหว่างประเทศก็ไม่มีอะไรที่ยุ่งยากซับซ้อน ดังนั้น ประมุขของรัฐหรือหัวหน้าของรัฐบาลจะเป็นผู้บริหารกิจการต่างประเทศด้วยตนเอง แต่มาในปัจจุบันเป็นไปไม่ได้ที่จะกระทำเช่นนี้ ดังนั้นทุกวันนี้ รัฐบาลของประเทศเกือบจะทุกแห่งจะมีสำนักงานในระดับกระทรวงแยกออกต่างหาก เพื่อดำเนินกิจการต่างประเทศโดยเฉพาะสำนักงานนี้จะมีชื่อเรียกแตกต่างกันใน แต่ละประเทศ เช่นเรียกว่า The Ministry of (หรือ for) Foreign Affairs, The Ministry of External Affairs, The Department of State หรือ The Department of Foreign Affairs หรือ Gaimusho เป็นต้น ส่วนหัวหน้าสำนักงานหรือเจ้ากระทรวงนั้น จะเป็นบุคคลในคณะรัฐมนตรี และเรียกชื่อตำแหน่งต่างๆ กัน เช่น The Secretary of Foreign Affairs, The Minister of External Affairs, The Secretary of State หรือ Foreign Minister หรือ Foreign Secretary ตัวรัฐมนตรีนี้จะมีผู้ช่วย ซึ่งบางตำแหน่งเรียกว่า ปลัดกระทรวง (Under-Secretaries), ผู้ช่วยปลัดกระทรวง (Assistant Under-Secretaries) พร้อมด้วยคณะเจ้าหน้าที่หรือข้าราชการที่ได้ผ่านการฝึกอบรมมาแล้วงาน ของกระทรวงการต่างประเทศ โดยทั่วไปมักจะแบ่งออกเป็นสองฝ่าย ฝ่ายแรกเรียกว่าฝ่ายธุรการ (Home Service) ทำหน้าที่บริหารกิจการต่าง ๆ ภายในประเทศ ซึ่งเกี่ยวกันกับกิจการต่างประเทศ รวมทั้งการติดต่อเกี่ยวข้องกับคณะทูตานุทูต และฝ่ายที่สองเรียกว่า Foreign Service เป็นฝ่ายดำเนินงานเกี่ยวกับกิจการต่างประเทศ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศในต่างแดน อันมีสถานทูต สถานกงสุล และสำนักงานอื่น ๆ เป็นตัวแทน ประกอบด้วยข้าราชการฝ่ายการทูตและฝ่ายวิชาการ ซึ่งประจำทำงานในสถานเอกอัครราชทูต สถานกงสุลและสำนักงานระหว่างประเทศอื่น ๆ แต่ประเทศไทยเรายังมิได้แบ่งออกเป็นสองฝ่ายดังกล่าวตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงการต่างประเทศเป็นตัวกลาง ทำหน้าที่ติดต่อระหว่างประเทศ ส่วนหัวหน้าคณะทูตภายในนครหลวงของแต่ละประเทศจะทำการติดต่อใด ๆ ทั้งหมดกับกระทวงการต่างประเทศของรัฐผู้รับงานภายในกระทรวงการต่างประเทศ โดยทั่วไปจะแบ่งออกเป็นกรม กอง โดยถือตามเขตภูมิศาสตร์ต่าง ๆ เช่น กรมหรือกองการเอเชีย กรมการแอฟริกา กรมการอเมริกัน กรมการยุโรป และอื่น ๆ เป็นต้น นอกจากนั้น ยังมีกรมกองอื่น ๆ ที่ทำหน้าที่ด้านธุรการ และด้านการสื่อสารติดต่อ การประชุม การประสานงานความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ การคลัง การบริการในต่างประเทศ การสารนิเทศ การกฎหมาย การห้องสมุด การหนังสือเดินทาง การบุคลากร การพิธีการทูต การวิจัย การสนธิสัญญา การตรวจลงตรา (Visa) และการสหประชาชาติในปัจจุบันในหลาย ๆ ประเทศ ผู้ที่สมัครขอรับราชการในกระทรวงการต่างประเทศจะต้องมีคุณวุฒิตามที่กระทรวง กำหนด เช่น จะต้องผ่านการสอบไล่ ทั้งในภาคปากเปล่า และข้อเขียน ตลอดจนจะต้องปรากฏตัวต่อหน้าคณะกรรมการสอบไล่ (Board) ซึ่งจะเป็นฝ่ายให้คะแนนบุคลิกและคุณภาพส่วนตัว แล้วนำคะแนนไปบวกกับคะแนนสอบข้อเขียน ในบางแห่งต้องการให้ผู้สมัครสอบเข้ารับการฝึกอบรม และให้อยู่ในระหว่างการทดลองดูความประพฤติ (Probationary period) อีกด้วย [การทูต] |
United Nations University | มหาวิทยาลัยสหประชาชาติ จัดตั้งขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1973 ตั้งอยู่ในกรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น เป็นสถาบันอิสระที่บริหารปกครองตนเองภายในโครงร่างของสหประชาชาติ เรียกได้ว่าเป็นสถาบันการศึกษาที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อส่งเสริมความร่วมมือ ระหว่างประเทศในเชิงวิชาการ ในอันที่จะมีส่วนช่วยเหลือเกื้อกูลต่อการแก้ปัญหาเร่งด่วนต่าง ๆ ของโลก มหาวิทยาลัยนี้มีลักษณะไม่เหมือนกับมหาวิทยาลัยอื่นทั่ว ๆ ไป ทั้งในด้านโครางสร้างและแบบอย่างการดำเนินงาน กล่าวคือ ไม่มีนิสิตนักศึกษาของตนเอง ไม่มีคณะในมหาวิทยาลัย และไม่มีบริเวณมหาวิทยาลัย (campus) ดำเนินงานภายในเครือข่ายของสถาบันวิจัยและวิชาการต่าง ๆ ทั่วโลก รวมทั้งศูนย์ฝึกและศูนย์วิจัยของตนเอง ทั้งยังรวมไปถึงผู้คงแก่เรียนเป็นรายบุคคลด้วย ทั้งนี้ เพื่อร่วมกันหาทางแก้ปัญหาต่าง ๆ ของโลกเป็นจุดสำคัญเรื่องที่มหาวิทยาลัยสหประชาชาติกำลังกังวลและสนใจอยู่ใน ขณะนี้ คือ เรื่องเกี่ยวกับค่านิยมของมนุษย์ทั่วโลก รวมทั้งความรับผิดชอบทั้งหลายที่มนุษย์ทั่วโลกจะพึงมี เรื่องทิศทางใหม่ ๆ ในภาวะเศรษฐกิจที่กลังปรากฏอยู่ในโลก รวมทั้งเรื่องความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และวิทยาการทางเทคโนโลยีเรื่องพลัง ที่ทำให้เกิดความผันแปรระหว่างพลเมืองของโลก ตลอดจนเรื่องสวัสดิภาพและความเป็นอยู่ของมนุษย์ มหาวิทยาลัยแห่งนี้ ยังมุ่งหมายที่จะช่วยเพิ่มพูนศักยภาพในการวิจัย และการฝึกในประเทศที่กำลังพัฒนาทั้งหลายด้วย และภายในมหาวิทยาลัยเองก็กำลังสนใจด้านวิจัยและการฝึกฝนในบางเรื่องโดยเฉพาะ [การทูต] |
United Nations Institute for Training and Research | สถาบันเพื่อการฝึกอบรมและการวิจัยแห่งสหประชาชาติ [การทูต] |
Activities of Daily Living | กิจกรรมชีวิตประจำวัน, การดูแลตัวเอง, งานกิจวัตรประจำวัน, การฝึกให้ช่วยตัวเองในชีวิตประจำวัน, กิจวัตรประจำวัน [การแพทย์] |
Ambulation | การฝึกเคลื่อนที่ไปมา, ลุกจากเตียง, การให้ลุกจากเตียง [การแพทย์] |
Autogenic Training | การฝึกจิตตนเอง, การฝึกตนเอง [การแพทย์] |
Bladder and Bowel Program | การฝึกถ่ายปัสสาวะและอุจจาระ [การแพทย์] |
Bowel Training | การฝึกการทำงานของลำไส้ [การแพทย์] |
ให้การฝึกอบรม | [hai kān feukoprom] (v, exp) EN: train |
การฝึก | [kān feuk] (n) EN: practice FR: pratique [ f ] ; exercice [ m ] ; entraînement [ m ] |
การฝึกเฉพาะ | [kān feuk chaphǿ] (n, exp) EN: special training |
การฝึกฝน | [kān feukfon] (n) EN: training ; drill |
การฝึกงาน | [kān feukngān] (n) EN: job training ; apprenticing ; skill development ; practical training FR: apprentissage [ m ] ; stage [ m ] ; formation [ f ] |
การฝึกงานภาคสนาม | [kān feukngān phāksanām] (n, exp) EN: field practice |
การฝึกอบรม | [kān feukoprom] (n) EN: training |
การฝึกพิเศษ | [kān feuk phisēt] (n, exp) EN: special training |
การฝึกประสบการณ์วิชาชีพ | [kān feuk prasopkān wichāchīp] (n, exp) EN: field expérience FR: expérience de terrain [ f ] |
การฝึกประสบการณ์วิชาชีพกฎหมาย | [kān feuk prasopkān wichāchīp kotmāi] (n, exp) EN: field experience in law |
การฝึกซ้อม | [kān feuksøm] (n, exp) EN: training ; drill ; practice ; exercise FR: entraînement [ m ] |
การฝึกสอน | [kān feuksøn] (n) EN: practice of teaching |
การฝึกซ้อมร่างกาย | [kān feuksøm rāngkāi] (n, exp) EN: physical training |
การให้การฝึกอบรม | [kān hai kān feukoprom] (v, exp) EN: training |
โปรแกรมการฝึก | [prōkraēm kān feuk] (n, exp) EN: training program = training programme (Am.) FR: programme d'entraînement [ m ] |
รายการฝึก | [rāikān feuk] (n, exp) EN: training courses |
apprentice to | (phrv) ฝึกงานเป็น (ปกติใช้ passive voice), See also: ฝึกเป็น, ได้รับการฝึกงานเกี่ยวกับ |
basic training | (n) การฝึกทางทหารขั้นพื้นฐาน (เมื่อแรกเข้าประจำการในกองทัพบก), Syn. basic |
buildup | (n) การเตรียมการ, See also: การฝึกฝน |
cadre | (n) กลุ่มคนที่ได้รับการฝึกเพื่อจุดประสงค์เฉพาะอย่าง |
coaching | (n) การฝึกสอน, Syn. tutoring, training, education |
deselect | (vt) ยุติการฝึกงานก่อนกำหนด, See also: คัดออก |
discipline | (n) การฝึกฝน, Syn. self-control, moderation, Ant. immoderation |
drill | (n) การฝึกฝน, See also: การฝึกหัด, Syn. practice, rehearsal |
experienced | (adj) ซึ่งได้รับการฝึกฝน, See also: ซึ่งมีประสบการณ์, ชำนาญ, ช่ำชอง, เชี่ยวชาญ, ชำนิชำนาญ, โชกโชน, ซึ่งจัดเจน, Syn. skillful |
gymnastics | (n) การฝึกกายกรรม, See also: การบริหารร่างกาย, Syn. exercises |
out of practice | (idm) แสดงไม่ดีเพราะขาดการฝึกฝน, See also: ไม่ได้ฝึกฝน, ไม่ได้ซ้อม |
journeyman | (n) ช่างที่ได้รับการฝึกฝนมาอย่างดี |
manege | (n) ศิลปะการฝึกม้า |
metronome | (n) เครื่องมือทำจังหวะเพื่อใช้ในการฝึกดนตรี, See also: เครื่องเคาะจังหวะ |
practice | (n) การฝึกซ้อม, See also: การฝึกฝน, การฝึกหัด, Syn. drill, exercise, rehearsal |
practise | (n) การฝึกซ้อม, See also: การฝึกฝน, การฝึกหัด, Syn. drill, exercise, rehearsal |
raw | (adj) ไม่มีประสบการณ์, See also: ยังไม่ได้รับการฝึกฝน, อ่อนหัด, Syn. inexperienced, immature, unskilled, Ant. experienced |
rehearsal | (n) การฝึกซ้อม, Syn. practice, exercise, drill |
rusty | (adj) ขาดการฝึกฝน, Syn. stale, unpractised, unskillful |
school | (n) การสอน, See also: การอบรม, การฝึกหัด, การศึกษา |
thoroughpaced | (adj) ซึ่งได้รับการฝึกในทุกรูปแบบ |
trainee | (n) ผู้ได้รับการฝึกหัด, See also: ผู้ฝึกงาน |
training | (n) การฝึก, See also: การอบรม |
training | (adj) เกี่ยวกับการฝึก |
unbred | (adj) ซึ่งไม่ได้รับการฝึกสอน, See also: ไม่ได้รับการอบรม, ไม่ได้รับการฝึกฝน, Syn. untaught |
undisciplined | (adj) ซึ่งไม่มีระเบียบวินัย, See also: ซึ่งไม่อยู่ในความควบคุม, ซึ่งไม่ได้รับการฝึกฝนไว้, Syn. untrained, uncorrect, uncontrolled, Ant. disciplined |
uneducated | (adj) ซึ่งไร้การศึกษา, See also: ซึ่งไม่มีการศึกษา, ซึ่งไม่ได้รับการฝึกฝน, ซึ่งไม่ได้รับการศึกษา, Syn. unschooled, untaught, uncultivated, Ant. educated, cultivated |
water wings | (n) ถุงลมลอยน้ำรูปปีกคู่ ใช้ในการฝึกว่ายน้ำ |
whip | (n) แส้, See also: เครื่องมือสำหรับเฆี่ยน, การโบย, การลงแส้, การฝึกอย่างเข้มงวด |
workout | (n) การฝึกฝนร่างกาย, See also: การฝึกซ้อม, Syn. drill, training |
apprentice | (อะเพรน'ทิส) n. ผู้ฝึกงาน, เด็กฝึกงาน, ผู้เรียนรู้, ผู้กำลังได้รับการฝึกอย่างพิเศษ. -vt. ทำให้เป็นผู้ฝึกงาน. -apprenticeship n. |
commando | (คะมาน'โด) n. หน่วยจู่โจมที่ได้รับการฝึกเป็นพิเศษ, หน่วยคอมมานโด, สมาชิกของหน่วยดังกล่าวนี้ -pl. commandos, commandoes |
discipline | (ดิส'ซะพลิน) n. วินัย, ระเบียบวินัย, การฝึกฝน, การลงโทษ, สาขาวิชา, ศิลปปฎิบัติ, วินัยทางศาสนา vt. ฝึกฝน, ทำให้มีวินัย, ลงโทษ, แก้ไข., See also: discipliner n., Syn. order |
dressage | (เดรส'ซิจฺ) n. ศิลปะหรือวิธีการฝึกม้า |
drilling | (ดริล'ลิง) n. การเจาะ, ผู้เจาะ, การฝึกฝน, ผู้ฝึกฝน |
education | (เอดจุเค, 'เชิน) n. การศึกษา, การสั่งสอน, การฝึกฝน, คุรุศาสตร์, ศึกษาศาสตร์, See also: educational adj. ดูeducation, Syn. schooling, training |
exercise | (เอค'เซอไซซ) v., n. (การ) ออกกำลังกาย, ฝึกหัด, การฝึกฝน, ปฏิบัติ, ดำเนินการ, เป็นห่วง, ทำให้เป็นห่วง., See also: exercisable adj. exerciser n. |
fencer | n. ผู้ล้อมรั้ว, ผู้ฟันดาบ, นักดาบ, ม้าที่ได้รับการฝึกฝนกระโดดข้ามรั้ว, นักวิ่งกระโดดข้ามเครื่องกีดขวาง, ผู้มีอาชีพซ่อมแซมและสร้างรั้ว |
journeyman | (เจอร์'นีเมิน) n. ผู้ผ่านการฝึกงานแล้ว, ผู้ชำนาญงาน pl. journneymen |
manege | (แมนีซ', -เนซ') n. ศิลปการฝึกและขี่ม้า |
molding | (โมล'ดิง) n. การพิมพ์แบบ, การปั้น, การหล่อ, การฝึกฝน, สิ่งที่หล่อขึ้น, สิ่งที่พิมพ์ขึ้น, คิ้วที่หล่อบนผนังหรือมุมตึก |
moulding | (โมล'ดิง) n. การพิมพ์แบบ, การปั้น, การหล่อ, การฝึกฝน, สิ่งที่หล่อขึ้น, สิ่งที่พิมพ์ขึ้น, คิ้วที่หล่อบนผนังหรือมุมตึก |
page | (เพจ) n. หน้าหนังสือ, ใบ, เด็กรับใช้ที่เป็นผู้ชาย, คนหนุ่มที่ได้รับการฝึกให้เป็นอัศวิน, มหาดเล็กของราชสำนัก vt. เรียกชื่อซ้ำแล้วซ้ำเล่าเพื่อให้มา, ระบุหน้า. vi. เป็นเด็กรับใช้เป็น, พลิกหน้า คนรับใช้, See also: pagehood n. pageship n. |
raw | (รอ) adj. ดิบ, ยังไม่ได้เสริมแต่ง, หยาบ, ไร้ประสบการณ์, ยังไม่ได้รับการฝึกฝน, ยังไม่คุ้น, (หนัง) ยังไม่ได้ฟอก, (แผล) สด, หนาวเหน็บ, เย็นแสบ, ยังไม่ได้ผสมให้เจือจาง, (ชายผ้า) ยังไม่ได้เย็บ, โหด, หยาบคาย, ต่ำช้า, ทารุณ, ไม่ยุติธรรม n. แผลถลอก, , See also: rawly adv. |
residency | (เรส'ซิเดินซี) n. ที่อยู่อาศัย, ถิ่นที่อยู่, ฐานะหรือช่วยระยะการฝึกหัดความชำนาญสาขาใดสาขาหนึ่งของแพทย์ในโรงพยาบาล, จวน, ทำเนียบ, Syn. residence |
seawise | (ซี'ไวซ) adj. ผ่านการฝึกฝนทางทะเล |
soldiery | (โซล'จะรี) n. เหล่าทหาร, หมู่ทหาร, กองทหาร, การฝึกฝนทางทหาร, อาชีพทางทหาร, ความเชี่ยวชาญทางทหาร, Syn. soldiers |
thoroughpaced | (เธอ'โรเพสทฺ) adj. ซึ่งได้รับการฝึกในทุกรูปแบบ, ถ้วนทั่ว, โดยตลอด, สม-บูรณ์, เต็มที่, เต็มตัว, Syn. thoroughgoing |
trainee | (เทรนนี') n. ผู้ได้รับการฝึกหัด, ผู้ฝึกงาน |
trainer | (-'เนอะ) ผู้ฝึก, ครูฝึก, อุปกรณ์การฝึก, เครื่องบินฝึก |
training | (เทรน'นิง) n. การฝึก, การฝึกหัด, การฝึกฝน |
unbred | (อันเบรด') adj. ไม่ได้รับการฝึกสอน, ไม่ได้รับการอบรม, ไม่ได้ผสมพันธุ์ |
undisciplined | (อันดิส'ซิพลินดฺ) adj. ไม่มีระเบียบวินัย, ไม่ได้รับการฝึกฝน, มั่ว, เปะปะ, ตามอำเภอใจ |
water wings | n. ถุงลมลอยน้ำเป็นรูปปีกคู่ใช้ช่วยในการฝึกว่ายน้ำ |
lifeguard | [คำอ่าน :: ชีบ-พะ-บาน] (n) lifeguard [ 1 ] - (N) - ชีพบาล คำอ่าน :: ชีบ-พะ-บาน คำหมาย :: ผู้ประกอบวิชาชีพดูแลความปลอดภัยทางน้ำ ให้แก่ผู้ทำกิจกรรมนันทนาการทางน้ำ เช่น สระว่ายน้ำ , สวนน้ำ, ชายหาด, ชายทะเล ที่ผ่านการฝึกอบรมอย่างเข็มข้น ทั้งทักษะการว่ายน้ำ ปฐมพยาบาล การกู้ชีพ กู้ภัยทางน้ำ รวมทั้งการใช้อุปกรณ์หลากหลายที่เกี่ยวข้องการทำงาน บางพื้นที่ในต่างประเทศ ยังต้องทำงานเกี่ยวข้องกับการงานฉุกเฉิน เช่น การกู้ภัยบนภูเขา การนำส่งผู้ประสพภัยฉุกเฉิน จากภัยพิบัติต่างๆ อ้างอิง :: life = ชีวิต, ชีพ guard = ยาม, ผู้ดูแล ในที่นี้ ขอใช้คำว่า บาล ซึ่งหมายถึงผู้ดูแล เช่น รัฐบาล, คชบาล, โคบาล, ทวารบาล, พยาบาล, อภิบาล, อนุบาล lifeguard [ 2 ] - (N) – ทหารรักษาพระองค์ (ทหารมหาดเล็ก) ในกองทัพ สหราชอาณาจักร (ประเทศอังกฤษ), See also: Lifesaving, Lifesaver |
lifesaver | [ชีบ-พะ-รัก-สิก] lifesaver [ 1 ] - (N) - ชีพรักษิก คำอ่าน :: ชีบ-พะ-รัก-สิก คำขยาย :: อิก (สระ อิ + ก ไก่) หมายถึง คน หรือ ผู้(ที่เป็น) เช่น สถาปนิก สมาชิก ศาสนิก ปาราชิก ความหมาย :: อาสาสมัครที่ได้เรียนรู้ และได้รับการฝึกอบรมทักษะการว่ายน้ำ การปฐมพยาบาล การกู้ชีพ กู้ภัยทางน้ำ เบื้องต้น แต่ไมได้เป็นผู้ประกอบวิชาชีพดูแลความปลอดภัยทางน้ำ โดยตรง, See also: Lifesaving, Lifeguard |
lifesaving | [ชีบ-พะ-รัก] (n) Lifesaving [ 1 ] – ชีพรักษ์ คำอ่าน :: ชีบ-พะ-รัก ความหมาย :: วิชาชีพเกี่ยวกับการดูแลความปลอดภัยทางน้ำ ที่มีการการฝึกอบรมอย่างเข็มข้น ทั้งทักษะการว่ายน้ำ ปฐมพยาบาล การกู้ชีพ กู้ภัยทางน้ำ รวมทั้งการใช้อุปกรณ์หลากหลายที่เกี่ยวข้องการทำงาน ให้แก่ผู้ทำกิจกรรมนันทนาการ เช่น สระว่ายน้ำ , สวนน้ำ, ชายหาด, ชายทะเล ที่ผ่าน บางพื้นที่ในต่างประเทศ ยังต้องทำงานเกี่ยวข้องกับการงานฉุกเฉิน เช่น การกู้ภัยบนภูเขา การนำส่งผู้ประสพภัยฉุกเฉิน จากภัยพิบัติต่างๆ |
moulage | (n) แม่พิมพ์ที่ใช้ในการสืบสวนคดี เช่นรอยเท้า หรือใช้ในทางการแพทย์เพื่อใช้ในการฝึกปฏิบัติการ, See also: cast, Syn. mold |