General Arrangements to Borrow | ข้อตกลงทั่วไปว่าด้วยการกู้เงิน [เศรษฐศาสตร์] |
Intermediation | การเป็นตัวกลางในการกู้ยืม [เศรษฐศาสตร์] |
Salvage | การกู้ภัย, การกู้ภัย [เศรษฐศาสตร์] |
Data recovery (Computer science)) | การกู้ข้อมูล [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Commercial loans | การกู้ยืมเพื่อการค้า [TU Subject Heading] |
Data recovery (Computer science) | การกู้ข้อมูล (คอมพิวเตอร์ศาสตร์) [TU Subject Heading] |
Loans | การกู้ยืม [TU Subject Heading] |
Loans, Foreign | การกู้ยืมจากต่างประเทศ [TU Subject Heading] |
Loans, Japanese | การกู้ยืมจากญี่ปุ่น [TU Subject Heading] |
Loans, Thais | การกู้ยืมจากไทย [TU Subject Heading] |
Mortgage loans | การกู้ยืมโดยมีอสังหาริมทรัพย์มาจำนอง [TU Subject Heading] |
Salvage | การกู้ภัยทางทะเล [TU Subject Heading] |
International Development Association | เป็นองค์การให้กู้เงิน ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 24 กันยายน ค.ศ.1960 อยู่ภายใต้การบริหารควบคุมของธนาคารระหว่างประเทศ ทุกประเทศที่เป็นสมาชิกของธนาคารระหว่างประเทศหรือธนาคารโลก ย่อมสามารถสมัครเป็นสมาชิกของสมาคมพัฒนาระหว่างประเทศนี้ได้วัตถุประสงค์ สำคัญของไอดีเอ คือ ให้ประเทศที่ด้อยพัฒนาทำการกู้ยืมเงินเพื่อนำไปพัฒนาประเทศของตน โดยกำหนดเงื่อนไขการกู้ยืมที่ยืดหยุ่นมากกว่าเงื่อนไขของการกู้ยืมทั่ว ๆ ไป ช่วยให้มีผลกระทบต่อดุลแห่งการชำระเงินของประเทศนั้น ๆ ไม่มากนัก ซึ่งเป็นไปตามแนววัตถุประสงค์การให้กู้ยืมของธนาคารโลก อันเท่ากับเสริมการดำเนินงานของธนาคารโลก ที่มีต่อประเทศเหล่านั้นอีกด้วยไอดีเอมีโครงสร้างการดำเนินงานที่คล้ายคลึง กับของธนาคารโลก คณะผู้ว่าการและผู้อำนวยการฝ่ายบริหารทั้งหมดเป็นคนคนเดียวกับที่มีตำแหน่ง หน้าที่อยู่ในธนาคารโลก จึงเท่ากับเข้าไปทำงานมีหน้าที่ในไอดีเอโดยตำแหน่ง (Ex officio) นั่นเอง ไอดีเอมีสำนักงานตั้งอยู่ในกรุงวอชิงตันดีซี [การทูต] |
International Finance Corporation | คือบรรษัทการเงินระหว่างประเทศ ตั้งขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อเดือนกรกฎาคม ค.ศ.1956 และเริ่มมีฐานะเป็นองค์การชำนัญพิเศษที่มีสัมพันธ์กับองค์การสหประชาชาติ เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1957 แม้บรรษัทจะดำเนินงานใกล้ชิดกับธนาคารโลก แต่ก็มีฐานะเป็นสิ่งที่มีตัวตนทางกฎหมายแยกต่างหาก และมีกองทุนที่แตกต่างจากกองทุนของธนาคารโลกด้วยวัตถุประสงค์ของบรรษัทคือ ส่งเสริมการพัฒนาทางเศรษฐกิจ โดยสนับสนุนให้การผลิตของวิสาหกิจของเอกชนในประเทศสมาชิกเจริญเติบโตยิ่ง ขึ้น การที่จะกระทำตามวัตถุประสงค์นี้ได้ บรรษัทจะนำเงินไปลงทุนในวิสาหกิจด้านการผลิตฝ่ายเอกชน โดยดำเนินงานร่วมกับเอกชนผู้ลงทุน ทำหน้าที่เป็นสำนักหักบัญชี (Clearing House) คล้ายกับเป็นแหล่งรวมโอกาสต่าง ๆ ของการลงทุนฝ่ายเอกชนทั้งจากต่างประเทศและในประเทศ รวมทั้งฝ่ายจัดการที่มีประสบการณ์ชำนาญ นอกจากนั้น ยังช่วยกระตุ้นการลงทุนด้านการผลิตของเอกชนทั้งภายในและต่างประเทศด้วย บรรษัทยังได้รับอนุญาตให้ทำการกู้ยืมเงินโดยใช้วิธีขายพันธบัตรของตนเอง รวมทั้งตั๋วสัญญาการใช้เงินบรรษัทการเงินระหว่างประเทศดำเนินงานโดยองค์กร ต่าง ๆ ของตน คืออำนาจทั้งหมดของบรรษัทจะขึ้นอยู่กับคณะผู้ว่าการ (Board of Govemors) ประกอบด้วยผู้ว่าการและผู้ว่าการสำรอง (Altemates) จากธนาคารโลกซึ่งเป็นตัวแทนของประเทศต่าง ๆ อันเป็นสมาชิกของบรรษัทด้วย คณะผู้ว่าการจะคอยควบคุมดูแลการปฏิบัติงานของบรรษัทให้ถูกต้อง ตัวประธานธนาคารโลก จะทำหน้าที่เป็นประธานคณะผู้ว่าการของบรรษัทโดยตำแหน่งด้วย บรรษัทมีสำนักงานตั้งอยู่ที่กรุงวอชิงตันดีซี [การทูต] |
money market | ตลาดสำหรับการกู้ยืมเงินหรือให้สินเชื่อ รวมทั้งการซื้อขายตราสารทางการเงินในระยะสั้น (หากเป็นระยะยาวเรียกว่าตลาดทุน หรือ capital market) หน่วยงานที่ทำหน้าที่เป็นตลาดทางการเงินรวมทั้งการกำกับดูแลที่สำคัญได้แก่ ธนาคารพาณิชย์ บริษัทเงินทุน บริษัทประกันภัย [เศรษฐศาสตร์] |
recovery | (รีคัฟ'เวอะรี) n. การเอากลับคืน, การกู้, การคืนสู่สภาพเดิม, สิ่งที่ได้คืนมา, Syn. restoration |
redemption | (รีเดมพฺ'เชิน) n. การซื้อคืน, การไถ่ถอน, การชำระหนี้, การกู้คืน, การไถ่บาป, การช่วยชีวิต, การชดใช้, การแลกเปลี่ยน (พันธบัตร, หลักทรัพย์, ใบหุ้น, คูปอง) เป็นเงินสดหรือสินค้า, การปฏิบัติตามสัญญา, See also: redemptional adj., Syn. reposs |
salvage | (แซล'วิจฺ) n. การกู้เรือ, การกู้ทรัพย์สินให้พ้นภัยพิบัติ, ทรัพย์สินที่กอบกู้ให้พ้นความเสียหาย, เรือที่กอบกู้ขึ้นมาได้, ค่ากู้ให้พ้นภัย, มูลค่าทรัพย์สินที่กู้ให้พ้นภัย, การใช้ของเสียให้เป็นประโยชน์, การช่วยเหลือ, การช่วยชีวิต. vt. กู้เรือ, กอบกู้ทรัพย์สินให้พ้นภัย |
lifeguard | [คำอ่าน :: ชีบ-พะ-บาน] (n) lifeguard [ 1 ] - (N) - ชีพบาล คำอ่าน :: ชีบ-พะ-บาน คำหมาย :: ผู้ประกอบวิชาชีพดูแลความปลอดภัยทางน้ำ ให้แก่ผู้ทำกิจกรรมนันทนาการทางน้ำ เช่น สระว่ายน้ำ , สวนน้ำ, ชายหาด, ชายทะเล ที่ผ่านการฝึกอบรมอย่างเข็มข้น ทั้งทักษะการว่ายน้ำ ปฐมพยาบาล การกู้ชีพ กู้ภัยทางน้ำ รวมทั้งการใช้อุปกรณ์หลากหลายที่เกี่ยวข้องการทำงาน บางพื้นที่ในต่างประเทศ ยังต้องทำงานเกี่ยวข้องกับการงานฉุกเฉิน เช่น การกู้ภัยบนภูเขา การนำส่งผู้ประสพภัยฉุกเฉิน จากภัยพิบัติต่างๆ อ้างอิง :: life = ชีวิต, ชีพ guard = ยาม, ผู้ดูแล ในที่นี้ ขอใช้คำว่า บาล ซึ่งหมายถึงผู้ดูแล เช่น รัฐบาล, คชบาล, โคบาล, ทวารบาล, พยาบาล, อภิบาล, อนุบาล lifeguard [ 2 ] - (N) – ทหารรักษาพระองค์ (ทหารมหาดเล็ก) ในกองทัพ สหราชอาณาจักร (ประเทศอังกฤษ), See also: Lifesaving, Lifesaver |
lifesaver | [ชีบ-พะ-รัก-สิก] lifesaver [ 1 ] - (N) - ชีพรักษิก คำอ่าน :: ชีบ-พะ-รัก-สิก คำขยาย :: อิก (สระ อิ + ก ไก่) หมายถึง คน หรือ ผู้(ที่เป็น) เช่น สถาปนิก สมาชิก ศาสนิก ปาราชิก ความหมาย :: อาสาสมัครที่ได้เรียนรู้ และได้รับการฝึกอบรมทักษะการว่ายน้ำ การปฐมพยาบาล การกู้ชีพ กู้ภัยทางน้ำ เบื้องต้น แต่ไมได้เป็นผู้ประกอบวิชาชีพดูแลความปลอดภัยทางน้ำ โดยตรง, See also: Lifesaving, Lifeguard |
lifesaving | [ชีบ-พะ-รัก] (n) Lifesaving [ 1 ] – ชีพรักษ์ คำอ่าน :: ชีบ-พะ-รัก ความหมาย :: วิชาชีพเกี่ยวกับการดูแลความปลอดภัยทางน้ำ ที่มีการการฝึกอบรมอย่างเข็มข้น ทั้งทักษะการว่ายน้ำ ปฐมพยาบาล การกู้ชีพ กู้ภัยทางน้ำ รวมทั้งการใช้อุปกรณ์หลากหลายที่เกี่ยวข้องการทำงาน ให้แก่ผู้ทำกิจกรรมนันทนาการ เช่น สระว่ายน้ำ , สวนน้ำ, ชายหาด, ชายทะเล ที่ผ่าน บางพื้นที่ในต่างประเทศ ยังต้องทำงานเกี่ยวข้องกับการงานฉุกเฉิน เช่น การกู้ภัยบนภูเขา การนำส่งผู้ประสพภัยฉุกเฉิน จากภัยพิบัติต่างๆ |