ตะกาด | (n) low land near the seashore, See also: seashore land where salt water can be let into evaporate (as salt field or salt pans), Count Unit: แห่ง, Thai Definition: ที่ดินซึ่งอยู่หลังหาดชายทะเลขึ้นไป แต่มีน้ำเค็มซึมขึ้นไปถึงได้ |
ตะกาด | (n) metapenacus, See also: a kind of prawn, Syn. กุ้งตะกาด, ชันกาด, Example: เราพบกุ้งตะกาดในบริเวณน้ำกร่อยและทะเลชายฝั่ง, Count Unit: ตัว, Thai Definition: ชื่อกุ้งขนาดเล็กหลายชนิดในวงศ์ Penaeidae อันดับ Decapoda Metapenaeusensis พบในบริเวณน้ำกร่อยและชายฝั่งทะเล |
โศกาดูร | (v) cry bitterly, See also: weep bitterly, Syn. โศกี, ร้องไห้, คร่ำครวญ, อาดูร, เศร้าโศก, เสียใจ, สลลดใจ, Example: เธอโศกาดูรมากเมื่อบิดาผู้เป็นที่รักยิ่งของเธอจากไป, Thai Definition: เดือดร้อนด้วยความโศก, ร้องไห้สะอึกสะอื้น |
หัวผักกาด | (n) turnip, Example: กระต่ายชอบกินหัวผักกาด, Count Unit: หัว |
กาด ๑ | น. ชื่อไม้ล้มลุกหลายชนิด หลายสกุล หลายวงศ์ บางชนิดใช้ใบ บางชนิดใช้หัวเป็นผัก เช่น ผักกาดกวางตุ้ง ( Brassica chinensis L.) ผักกาดขมหรือผักกาดเขียว ( B. juncea Czern. et Coss.) ผักกาดขาวหรือแป๊ะช่าย ( B. chinensis L. var. pekinensis Rupr.) ผักกาดหัวหรือไช้เท้า ( Raphanus sativus L.) ในวงศ์ Cruciferae, ผักกาดหอม ( Lactuca sativa L.) ในวงศ์ Compositae, ผักเหล่านี้เป็นพรรณไม้ที่นำเข้ามาปลูกเพื่อเป็นอาหาร. |
กาด ๒ | น. ตลาด. |
ขนมผักกาด, ขนมหัวผักกาด | น. ของคาวชนิดหนึ่งทำด้วยแป้งผสมหัวผักกาด นึ่งให้สุก แล้วผัดกับถั่วงอก ผักกุยช่าย. |
ขี้กาดง | ดู กระดอม. |
ชันกาด ๑ | (ชันนะ-) น. ชื่อหญ้าชนิด Panicum repens L. ในวงศ์ Gramineae ใช้ทำยาได้. |
ชันกาด ๒ | (ชันนะ-) ดู ตะกาด ๒. |
ตะกาด ๑ | น. ที่ดินซึ่งอยู่หลังหาดชายทะเลขึ้นไป แต่มีนํ้าเค็มซึมขึ้นไปถึงได้. |
ตะกาด ๒ | น. ชื่อกุ้งขนาดเล็กหลายชนิดในวงศ์ Penaeidae เช่น ชนิด Metapenaeus ensis (De Haan) ลำตัวสีเหลืองอ่อน ผิวเปลือกเป็นมัน พบในบริเวณนํ้ากร่อยและชายฝั่งทะเล, ชันกาด ตะเข็บ หรือ หัวมัน ก็เรียก. |
โศกาดูร | ก. เดือดร้อนด้วยความโศก, ร้องไห้สะอึกสะอื้น. |
โศกาดูร | ดู โศก ๑, โศก-. |
โสกาดานา | น. คนใช้, ขอเฝ้า. |
ก้งฉ่าย, ก๊งฉ่าย | น. ผักกาดเขียวปลีดองหวาน. |
กระชอม | ว. มาก, ใหญ่, เช่น ผักกาดกองกระชอมก็มี (ม. คำหลวง มหาพน). |
กระดอม | น. ชื่อไม้เถาเนื้ออ่อนชนิด Gymnopetalum chinense (Lour.) Merr. ในวงศ์ Cucurbitaceae เถา ๕ เหลี่ยม มีมือจับ ผล ๑๐ เหลี่ยม สุกสีส้ม มีรสขม ใช้ทำยาได้, ขี้กาดง หรือ ขี้กาเหลี่ยม ก็เรียก. |
กวางตุ้ง ๒ | (กฺวาง-) น. ชื่อผักกาดชนิดหนึ่ง เรียกว่า ผักกาดกวางตุ้ง หรือ ผักกวางตุ้ง. (ดู กาด ๑). |
กาฐ | (กาด) น. ไม้ฟืน เช่น คือโกยกาฐอันกองแลนองธรณิภาค กลาดกล่นถกลหลาก อนันต์ (สรรพสิทธิ์) |
กาษฐะ | (กาดสะถะ) น. ไม้ฟืน |
กุ้ง ๑ | น. ชื่อสัตว์นํ้าไม่มีกระดูกสันหลังในชั้น Crustacea อันดับ Decapoda มีหลายวงศ์ หายใจด้วยเหงือก ลำตัวยาว แบนหรือกลม แบ่งเป็นปล้อง ๆ เปลือกที่หุ้มท่อนหัวและอกคลุมมาถึงอกปล้องที่ ๘ ส่วนใหญ่กรีมีลักษณะแบนข้าง ก้ามและขาอยู่ที่ส่วนหัวและอก มี ๑๐ ขา พบในนํ้าจืดและนํ้าเค็ม มีหลายชนิด เช่น กุ้งก้ามกราม กุ้งก้ามเกลี้ยง กุ้งกุลาดำ กุ้งตะกาด กุ้งตะเข็บ กุ้งหัวแข็ง กุ้งแชบ๊วย. |
เกี่ยมฉ่าย | น. ผักกาดดองเค็ม. |
แกงส้ม | น. แกงพวกหนึ่ง มีลักษณะคล้ายแกงเผ็ด แต่ไม่ใส่เครื่องเทศ กะทิ หรือ นํ้ามัน มีรสเปรี้ยวด้วยนํ้าส้มมะขาม ใช้ผัก ผลไม้ หรือ ดอกไม้บางอย่าง เป็นต้น แกงกับกุ้งหรือปลา เรียกชื่อตามสิ่งนั้น ๆ เช่น แกงส้มผักกาดขาว แกงส้มมะละกอ แกงส้มดอกแค. |
ฉกาจ, ฉกาจฉกรรจ์ | (ฉะกาด, ฉะกาดฉะกัน) ว. เก่งกาจ, ดุร้าย, กล้าแข็ง. |
ไชเท้า, ไช้เท้า | น. ผักกาดหัว. (จ.). (ดู กาด ๑). |
ไชโป๊, ไช้โป๊ | น. ผักกาดหัวที่ดองเค็มหรือหวาน แล้วนำไปตากแห้ง. |
ซอง | เรียกไหชนิดหนึ่ง รูปร่างสูง ๆ ปากเล็กแคบ สำหรับใส่หัวผักกาดเค็มเป็นต้น. |
ด้าม | น. ส่วนของสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่ใช้ถือใช้จับ เช่น ด้ามมีด ด้ามขวาน, ลักษณนามเรียกของบางอย่างที่มีลักษณะเช่นนั้นว่า ด้าม เช่น ปากกาด้ามหนึ่ง ปากกา ๒ ด้าม |
ต้มเค็ม | น. ชื่ออาหารคาวอย่างหนึ่ง ใช้ปลาหรือเนื้อสัตว์อื่นมีหมูเป็นต้น ใส่เครื่องปรุงมีซีอิ๊วขาว ขิง ผักกาดดองเค็ม เคี่ยวให้เปื่อย, ถ้าต้มตามแบบจีนมีรสเค็ม แต่ถ้าต้มตามแบบไทยมีรสหวานเค็ม. |
ตะเข็บ ๒ | ดู ตะกาด ๒. |
ทนตกาษฐ์ | (-กาด) น. ไม้สีฟัน คือท่อนไม้เล็ก ๆ สำหรับถูฟันให้สะอาด ทำจากกิ่งไม้ต่าง ๆ เช่น ไม้คนทา ไม้ข่อย. |
ประกาศนียบัตร | (-กาสะนียะบัด, ปฺระกาดสะนียะบัด) น. เอกสารแสดงคุณวุฒิ ตามปรกติตํ่ากว่าระดับอุดมศึกษา. |
ผัก | ใช้เป็นคำนำหน้าชื่อพืชบางจำพวก เช่น ผักกาด ผักกูด ผักปลาบ ผักหนอก. |
เมี่ยงลาว | น. ของกินอย่างหนึ่ง ใช้ใบผักกาดดองห่อไส้เป็นคำ ๆ ไส้ทำด้วยหมูสับผัดเคล้ากับกุ้งแห้งป่น ถั่วลิสงตำ ขิง น้ำส้มมะขาม น้ำตาล น้ำปลา ปรุงให้มีรสหวานนำ เค็มตาม และเปรี้ยวนิดหน่อย แล้วตักขึ้นเคล้าด้วยหอมเจียวกระเทียมเจียว กินกับข้าวตังทอดหรือข้าวเกรียบกุ้งทอด. |
เมี่ยงส้ม | น. ของกินอย่างหนึ่ง ทำด้วยมะพร้าวขูดคั่ว กวนกับน้ำตาลปึกผสมถั่วลิสงตำพร้อมด้วยหอมแดง ปรุงให้มีรสเค็มหวาน เมื่อได้ที่โรยใบมะกรูดหั่นฝอย กินแกมกับผักกาดหอมหรือใบทองหลาง และผลไม้มีรสเปรี้ยว เช่น ส้มโอ มะม่วงดิบ มะปรางดิบ. |
ยำสลัด | น. ยำชนิดหนึ่งตามแบบตะวันตก ประกอบด้วยผักสดหลายชนิด เช่น ผักกาดหอม หอมหัวใหญ่ มะเขือเทศ แตงกวา เป็นหลัก และอาจมีเนื้อสัตว์หรือไข่ด้วย ราดด้วยน้ำปรุงรสที่เรียกว่า น้ำสลัด. |
ยำใหญ่ | น. ยำที่ใส่แตงกวา ไข่ต้ม กุ้งต้ม หมูต้ม หนังหมู เห็ดหูหนู หัวผักกาดขาว ใบสะระแหน่ ใบโหระพา ปรุงให้มีรสเปรี้ยว เค็ม หรือหวานด้วยก็ได้. |
สลัด ๑ | (สะหฺลัด) น. ชื่อยำชนิดหนึ่งตามแบบชาวตะวันตก ประกอบด้วยผักสดหลายชนิด เช่น ผักกาดหอม หอมหัวใหญ่ มะเขือเทศ แตงกวา เป็นหลัก และอาจมีเนื้อสัตว์หรือไข่ด้วย ราดด้วยน้ำปรุงรสที่เรียกว่า น้ำสลัด สลัดมีหลายชนิด เช่น สลัดผัก สลัดเนื้อสัน สลัดแขก. |
สัญประกาศ | (สันยะปฺระกาด) น. เครื่องหมายวรรคตอนรูปดังนี้ – ใช้ขีดไว้ใต้คำหรือข้อความที่สำคัญ เพื่อเน้นให้ผู้อ่านสังเกตเป็นพิเศษ, ขีดเส้นใต้ ก็เรียก. |
สุญญากาศ | (สุนยากาด) น. ที่ที่ไม่มีอากาศ เช่น อยู่ในสุญญากาศ. |
สุญญากาศ | (สุนยากาด) ว. ที่ไม่มีอากาศ เช่น ขวดสุญญากาศ หลอดสุญญากาศ. |
หมูแนม | น. ชื่ออาหารว่าง มีหลายแบบ เช่น หมูแนมสด (แบบปลาแนม) หมูแนมแข็ง หมูแนมญวน, หมูแนมสดทำด้วยเนื้อหมูไม่ติดมันบดหรือโขลกรวมกับข่าและแป้งแดงจีน ทำให้สุกด้วยการผัดในน้ำสะเออะให้เนื้อหมูกระจายแล้วผสมด้วยมันหมูแข็งและหนังหมูต้มสุกหั่นชิ้นเล็ก ๆ ยาว ๆ ข้าวคั่วป่นเป็นต้น ปรุงรสเปรี้ยว เค็มและหวาน รับประทานกับผักสด เช่น ใบทองหลาง ใบผักกาดหอม, หมูแนมแข็งต้องห่อหมูที่โขลกหรือบดและผสมเครื่องปรุงแล้วด้วยใบทองหลางที่ซ้อนบนใบตอง มัดแน่น เก็บไว้ ๓ วัน จึงปิ้งทั้งห่อ แกะออกรับประทานกับผักและน้ำจิ้ม หรือรับประทานแบบเมี่ยงเครื่องสด, หมูแนมญวนใช้เนื้อหมูล้วนสับ ใส่เกลือรวนให้สุก ใส่ยอดสะระแหน่และแตงกวาหั่น แล้วห่อด้วยข้าวเกรียบแก้ว ตัดเป็นคำ ๆ รับประทานกับน้ำจิ้มและผักต่าง ๆ. |
หัว ๑ | ส่วนของพืชพันธุ์บางอย่างตอนที่อยู่ใต้ดิน เช่น หัวหอม หัวผักกาด, ส่วนที่อยู่ใต้ดินของพืชบางชนิด เป็นที่เกิดต้นอ่อน |
หัวมัน ๒ | ดู ตะกาด ๒. |
ไหซอง | น. ชื่อไหชนิดหนึ่ง รูปสูง ๆ ปากเล็กแคบ สำหรับใส่หัวผักกาดเค็มเป็นต้น. |
อวกาศ | (อะวะกาด) น. บริเวณที่อยู่นอกบรรยากาศของโลก. |
อากาศ, อากาศ- | (อากาด, อากาดสะ-) น. แก๊สผสมที่ประกอบด้วยไนโตรเจนและออกซิเจนเป็นส่วนใหญ่ ใช้หายใจหรือช่วยในการเผาไหม้เป็นต้น |
อุปกาศ | (อุปะกาด, อุบปะกาด) ก. แจ้งข่าว เรื่อง หรือข้อความ เช่น เขือไปอุปกาศแล้ว เขือมา (ลอ), ร้องอุปกาศสารแก่กรุงสญชัยปิตุราช (ม. ร่ายยาว หิมพานต์). |
เอ๋ย | คำที่ใช้ในตอนขึ้นต้นคำกลอนหรือบทดอกสร้อย เช่น กาเอ๋ยกาดำ รถเอ๋ยรถทรง. |
โอกาส | (-กาด) น. ช่อง, ทาง |
Brugada syndrome | กลุ่มอาการบรูกาดา [TU Subject Heading] |
Chinese cabbage | ผักกาดขาว [TU Subject Heading] |
Lettuce | ผักกาดหอม [TU Subject Heading] |
Biotite or Black Mica | ไบโอไทต์ หรือ ไมกาดำ, Example: แหล่ง - ในประเทศไทย พบในหินแกรนิตทั่วประเทศ ในหินเปกมาไทต์ ก็พบได้เสมอ ประโยชน์ - ใช้เป็นฉนวนกันความร้อนและเสียง แต่ไม่นิยมใช้เป็นฉนวนไฟฟ้า [สิ่งแวดล้อม] |
Good Offices และ Mediation | วิธีการที่จะระงับข้อพิพาทระหว่างรัฐโดยฉันมิตร คำว่า Good Offices หมายถึง การช่วยเป็นสื่อกลาง ส่วน Mediation หมายถึง การไกล่เกลี่ยศัพท์ทั้งสองนี้หมายถึงวิธีการที่จะระงับข้อพิพาทระหว่างรัฐ โดยฉันมิตร กล่าวคือ ในกรณีข้อพิพาทซึ่งการเจรจากันทางการทูตไม่สามารถตกลงกันได้ง่าย ๆ ดังนั้น รัฐที่สามอาจยื่นมือเข้าช่วยเป็นสื่อกลาง หน้าที่ในการนี้มิใช่ออกความเห็นหรือวินิจฉัยชี้ขาดว่าใครถูกใครผิดในกรณี ข้อพิพาท หากเป็นแต่เพียงแสวงหาลู่ทางที่จะระงับข้อพิพาทจะต้องมีให้น้อยที่สุดเท่า ที่จะทำได้ และถือว่าเป็นกาดรกระทำฉันมิตร (Friendly act) คู่พิพาทฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดอาจปฏิเสธข้อเสนอได้โดยไม่ถือว่าเป็นความผิดทางการ เมือง หรือคู่พิพาทฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดอาจขอร้องให้ช่วยเป็นสื่อกลาง หรือให้ช่วยไกล่เกลี่ย ตามธรรมดาการช่วยเป็นสื่อกลางนั้นเป็นเพียงการเข้าช่วยงานพื้นฐาน หรือให้มีการเริ่มต้นการเจรจาเท่านั้น ส่วนงานเจรจาที่จะกระทำโดยตรงกว่าจะมีลักษณะเป็นการไกล่เกลี่ย แต่ในทางปฏิบัติไม่ค่อยมีการคำนึงกันนักถึงความแตกต่างจริงๆ ระหว่างวิธีทั้งสอง คู่พิพาทฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดอาจปฏิเสธไม่ยอมรับการไกล่เกลี่ยไม่ว่าเวลาใดก็ได้ จะเห็นได้ว่า การช่วยเป็นสื่อกลางกับการไกล่เกลี่ยนั้นแตกต่างกัน คือ ในกรณีการช่วยเป็นสื่อกลาง ฝ่ายที่สามจะกระทำแต่เพียงช่วยให้มีการหันหน้าเข้าเจรจากันระหว่างคู่พิพาท ส่วนในกรณีการไกล่เกลี่ย ฝ่ายที่สามพยายามจัดให้มีการเจรจากันจริง ๆ ตามมูลฐานข้อเสนอของตน ฝ่ายที่เสนอช่วยเป็นสื่อกลางหรือช่วยไกล่เกลี่ยนั้น อาจจะมาจากประเทศที่สาม หรือจากองค์การระหว่างประเทศ หรือจากบุคคลธรรมดาคนหนึ่งก็ได้ [การทูต] |
Organization of American States | คือองค์การของรัฐในสหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 2 กันยายน ค.ศ. 1947 สหรัฐอเมริกา และประเทศต่าง ๆ ในละตินอเมริกา ยกเว้นประเทศนิคารากัวและอีเควดอร์ ได้ตกลงทำสนธิสัญญาระหว่างรัฐในอเมริกาด้วยกัน ณ กรุงริโอเดจาเนโร เพื่อให้ความช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ซึ่งเรียกกันทั่วไปว่า สนธิสัญญาริโอ ประเทศเหล่านั้นต่างมุ่งมั่นที่จะให้ความช่วยเหลือกันอย่างมีประสิทธิผล ถ้าหากรัฐในอเมริกาหนึ่งใดถูกโจมตีด้วยกำลังอาวุธหรือถูกคุกคามจาการรุกราน ต่อมาในเดือนเมษายน ค.ศ. 1948 ได้มีการจัดตั้งองค์การของรัฐอเมริกัน (Organization of American States) ขึ้น ณ กรุงโบโกตา ประเทศโบลิเวีย ประกอบด้วยรัฐต่าง ๆ ในอเมริการวม 21 ประเทศ ยกเว้นประเทศแคนาดา เพื่อดำเนินการให้เป็นผลตามสนธิสัญญาริโอ และจัดวางระบบการรักษาความมั่นคงร่วมกันขึ้น กฎบัตร (Charter) ขององค์การได้มีผลบังคับให้เมื่อวันที่ 13 ธันวาคม ค.ศ. 1951องค์การโอเอเอสนี้ เป็นองค์การส่วนภูมิภาคแห่งหนึ่ง ภายในกรอบของสหประชาชาติ ประเทศสมาชิกต่างปฏิญาณร่วมกันที่จะทำการธำรงรักษากระชับสันติภาพ ตลอดจนความมั่นคงในทวีปอเมริกา เพื่อป้องกันมิให้เกิดเหตุแห่งความยุ่งยากใด ๆ และต้องการระงับกรณีพิพาทที่อาจเกิดขึ้นได้ในระหว่างประเทศสมาชิกด้วยกันโดย สันติวิธี อนึ่ง ถ้าหากมีการรุกรานเกิดขึ้นก็จะมีการปฏิบัติการร่วมกัน นอกจากนี้ ยังจะหาทางระงับปัญญาหาทางการเมือง ทางการศาล และทางเศรษฐกิจ ที่อาจเกิดขึ้นได้ในระหว่างประเทศสมาชิก พร้อมทั้งจะพยายามร่วมกัน ในการหาหนทางส่งเสริมพัฒนาการทางเศรษฐกิจสังคม และวัฒนธรรม สำนักงานใหญ่ขององค์การโอเอเอสตั้งอยู่ ณ กรุงวอชิงตันดีซี นครหลวงของสหรัฐอเมริกา [การทูต] |
Beta Vulgaris | สีจากหัวผักกาดแดง [การแพทย์] |
Brassica | ผักกาด [การแพทย์] |
Cabbage Family | พืชตระกูลผักกาด [การแพทย์] |
English Plantain | ผักกาดนา [การแพทย์] |
หัวผักกาด | [hūaphakkāt] (n) EN: turnip ; raddish FR: navet [ m ] |
หัวผักกาดแดง | [hūaphakkāt daēng] (n, exp) FR: radis [ m ] |
หัวผักกาดขาว | [hūaphakkāt khāo] (n, exp) EN: Chinese Radish FR: navet [ m ] |
หัวผักกาด | [hūaphakkāt] (n) EN: [ classifier : bulbs, tubers ] FR: [ classificateur : bulbes, tubercules ] |
กาดิซ | [Kādis] (n, prop) EN: Cadiz FR: Cadix |
กาด | [kāt] (n) EN: collective name of vegetables |
กาดแดง | [kāt daēng] (n, exp) FR: carotte [ f ] |
กาดหอม | [kāt høm] (n) FR: laitue [ f ] |
กาดหัว | [kāt hūa] (n) FR: panais [ m ] |
กาดหวาน | [kāt wān] (n) FR: betterave [ f ] |
งูยักษ์มิดกาดโซรุม | [ngū yak mīt kāt sō rum] (n, exp) EN: Midgardsomrm ; midgard serpent |
ปากกาดินสอ | [pākkā dinsø] (n) EN: propelling pencil FR: portemine [ m ] ; stylomine [ m ] |
ผักกาด | [phakkāt] (n) EN: lettuce FR: laitue [ f ] |
ผักกาดใบ | [phakkāt bai] (n, exp) EN: loose-leaf lettuce |
ผักกาดหางหงส์ | [phakkāt hānghong] (n, exp) EN: Chinese Cabbage-Michilli |
ผักกาดหอม | [phakkāt høm] (n, exp) EN: lettuce FR: laitue [ f ] |
ผักกาดหอมบัตเตอร์เฮด | [phakkāt høm battoēhet] (n, exp) EN: Butterhead lettuce |
ผักกาดฮ่องเต้ | [phakkāt hǿngtē] (n, exp) EN: Chinese Cabbage ; Pai Tsai |
ผักกาดหัว | [phakkāt hūa] (n, exp) EN: white radish ; Chinese radish ; turnip FR: navet [ m ] |
ผักกาดจีน | [phakkāt Jīn] (n, exp) EN: Chinese White Cabbage |
ผักกาดแก้ว | [phakkāt kaēo] (n, exp) EN: Iceberg Lettuce |
ผักกาดขาว | [phakkāt khāo] (n, exp) EN: Chinese cabbage FR: chou chinois [ m ] |
ผักกาดเขียว | [phakkāt khīo] (n, exp) EN: Chinese mustard FR: moutarde chinoise [ f ] |
ผักกาดเขียวกวางตุ้ง | [phakkāt khīo Kwāngtung] (n, exp) EN: Flowering Cabbage |
ผักกาดเขียวปลี | [phakkāt khīo plī] (n, exp) EN: Chinese Mustard Green |
ผีเสื้อจรกาดำขาว | [phīseūa jøn kā dam khāo] (n, exp) EN: Magpie Crow |
โศกาดูร | [sōkādūn] (v) EN: cry bitterly ; weep bitterly |
carrot | (แค'เริท) n. หัวผักกาดแดง |
chinese cabbage | n. ผักกาดหอมจีน, Syn. pe-tsai |
cos | (คอส, โคส) n. ผักกาดหอมชนิดหนึ่ง, cosine |
lettuce | (เลท'ทิวสฺ) n. ผักกะหล่ำ, ผักกาดหอม, เงินสด, ธนบัตร |
radish | (แรด'ดิช) n. หัวผักกาด (ขาวหรือแดง) , หัวไช่เท้า, พืชของหัวดังกล่าว |
style | (สไทลฺ) n. ชนิด, รูปแบน, ลักษณะ, ท่าทาง, สำนวน, โวหาร, ทำนอง, ท่วงทำนอง, วิธีการ, วิธีการเขียน, แบบอย่าง, ลีลา, คำขนานนาม, ปากกาสมัยโบราณสำหรับเขียนบนแผ่นขี้ผึ้ง, สิ่งที่คล้ายปากกาดังกล่าว, เข็มเครื่องเล่นจานเสียง, เข็มนาฬิกาแดด, วิธีการจับเวลา, แกนดอกไม้, เดือย, หนาม, |
turnip | (เทอ'นิพ) n. หัวผักกาด, พืชดังกล่าว |