65 ผลลัพธ์ สำหรับ *กล่าวคำ*
หรือค้นหา: กล่าวคำ, -กล่าวคำ-

พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
กล่าว(กฺล่าว) ก. บอก, แจ้ง, พูด, เช่น กล่าวคำเท็จ
กษมา ๑(กะสะ-) ก. กล่าวคำขอโทษ, โดยมากใช้ว่า ษมา.
โกหกก. จงใจกล่าวคำที่ไม่จริง, พูดปด, พูดเท็จ, (มักใช้ในที่ไม่สุภาพ).
ขมา(ขะมา) ก. กล่าวคำขอโทษ เช่น ไปขมาศพ, ษมา ก็ใช้.
เชิญเทวดาก. ตั้งเครื่องสักการบูชาและเครื่องสังเวย แล้วกล่าวคำต้อนรับและแสดงความปรารถนา เพื่อขอให้เทวดาช่วยอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น เชิญเทวดามาในพิธีไหว้ครูโขนละคร.
ถวายข้าวพระก. ทำพิธีอย่างหนึ่ง เมื่อนำสำรับคาวหวานไปถวายพระพุทธรูปโดยยกมือประนม กล่าวคำว่า อุกาส สูปพฺยฺชนสมฺปนฺนํ สาลีนํ โภชนํ สอุทกํ วรํ พุทฺธสฺส ปูเชมิ.
ปด, ปดโป้ก. โกหก, พูดเท็จ, จงใจกล่าวคำที่ไม่จริง, โป้ปด ก็ว่า.
ประจุขาดน. เรียกวิธีกล่าวคำลาสึกจากพระ.
โป้ปดว. จงใจกล่าวคำที่ไม่จริง.
ยอ ๒ก. กล่าวคำเพื่อเชิดชู เช่น ยอพระเกียรติ หรือเพื่อให้ชอบใจ เช่น เด็กชอบให้ยอ
ลาข้าวพระก. ทำพิธีอย่างหนึ่งเมื่อถอนสำรับพระพุทธ โดยยกมือประนมกล่าวคำว่า เสสํ มงฺคลํ ยาจามิ แล้วยกสำรับออกมา.
ลำเลิกก. กล่าวทวงบุญคุณ, กล่าวคำตัดพ้อต่อว่า โดยยกเอาความดีที่ตนทำไว้แก่อีกฝ่ายหนึ่งเพื่อให้สำนึกถึงบุญคุณที่ตนมีอยู่กับผู้นั้น.
ไว้อาลัยว. อาการที่แสดงความระลึกถึงเพราะมีใจผูกพันกับผู้ที่จากไป เช่น ยืนไว้อาลัย กล่าวคำไว้อาลัย.
ษมา(สะมา) ก. กล่าวคำขอโทษ, ขมา ก็ว่า.
ส่งภาษาก. เจรจาปราศรัยกับผู้ที่พูดอีกภาษาหนึ่ง โดยกล่าวคำเป็นภาษานั้น เช่น ให้ล่ามไปส่งภาษาถามเขาดูว่าต้องการอะไร
สธุสะ, สาธุสะคำเปล่งขึ้นก่อนกล่าวคำอื่น เพื่อขอความสวัสดิมงคลอย่างเดียวกับคำ ศุภมัสดุ.
สรรเสริญ(สันเสิน, สันระเสิน) ก. กล่าวคำยกย่อง เชิดชู หรือ เทิดทูน เช่น สรรเสริญพระพุทธคุณ, กล่าวคำชมด้วยความนิยมพอใจ หรือเยินยอคุณความดี เช่น สรรเสริญคนที่มีความกตัญญูรู้คุณ, สรเสริญ ก็ใช้.
สอนนาคก. กล่าวคำทำขวัญนาคเพื่อสอนกุลบุตรที่จะอุปสมบทให้รู้สึกซาบซึ้งถึงพระคุณของพ่อแม่ และให้เห็นว่าการบวชนั้นเป็นการตอบสนองพระคุณพ่อแม่อย่างหนึ่ง.
สาบานก. กล่าวคำปฏิญาณโดยอ้างสิ่งศักดิ์สิทธิ์เป็นพยาน, ประเพณีเดิมจะต้องดื่มนํ้าพระพุทธมนต์ นํ้าเทพมนตร์ หรือ สุราผสมเลือดที่ผู้ร่วมกล่าวคำปฏิญาณกรีดให้หยดลงไปด้วย เช่น สาบานเป็นพี่น้องกัน เพื่อนร่วมสาบาน.(ป. สปน; ส. ศปน).
หยาบหยามก. กล่าวคำหรือแสดงกิริยาไม่สุภาพและเป็นการดูถูก.
อาราธนาธรรมก. ขอนิมนต์ให้พระภิกษุหรือสามเณรแสดงธรรม โดยกล่าวคำเป็นภาษาบาลีว่า พฺรหฺมา จ โลกาธิปติ สหมฺปติ … เทเสตุ ธมฺมํ อนุกมฺปิมํ ปชํ.
อาราธนาพระปริตรก. ขอนิมนต์ให้พระสงฆ์สวดมนต์ โดยกล่าวคำเป็นภาษาบาลีว่า วิปตฺติปฏิพาหาย … ปริตฺตํ พฺรูถ มงฺคลํ.
อาราธนาศีลก. ขอให้พระภิกษุหรือสามเณรให้ไตรสรณคมณ์และศีล โดยกล่าวคำเป็นภาษาบาลีว่า มยํ ภนฺเต ติสรเณน สห … สีลานิ ยาจาม.
โอมก. กล่าวคำขึ้นต้นของมนตร์.

คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Persona non grataเป็นศัพท์ที่ใช้กับนักการทูตหรือผู้แทนทางการทูต ที่ประจำอยู่ในประเทศซึ่งรัฐบาลของประเทศนั้นไม่ปรารถนาให้อยู่ต่อไปอีกแล้ว หลังจากที่ได้ไปประจำทำงานในตำแหน่งอยู่ในประเทศนั้น หรือก่อนหน้าที่นักการทูตผู้นั้นจะเดินทางไปถึงดินแดนของประเทศผู้รับ (Receiving State) นักการทูตที่ถูกประกาศเป็น persona non grata หรือ บุคคลที่ไม่พึงปรารถนานั้น เป็นเพราะสาเหตุดังต่อไปนี้ คือ กล่าวคำดูหมิ่นรัฐบาลของประเทศที่ตนไปประจำอยู่ ละเมิดกฎหมายของบ้านเมืองนั้น แทรกแซงในการเมืองภายในของเขา เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับกิจการภายในประเทศของเขา ใช้ถ้อยคำก้าวร้าวต่อประเทศนั้น วิพากษ์ประมุขแห่งประเทศของเขากระทำการอันเป็นที่เสียหายต่อประโยชน์หรือต่อ ความมั่นคงของประเทศ และกระทำการอื่น ๆ ในทำนองนั้นตามปกติรัฐบาลของประเทศเจ้าภาพที่เป็นฝ่ายเสียหายจะขอร้องให้ รัฐบาลผู้ส่ง (Sending government) เรียกตัวนักการทูตผู้กระทำผิดกลับประเทศ ซึ่งตามปกติรัฐบาลผู้ส่งมักจะปฏิบัติตาม รัฐบาลของประเทศผู้เสียหายจะแจ้งให้นักการทูตผู้นั้นทราบว่า รัฐบาลจะไม่ทำการติดต่อเกี่ยวข้องเป็นทางการกับเขาอีกต่อไป หรืออาจจะบอกให้นักการทูตผู้นั้นออกไปจากประเทศโดยไม่เกรงใจแต่อย่างใดก็ได้ เกี่ยวกับเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในข้อ 9 ดังต่อไปนี้ ?1. รัฐผู้รับอาจบอกกล่าวแก่รัฐผู้ส่งในเวลาใดก็ได้ และโดยมิต้องชี้แจงถึงการวินิจฉัยของตนว่า หัวหน้าคณะผู้แทนหรือบุคคลใดบุคคลหนึ่งที่ไม่พึงโปรด หรือว่าบุคคลอื่นใดในคณะเจ้าหน้าที่ของคณะผู้แทนเป็นที่ไม่พึงยอมรับได้ ในกรณีใดเช่นว่านี้ ให้รัฐผู้ส่งเรียกบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้นกลับ หรือเลิกการหน้าที่ของผู้นั้นกับคณะผู้แทนเสียก็ได้ตามที่เหมาะสมบุคคลอาจจะ ถูกประกาศให้เป็นผู้ไม่พึงโปรด หรือไม่พึงยอกรับได้ก่อนที่จะมาถึงอาณาเขตของรัฐผู้รับก็ได้ 2. ถ้ารัฐผู้ส่งปฏิเสธ หรือไม่นำพาภายในระยะเวลาอันสมควร ที่จะปฏิบัติตามข้อผูกพันของคนภายใต้วรรค 1 ของข้อนี้ รัฐผู้รับสามารถปฏิเสธที่จะยอมรับนับถือบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้นว่าเป็นบุคคล ในคณะผู้แทนก็ได้? [การทูต]

Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
การกล่าวคำหมิ่นประมาท[kān klāo kham minpramāt] (n, exp) EN: slander
กล่าวคำปราศรัย[klāo khamprāsai] (v, exp) EN: deliver a speech ; make a speech  FR: prononcer un discours ; faire une déclaration
กล่าวคำตัดสิน[klāo kham tatsin] (v, exp) EN: pronounce a judgement

NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
gag(vi) พูดตลก, See also: กล่าวคำคม, เล่นลิ้น
harangue(vi) กล่าวคำปราศรัยที่ยื่ดยาดและรุนแรง
object(vt) กล่าวคำคัดค้าน, Syn. reject, oppose, Ant. accept, admit
orator(n) ผู้กล่าวคำปราศรัย, See also: นักปราศรัย, Syn. public speaker, rhetorician
platform(n) แท่น, See also: เวทีสำหรับกล่าวคำปราศรัย, เวที, ยกพื้น, Syn. dais, pulpit
public speaking(n) การกล่าวคำปราศรัย
rostrum(n) ยกพื้นสำหรับกล่าวคำปราศรัย, See also: แท่นหรือเวที, Syn. platform, stage
salutatorian(n) นักศึกษา (ที่มีคะแนนยอดเยี่ยม) กล่าวคำต้อนรับ
speechmaker(n) ผู้กล่าวคำปราศัย, See also: ผู้กล่าวสุนทรพจน์, Syn. speaker, talker
stroke(n) คำชมเชย, See also: การกล่าวคำชมเชย, การให้กำลังใจ, Syn. encouragement, compliment
swear in(phrv) กล่าวคำปฏิญาณเพื่อรับตำแหน่งหน้าที่, See also: สาบานตนเข้ารับตำแหน่ง
talk(vt) พูดคุย, See also: สนทนา, เจรจา, กล่าวคำ, Syn. discuss, speak, chat
talk(vi) พูดคุย, See also: สนทนา, เจรจา, กล่าวคำ, Syn. discuss, speak, chat
tut(vi) กล่าวคำอุทานแสดงความไม่พอใจ
utterer(n) การเปล่งเสียง, See also: การกล่าวคำพูด, การพูด
valedictorian(n) ผู้แทนผู้เรียนที่กล่าวสุนทรพจน์ในวันรับประกาศนียบัตร, See also: ตัวแทนนักเรียนหรือนักศึกษาที่กล่าวคำอำลา
witness(vt) กล่าวคำสาบานตน (ทางคริสต์ศาสนา)

Hope Dictionary
darn(ดาร์น) { darned, darning, darns } vt. ชุน (ผ้า, ถุงเท้า) , สาปแช่ง, กล่าวคำสบถ, ดูdamn n. บริเวณที่ชุน, การชุน, ความสนใจ -Id. (give a darn สนใจ)
falsify(ฟอล'ซิไฟ) { falsified, falsifying, falsifies } vt. ทำให้ไม่ถูกต้อง, ปลอมแปลง, พิสูจน์ให้เห็นว่าผิดหรือปลอม, เป็นตัวแทนเก๊. vi. กล่าวคำเท็จ, See also: falsifiable adv. falsification n. falsifier n., Syn. misrepresent
keynote(คี'โนท) n. เสียงหลักของทำนองเพลงประเด็นสำคัญของคำปราศรัย ความคิด การกระทำหรืออื่น ๆ vt. กล่าวคำปราศรัยที่สำคัญ, Syn. theme, essence, gist, core
orate(โอเรท', ออเรท', ออ'เรท) vi., vt. กล่าวคำปราศรัย, กล่าวคำโวหาร, แสดงสุนทรพจน์
orator(ออ'ระเทอะ) n. ผู้กล่าวคำปราศรัย, นักโต้วาที, โจทก์, ผู้ร้องเรียน, Syn. discourser
panegyrist(แพนนิเจอ'ริสทฺ) n. ผู้กล่าวคำสรรเสริญ
perorate(เพอ'ระเรท) vi. พูดเสียยืดยาว, กล่าวคำปราศรัย, กล่าวคำสรุป., See also: perorator n.
platform(แพลท'ฟอร์ม) n. แท่น, ชานชลาสถานี, เวทีสำหรับกล่าวคำปราศัย, ยกพื้น, ดาดฟ้า, แท่นยิง, แท่นปืนใหญ่, นโยบายของพรรคการเมือง, คำแถลงการณ์, การปราศรัยต่อมวลชน, การแสดงปาฐกถา
public-speakingn. การแสดงปาฐกถา, การกล่าวคำปราศรัย, การพูดในที่ชุมนุมชน
reprove(รีพรูฟว') vt., vi. กล่าวคำตำหนิ, ตำหนิ, ติเตียน, กล่าวหา, ต่อว่า, ดุ, ประณาม, แสดงความไม่เห็นด้วย, See also: reprover n., Syn. censure, Ant. praise
salutatory(ซะลู'ทะทอรี) adj. เกี่ยวกับ salutation (ดู) n. การกล่าวคำต้อนรับ, การปราศรัยที่เป็นการต้อนรับ., See also: salutatorily adv., Syn. oration
speechmaker(สพีช'เมคเคอะ) n. ผู้กล่าวคำปราศรัย, ผู้สาธยาย, See also: speechmaking n.
swear(สแวร์) { swore, sworn, swearing, swears } vi., vt. สาบาน, ปฎิญาณ, กล่าวคำปฎิญาณ, ให้คำปฎิญาณ, สบถ, สาปแช่ง, กล่าวคำสาปแช่ง, swear by กล่าวคำปฎิญาณเข้ารับตำแหน่ง, swear off ตัดสินใจเลิก (โดยเฉพาะของมึนเมา) swear out ทำให้ศาลออกหมายศาลโดยการกล่าวหาภายใต้การปฎิญาณตน- s
thou(เธา) pron. ท่าน, คุณ, เธอ. vt. กล่าวคำทักทายว่า"คุณ". vi. ใช้คำว่า"thou"ในการสนทนา
utter(อัท'เทอะ) vt. เปล่งเสียง, ออกเสียง, พูด, กล่าวคำพูด, เล่า, ทำให้รู้กันทั่ว, ทำให้หมุนเวียน, ขับออก, อาเจียน. adj. สมบูรณ์, ทั้งหมด, เด็ดขาด, ไม่มีเงื่อนไข., See also: utterable adj. utterer n. utterness n., Syn. express
utterance(อัท'เทอะเรินซฺ) n. เสียงเปล่ง, คำพูด, สิ่งที่เปล่งออก, การเปล่งเสียง, การพูด, การกล่าวคำพูด, การร้อง, เสียงร้อง, ฝีปาก, คารม, ความเต็มที่, ระดับสูงสุด, ความตาย, Syn. expression, talk, speech, words, pronouncement
valedictory(แวลลิดิค'ทะรี) adj. กล่าวคำอำลา, เกี่ยวกับคำอำลา n. การกล่าวคำอำลา, การปราศรัยอำลาในพิธีรับประกาศนียบัตรหรือปริญญา

Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
เกรียน(n) เกรียน ในสมัยก่อนหมายถึงเด็กนักเรียนที่เรียนอยู่ในชั้น ประถม ถึง มัธยม แต่ในปัจจุบัน การกล่าวคำว่าเกรียนหมายถึง ผู้ใช้ อารมณ์ในการตัดสินปัญหา มากกว่าที่จะใช้ เหตุและผล ขาดความยั้งคิด และทำตัวเดือดร้อนให้แก่คนรอบข้าง มักพบได้ใน เด็ก ประถม ขึ้นไป

Longdo Unapproved JP-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
申し訳ない[もうしわけない, moushiwakenai] การกล่าวคำขอโทษ

Saikam JP-TH-EN Dictionary
発言[はつげん, hatsugen] TH: การกล่าวคำพูดออกมา

Time: 0.0298 seconds, cache age: 3.114 (clear)Longdo Dict -- https://dict.longdo.com/