กริยา | (n) verb, Syn. คำกริยา, Example: เอกัตถประโยคคือประโยคความเดียวซึ่งจะประกอบด้วยกริยา 1 ตัว, Count Unit: ตัว |
คำกริยา | (n) verb, Example: ในทางไวยากรณ์มีคำอยู่ 8 ประเภท คือ คำนาม คำสรรพนาม คำคุณศัพท์ คำกริยา คำกริยาวิเศษณ์ คำบุพบท คำสันธาน และ คำอุทาน, Count Unit: คำ, Thai Definition: หมวดคำประเภทหนึ่ง ที่แสดงอาการกริยาต่างๆ |
กริยาวลี | (n) verb phrase, Example: นักภาษาศาตร์เก็บข้อมูลภาษาที่เป็นข้อความง่ายๆ เช่น นามวลี กริยาวลี อนุประโยคประเภทต่างๆ ประโยคลักษณะต่างๆ เป็นต้นหลัง, Thai Definition: กลุ่มคำของคำกริยาแต่ยังไม่เป็นประโยคสมบูรณ์ |
กริยาสกรรม | (n) transitive verb, Thai Definition: คำกริยาที่ต้องมีกรรมมารับ |
กริยาอกรรม | (n) intransitive verb, Thai Definition: คำกริยาที่ไม่ต้องมีกรรมมารับ |
สกรรมกริยา | (n) transitive verb, Thai Definition: คำกริยาที่ต้องมีกรรมหรือผู้กระทำมารับ, Notes: (ไวยากรณ์) |
อกรรมกริยา | (n) intransitive verb, Syn. กริยาอกรรม, Thai Definition: กริยาที่สำเร็จรูปได้ความบริบูรณ์โดยไม่ต้องมีกรรมรับ, Notes: (สันสกฤต/ไวยากรณ์) |
คำช่วยกริยา | (n) auxiliary verb, Syn. กริยานุเคราะห์, Count Unit: คำ, Thai Definition: คำในหมวดกริยาที่ใช้ประกอบกริยาอื่น เช่น จะ คง |
กริยาวิเศษณ์ | (n) adverb, Syn. วิเศษณ์, Thai Definition: หมวดคำประเภทหนึ่ง ทำหน้าที่ขยายคำกริยา |
กริยาคุณศัพท์ | (n) predicative adjective, Syn. คำกริยาคุณศัพท์ |
กริยานุเคราะห์ | (n) auxiliary verb, Syn. กริยาช่วย, Example: คำว่า คงจะ เป็นกริยานุเคราะห์, Thai Definition: คำในหมวดกริยาที่ใช้ประกอบกริยาอื่น เช่น จะ คง |
คำกริยาวิเศษณ์ | (n) adverb, Syn. วิเศษณ์, Example: คำกริยาวิเศษณ์ช่วยเน้นความหมายของคำกริยาวิเศษณ์ที่ปรากฏร่วมด้วยให้หนักแน่นขึ้น, Count Unit: คำ, Thai Definition: หมวดคำประเภทหนึ่ง ทำหน้าที่ขยายคำกริยา |
กริยาวิเศษณ์วลี | (n) adverbial phrase, Example: ฉันกำลังนึกประโยคที่มีคำกริยาวิเศษณ์วลี, Thai Definition: ข้อความที่มีคำกริยาวิเศษณ์ที่พ่วงบุรพบทเข้าขยายกริยา |
กริยาวิเศษณานุประโยค | (n) adverbial clause, Thai Definition: อนุประโยคที่ประกอบกริยาหรือวิเศษณ์ในประโยคความรวม |
กริยา | (กฺริยา, กะริยา) น. คำที่แสดงอาการของนามหรือสรรพนาม. |
กริยานุเคราะห์ | น. กริยาที่ใช้ช่วยกริยาอื่น เช่น คง จะ ถูก น่า, กริยาช่วย ก็ว่า. |
กริยาวิเศษณ์ | น. คำวิเศษณ์ใช้ประกอบคำกริยาหรือคำวิเศษณ์ด้วยกันให้มีความแปลกออกไป. |
กริยาวิเศษณ์วลี | น. ท่อนความที่มีคำกริยาวิเศษณ์ที่พ่วงบุรพบทเข้าขยายกริยา เช่น ม้าวิ่งไปข้างโน้น ความที่ขีดสัญประกาศนั้นเป็นกริยาวิเศษณ์วลี. |
กริยาวิเศษณานุประโยค | (-วิเสสะนานุปฺระโหฺยก) น. อนุประโยคที่ประกอบคำกริยาหรือคำวิเศษณ์ในสังกรประโยค, ประโยควิเศษณ์ ก็ว่า. |
สกรรมกริยา | (สะกำกฺริยา, สะกำกะริยา) น. กริยาที่มีกรรมหรือผู้ถูกกระทำมารับ เช่น ดื่มน้ำ เตะฟุตบอล. |
อกรรมกริยา | (อะกำกฺริยา, อะกำกะริยา) น. กริยาที่ไม่ต้องมีกรรมรับ เช่น ยืน เดิน นั่ง นอน. |
กรรตุการก | (กัดตุ-, กันตุ-) น. ผู้ทำหรือผู้ใช้ให้ทำ เป็นส่วนสำคัญส่วนหนึ่งใน ๒ ส่วนของประโยคที่ไม่ต้องมีกรรมมารับ เช่น เด็กวิ่ง เด็ก เป็น กรรตุการก หรือเป็นส่วนสำคัญส่วนหนึ่งใน ๓ ส่วนของประโยคที่กริยาต้องมีกรรมรับ เช่น ตำรวจยิงผู้ร้าย ตำรวจ เป็น กรรตุการก. |
กรรตุวาจก | (กัดตุ-, กันตุ-) ก. กริยาที่บอกว่าประธานเป็นกรรตุการกคือผู้ทำหรือผู้ใช้ให้ทำ, กริยาของประโยคที่แสดงว่าประธานทำหน้าที่เป็นกรรตุการกคือเป็นผู้ทำหรือผู้ใช้ให้ทำ เช่น ครูเขียนหนังสือ (ประธานเป็นผู้ทำ)ครูให้นักเรียนเขียนหนังสือ (ประธานเป็นผู้ใช้ให้ทำ). |
กรรม ๒, กรรม- ๒ | (กำ, กำมะ-) น. ผู้ถูกกระทำ เช่น คนกินข้าว ข้าว เป็นกรรมของกริยา กิน. |
กรรมการก | (กำมะ-) น. ผู้ถูกทำ เป็นส่วนสำคัญส่วนหนึ่งใน ๓ ส่วนของประโยคที่กริยาต้องมีกรรมรับ เช่น ตำรวจยิงผู้ร้าย ผู้ร้าย เป็น กรรมการก, ถ้าต้องการให้ผู้ถูกทำเด่น ก็เรียงเป็นภาคประธานของประโยค เช่น ผู้ร้ายถูกตำรวจยิง. |
กรรมวาจก | (กำมะ-) น. ระเบียบของกริยาที่บอกว่าประธานเป็นกรรมการกหรือผู้ถูกทำ, กริยาของประโยคที่แสดงว่าประธานทำหน้าที่เป็นกรรมการก คือ ผู้ถูกทำ, กริยาของประโยคกรรมต้องใช้สกรรมกริยา คือ กริยาที่ต้องมีกรรมรับ, บางทีก็มีกริยานุเคราะห์ “ถูก” นำ และใช้หมายไปในทางไม่ดี เช่น เด็กถูกตี ถูกตี เป็นกริยา กรรมวาจก เด็กเป็นกรรมการก แต่บางทีก็ไม่ปรากฏกริยานุเคราะห์ “ถูก” เช่น หนังสือเล่มนี้แต่งดีมาก. |
กระอ้อมกระแอ้ม | ว. อ้อมแอ้ม, ไม่ฉะฉาน, ไม่ชัดเจน, ไม่เต็มปาก, (ใช้แก่กริยาพูด). |
กรุณา | ใช้ประกอบหน้ากริยาแสดงความขอร้องอย่างสุภาพ เช่น กรุณาส่ง |
กัน ๒ | ว. คำประกอบท้ายกริยาของผู้กระทำตั้งแต่ ๒ คนขึ้นไป แสดงการกระทำร่วมกัน อย่างเดียวกัน หรือต่อกัน เช่น คิดกัน หารือกัน. |
การ ๑ | น. งาน, สิ่งหรือเรื่องที่ทำ, มักใช้เข้าคู่กับคำ งาน เช่น การงาน เป็นการเป็นงาน ได้การได้งาน, ถ้าอยู่หน้านาม หมายความว่า เรื่อง, ธุระ, หน้าที่, เช่น การบ้าน การครัว การคลัง การเมือง, ถ้าอยู่หน้ากริยา ทำกริยาให้เป็นนาม เช่น การกิน การเดิน. |
การก | (กา-รก) ก. กริยาที่ทำหน้าที่ประธาน กรรม หรือส่วนขยายของประโยคที่คล้ายกับนาม มี ๕ ชนิด คือ กรรตุการก กรรมการก การิตการก วิกัติการก และวิเศษณการก. |
การิตการก | (การิดตะ-) น. ผู้ถูกใช้ให้ทำ, เป็นประธานของประโยค เรียงไว้หน้ากริยา “ถูก-ให้” เช่น คนงานถูกนายจ้างให้ทำงานทั้งกลางวันและกลางคืน, ถ้ามิได้เป็นประธานก็เรียงไว้หลังบุรพบท “ยัง” หรือกริยานุเคราะห์ “ให้” เช่น นายจ้างยังลูกจ้างให้ทำงาน นายจ้างให้ลูกจ้างทำงาน. |
การิตวาจก | (การิดตะ-) ก. กริยาที่บอกว่าประธานเป็นการิตการกหรือผู้รับใช้, กริยาของประโยคที่แสดงว่าประธานทำหน้าที่เป็นการิตการก คือ เป็นผู้ถูกใช้ กริยาของการิตวาจกใช้กริยานุเคราะห์ “ถูก” “ถูก-ให้” หรือ “ถูกให้” เช่น ลูกจ้างถูกนายจ้างให้ทำงาน. |
เก้กัง, เก้ ๆ กัง ๆ | ว. ขวาง ๆ รี ๆ, กีดเกะกะ, (ใช้แก่กริยายืนและเดิน). |
แกล้ม | (แกฺล้ม) ว. ไปด้วยกัน, ควบคู่กันไป, แกมกัน, (ใช้แก่กริยากิน) เช่น กินแกล้มเหล้า. |
ขวานผ่าซาก | ว. โผงผางไม่เกรงใจใคร (ใช้แก่กริยาพูด). |
เขลง ๑ | (เขฺลง) ว. ทอดอารมณ์อย่างสบาย (ใช้แก่กริยานอน). |
เข้าให้ | ว. เน้นความเพื่อแสดงกริยาข้างหน้าให้มีนํ้าหนักขึ้นและเฉพาะเจาะจง เช่น ด่าเข้าให้ ชกเข้าให้. |
คลาน | กริยาที่ใช้มือทั้ง ๒ และเข่าทั้ง ๒ ทาบพื้นแล้วเคลื่อนไป เรียกว่า คลานสี่ตีน หรือ คลานสี่เท้า |
ควร | เป็นคำช่วยกริยาในความคล้อยตาม เช่น ควรทำ ควรกิน. |
ความ | คำนำหน้ากริยาหรือวิเศษณ์เพื่อแสดงสภาพ เช่น ความตาย ความดี ความชั่ว. |
ค่อย ๑, ค่อย ๆ ๑ | ว. ใช้ประกอบหลังนามหรือกริยา หมายความว่า ไม่ดัง, เบา, เช่น เสียงค่อย พูดค่อยเดินค่อย ๆ อย่าลงส้น |
ค่อย ๒, ค่อย ๆ ๒ | ว. ใช้นำหน้ากริยาหมายความว่า ไม่รีบร้อน, อย่างระมัดระวัง, ช้า ๆ, เช่น ค่อยคิด ค่อยทำ ค่อย ๆ เดิน. |
คำ ๒ | น. เสียงพูด, เสียงที่เปล่งออกมาครั้งหนึ่ง ๆ, เสียงพูดหรือลายลักษณ์อักษรที่เขียนหรือพิมพ์ขึ้นเพื่อแสดงความคิด โดยปรกติถือว่าเป็นหน่วยที่เล็กที่สุดซึ่งมีความหมายในตัว, ใช้ประกอบหน้าคำอื่นมีความหมายเช่นนั้น เช่น คำนาม คำกริยา คำบุรพบท |
เคย ๒ | ใช้เป็นคำประกอบหน้ากริยาแสดงว่ากริยานั้น ๆ ได้เป็นมาแล้ว เช่น เคยทำ = ได้ทำมาแล้ว เคยเห็น = ได้เห็นมาแล้ว, บางทีใช้พูดละกริยาที่ประกอบเสีย เหลือแต่ว่า เคย ก็มี เช่น เคยไปหรือไม่เคย ไม่เคยเลย. |
ใคร่ | ใช้เป็นคำช่วยกริยาแสดงการขอร้องอย่างสุภาพ เช่น ใคร่ขออนุญาตดำเนินการ. |
จง | เป็นคำช่วยกริยา บอกความบังคับ เช่น จงปฏิบัติตามระเบียบวินัย, หรือบอกความหวัง เช่น จงมีความสุขความเจริญ. |
จะ ๒ | เป็นคำช่วยกริยาบอกอนาคต เช่น จะไป จะอยู่. |
จัก ๒ | คำช่วยกริยาบอกกาลภายหน้า แสดงเจตจำนง เช่น จักกิน จักนอน. |
จุ่ง | ก. จง, คำช่วยกริยาบอกความบังคับหรือความหวัง. |
ฉะ ๑ | คำใช้แทนกริยาได้หลายอย่างแล้วแต่คำห้อมล้อม เช่น ฉะปาก หมายความว่า ต่อยปาก, ฉะข้าว หมายความว่า กินข้าว. |
ซิ, ซิ่, ซี | คำประกอบท้ายประโยคเพื่อเสริมข้อความให้เด่น ให้ชัด เป็นต้น, โดยมากใช้กับกริยาเป็นเชิงบังคับ เชิงชวน หรือรับคำเป็นต้น เช่น ไปซิ มาซิ ไปซิ่ มาซิ่ ไปซี มาซี, สิ ก็ว่า. |
ด้วย | ว. คำแสดงกริยารวมหรือเพิ่ม เช่น สวยด้วยดีด้วย, แสดงกริยาร่วมกันหรือในทำนองเดียวกัน เช่น กินด้วย, แสดงความขอร้อง เช่น ช่วยด้วย บอกด้วย. |
เด่ | ว. ใช้ประกอบคำกริยาบางคำเพื่อเน้นความหมายว่า ตรงตั้งขึ้น เช่น ชี้เด่ ตั้งเด่. |
เด่า, เด่า ๆ | ว. เร่า ๆ, (ใช้แก่กริยาดิ้น), ด่าว ก็ว่า. |
เดาะ ๑ | โดยปริยายใช้เรียกผู้ที่กำลังจะดี แต่กลับมีข้อบกพร่องเสียกลางคัน ใช้เป็นคำแทนกริยาหมายความว่า ทำแปลกกว่าธรรมดาสามัญ เช่น ร้อนจะตายเดาะเสื้อสักหลาดเข้าให้. |
โด่ | ว. ใช้ประกอบคำกริยาบางคำเพื่อเน้นความหมายว่า ตรงขึ้นไป หรือเด่นเห็นได้ชัดเจน เช่น นั่งหัวโด่ ตั้งโด่. |
ได้ | ใช้ประกอบท้ายคำกริยา มีความหมายต่าง ๆ แล้วแต่ความแวดล้อม คือ อาจ, สามารถ, เช่น เดินได้ เขียนได้ |
ได้ | คำช่วยกริยาบอกอดีต เช่น ได้กิน ได้ไป |
ต้วมเตี้ยม | ว. อาการที่ค่อย ๆ เคลื่อนไหวหรือเคลื่อนไหวอย่างช้า ๆ (ใช้แก่กริยาเดินหรือคลาน), โดยปริยายหมายความว่า ชักช้า เช่น เธอมัวแต่ต้วมเตี้ยมอยู่อย่างนี้ทำงานไม่ทันเพื่อนเขาหรอก, กระต้วมกระเตี้ยม ก็ว่า. |
ต้อง | เป็นกริยาช่วยบอกความแน่ใจหรือบังคับ เช่น เขาต้องมาแน่ เด็กต้องนอนแต่หัวค่ำ. |
ต๋อม | ว. เสียงอย่างของหนักขนาดเล็กตกลงไปในนํ้า, โดยปริยายหมายความว่า เงียบไป (ใช้แก่กริยาหาย ว่า หายต๋อม). |
ตะบัน ๑ | ว. คำประกอบกริยาหมายความว่า ไม่มียับยั้ง, เรื่อยไป, เช่น เที่ยวตะบัน เถียงตะบัน, ตะบันราด ก็ว่า. |
ตะบันราด | ว. คำประกอบกริยาหมายความว่า ไม่มียับยั้ง, เรื่อยไป, เช่น เที่ยวตะบันราด เถียงตะบันราด, ตะบัน ก็ว่า. |
activate | (vt) ทำให้เกิดปฏิกริยาตอบสนอง |
active | (adj) ซึ่งประธานเป็นผู้กระทำ(คำกริยา) |
activity | (n) การวัดความสามารถในการเกิดปฏิกริยาเคมี |
adv | (n) คำกริยาวิเศษณ์ (คำย่อของ adverb), See also: คำช่วยกริยา |
adverb | (n) คำวิเศษณ์, See also: คำกริยาวิเศษณ์, คำที่ทำหน้าที่ขยายกริยา คุณศัพท์ หรือคำกริยาวิเศษณ์ด้วยกันเอง |
adverbial | (adj) เกี่ยวกับกริยาวิเศษณ์ |
adverbial | (n) คำวิเศษณ์, See also: คำกริยาวิเศษณ์, คำหรือกลุ่มคำที่ทำหน้าที่เป็นกริยาวิเศษณ์ |
adverbial clause | (n) กริยาวิเศษณานุประโยค |
adverbial phrase | (n) กริยาวิเศษณ์วลี |
agent | (n) ตัวกระทำ, See also: สารที่ส่งผล, สารที่ทำให้เกิดปฏิกริยาเคมี |
agreement | (n) ความสอดคล้องทางไวยากรณ์, See also: ความสอดคล้องระหว่างประธานและกริยา |
arose | (vi) กริยาช่องสองของ arise |
ate | (vt) กริยาช่อง 2 ของ eat |
ate | (vi) กริยาช่อง 2 ของ eat |
auxiliary verb | (n) กริยานุเคราะห์, See also: กริยาช่วย |
as good as done | (idm) เกือบจะเสร็จ (อาจใช้กริยาอื่นแทน done ได้เช่น cooked, painted ฯลฯ) |
at home with | (idm) (รู้สึก) สุขสบาย (มักใช้คำกริยา be หรือ feel) (คำไม่เป็นทางการ) |
babysat | (vt) กริยาช่องที่ 2 ของ babysit |
bade | (vt) กริยาช่องที่ 2 ของ bid |
began | (vi) กริยาช่องที่ 2 ของ begin, See also: เริ่มต้น, เริ่ม, Syn. start |
begot | (vt) ก่อให้เกิด (กริยาช่องที่ 2 ของ beget) |
begotten | (vt) ก่อให้เกิด (กริยาช่องที่ 3 ของ beget) |
begun | (vi) กริยาช่องที่ 3 ของ begin |
beheld | (vi) มอง (กริยาช่องที่ 2 ของ behold), See also: เห็น |
besought | (vt) กริยาช่องที่ 2 และ 3 ของ beseech |
bode | (vt) กริยาช่องที่ 2 และ 3 ของ bide |
bitten | (vt) กริยาช่องที่ 3 ของ bite |
blew | (n) กริยาช่องที่ 2 ของ blow |
blown | (vi) กริยาช่องที่ 3 ของ blow |
bode | (vt) กริยาช่องที่ 2 ของ bide |
bodily movement | (n) อิริยาบถ, See also: กริยาท่าทาง |
borne | (vt) กริยาช่องที่ 3 ของ bear |
bought | (vt) กริยาช่องที่ 2 ของ buy |
break | (vt) กริยาช่องที่ 2 ของคำกริยา break, See also: แตกหัก, Syn. cracked |
break | (vt) กริยาช่องที่ 3 ของคำกริยา break, See also: แตกหัก, Syn. cracked |
brought | (vt) กริยาช่องที่ 2 ของคำกริยา bring, Syn. took |
built | (vt) กริยาช่องที่ 2 และ 3 ของ build |
came | (vi) กริยาช่องที่ 2 ของ come |
caught | (vi) กริยาช่อง 2 และ 3 ของ catch |
caught | (vt) กริยาช่อง 2 และ 3 ของ catch |
chose | (vt) กริยาช่อง 2 ของ choose |
chose | (vi) กริยาช่อง 2 ของ choose |
chosen | (vt) กริยาช่อง 3 ของ choose |
chosen | (vi) กริยาช่อง 3 ของ choose |
clove | (vi) แยกออก (กริยาช่อง2 ของ cleave) |
clove | (vt) แยกออก (กริยาช่อง2 ของ cleave) |
clung | (vi) กริยาช่องที่สองและสามของ cling |
content word | (n) คำแสดงเนื้อหา (ทางไวยากรณ์ เช่น คำนาม คำกริยา คำคุณศัพท์ เป็นต้น), Syn. open-class word |
could | (aux) กริยาช่องที่ 2 ของกริยาช่วย can, See also: สามารถ |
crept | (vi) กริยาช่องที่ 2 และ 3 ของ creep |
a- | ใช้นำหน้าคำนามให้เป็นกริยาวิเศษณ์, จาก, ออก, จาก, ไม่ |
abode 2 | (อะโบด') vi., vt. กริยาช่อง 2 และ 3 ของ abide, Syn. residence, dwelling |
acid-forming | (แอส' ซิดฟอร์มมิง) adj. ให้กรด (ในปฏิกริยาเคมี) (yielding acid) |
actomyosin | (แอคโทไม' โอซิน) n., Biochem. โปรตีนเชิงซ้อนที่เป็นส่วนประกอบสำคัญของกล้ามเนื้อลายหรือกล้ามเนื้อกระดูก มันทำปฏิกริยากับ ATP ทำให้กล้ามเนื้อบีบตัวได้ (a complex protein) |
adverbial | (แอดเวอ' เบียล) adj. เกี่ยวกับหรือทำหน้าที่เป็นกริยาวิเศษณ์ (of an adverb) |
albuminate | (แอลบู' มิเนท) n. สารประกอบที่เกิดจากปฏิกริยาของ albumin กับด่างหรือกรด |
aluminothermy | (อะลู' มิโนเธอมี) n. ขบวนการเพิ่มอุณหพูมิให้สูง โดยการให้ผงอะลูมิเนียมทำปฏิกริยากับอ็อกซิเจนที่ได้จากอ๊อคไซด์โลหะอื่น., Syn. aluminothermics |
amyloid | (แอม' มิลอยด์) n. ผลิตผลชนิดหนึ่งจากปฏิกริยาของกรดกำมะถันกับเซลลูโลส, อาหารที่ประกอบด้วยแป้งเป็นส่วนใหญ่. -adj. ซึ่งคล้ายแป้ง |
aorist | (เอ'อะริสท) n. กาลกริยาในไวยากรณ์, -adj. เกี่ยวกับ aorist (a verb tense) |
arcked | (อาร์คท) กริยาช่อง 2 และ 3 ของ arc |
arcking | (อาร์'คิง) กริยาช่อง 3 ปัจจุบันของ arc |
art 1 | (อาร์ทฺ) v. กริยาปัจจุบันของ be บุรุษที่ 2 ใช้กับ thou |
autocatalysis | (ออโทคะแทล'ลิซิส) n., (pl. -ses) ภาวะที่เพิ่มขึ้นของปฏิกริยาทางเคมีเนื่องจากตัวกระตุ้น (catalyst) ที่เกิดขึ้น. -autocatalytic adj. |
auxiliary verb | กริยานุเคราะห์ |
basophils | เป็นเม็ดเลือดขาวที่มีแกรนูล มีจำนวนน้อยมากประมาณ 0-1.6 % มีหน้าที่ในการซ่อมแซมเนื้อเยื่อ เกี่ยวกับการอักเสบ มีความสำคัญต่อปฏิกริยา antigen antibody คือจะทำให้ basophils แตกออกแล้วปล่อย histamine ออกมา |
beck | (เบค) { becked, becking, becks } n. อากัปกริยาที่เรียก (เช่นกวักมือ, ผงกศีรษะ) vt., vi. เรียก (พยักหน้า, กวักมือ, ฯลฯ) |
begot | (บิกอท') กริยาช่อง 2 และ 3 ของ beget |
begotten | (บิกอท'เทิน) กริยาช่อง 3 ของ beget |
begun | (บิกัน') กริยาช่อง 3 ของ begin |
beheld | (บิเฮลดฺ') กริยาช่อง 2 และ 3 ของ behold |
bereft | (บิเรฟทฺ') กริยาช่อง 2 และ 3 ของ bereave. adj. ถูกคร่าไป, ซึ่งสูญเสียไป |
besought | (บิซอทฺ') กริยาช่อง 2 และ 3 ของ beseech |
bespoke | (บิสโพค') กริยาช่อง 3 ของ bespeak adj. ทำตามที่ลูกค้าสั่ง, ทำโดยเฉพาะ, ซึ่งหมั้นไว้แล้ว, Syn. custom-made |
bespoken | (บิสโพ'เคิน) กริยาช่อง 3 ของ bespeak |
bethought | (บิธอทฺ') กริยาช่อง 2 และ 3 ของ bethink |
bid | (บิด) { bade/bid, bidden/bid, bidding, bids } vt., n. (การ) ออกคำสั่ง, สั่ง, กล่าว, บอก, ให้ราคา, ประมูลราคา, เชื้อเชิญ, ประกาศอย่างเปิดเผย, รับเป็นสมาชิก, ความพยายามเพื่อให้ได้มา vi. ออกคำสั่ง, กริยาช่อง 3 ของ bide, See also: bidder n. ดู bid -Conf. bade |
bidden | (บิด'เดิน) กริยาช่อง 3 ของ bid |
bit | (บิท) 1. n. ดอกสว่าน, สิ่งค้ำ, ของเล็ก ๆ น้อย ๆ , ครู่เดียว, การกระทำ, บทบาทเล็กน้อย, เหรียญเล็ก ๆ , หน่วย, กริยาช่อง 2 และ 3 ของ bite, บิต, 2. ในระบบเลขฐาน 2 หมายถึงตัวเลข 0 และ 1, หน่วยข้อมูลที่เล็กที่สุด โดยที่หนึ่งบิตจะต้องเพียงพอต่อการบอกความแตกต่างระหว่างข้อมูลประเภท "ใช้" ในปัจจุบันมักใช้บิตเป็นหน่วยวัดตัวประมวลผล (microprocessor) ของไมโครคอมพิวเตอร์ ว่าเป็นขนาด 8 บิต 16 บิต หรือ 32 บิต ถ้าจัดบิตเป็นชุดที่เรียกว่าไบต์ (byte) ซึ่งปกติจะมี 8 บิต จะใช้เป็นรหัสเก็บข้อมูลต่าง ๆ ได้ ไม่ว่าจะเป็นตัวเลข ตัวอักษร ฯ ดู byte ประกอบ |
bled | (เบล็ด) กริยาช่อง 2 และ 3 ของ bleed |
blent | (เบลนทฺ) v. กริยาช่อง 2 และ 3 ของ blend |
bode | (โบด) { boded, boding, bodes } vt., vi. เป็นลาง, เป็นนิมิต, ทำนาย, กริยาช่อง 2 ของ bide, See also: bodement n. |
borne | (บอร์น) v. กริยาช่อง 3 ของ bear -Conf. born |
bred | vi. กริยาช่อง 2 และ 3 ของ breed |
broke | (โบรค) กริยาช่อง 2 ของ break adj. ไร้เงิน, ล้มละลาย, Syn. impoverished |
broken | (โบร'เคิน) vi. กริยาช่อง 3 ของ break adj. เป็นชิ้นเล็กชิ้นน้อย, ไม่เรียบ, อ่อนกำลัง, ยอมเชื่อ, พูดอย่างไม่สมบูรณ์, ขรุขระ, แตกแยก, See also: brokenness n. ดูbroken, Syn. split, damaged, sudued |
brought | (บรอท) v. กริยาช่อง 2 ของ bring |
built | (บิลทฺ) vi., vt. กริยาช่อง 2 และ 3 ของ build adj. ซึ่งประกอบขึ้น, มีรูปร่างที่ดี |
burnt | (เบอร์นทฺ) กริยาช่อง 2 และ 3 ของ burn adj. เกี่ยวกับสีน้ำตาลเข้ม, ซึ่งไหม้เกรียม, ซึ่งถูกลวกหรือไฟไหม้บาดเจ็บ |
by-past | adj. อดีต v. กริยาช่อง 2และ3ของby-pass |
charter | (ชาร์'เทอะ) { chartered, chartering, charters } n. ตราตั้ง, กฎบัตร, กฎหมาย, สัญญาเช่าเรือ, สัญญาเช่า, สิทธิพิเศษ, สิทธิยกเว้น, หนังสือรับรอง, ประกาศนียบัตร -vt. อนุญาตด้วยตราตั้ง, ให้สิทธิพิเศษ. -adj. เช่ามา, เหมา, See also: charterer n. -Conf. chartered กริยาช |
chose | (โชส) v., n. กริยาช่อง 2 ของ choose, สิ่งของ, สังหาริมทรัพย์ |
chosen | (โซ'เซิน) n. กริยาช่อง 3 ของ choose adj. เลือกสรรแล้ว |
clad | (แคลด) v. v. กริยาช่อง 2และ3ของclothe, หุ้มโลหะด้วยโลหะ, ปกคลุม, หุ้ม |
clapt | (แคลพทฺ) v. กริยาช่อง 2 หรือ3ของclap |
claspt | v. กริยาช่อง 2 และ 3 ของ clasp |
clave | (เคลฟว) v. กริยาช่อง 2 cleave |
cleft | (เคลฟทฺ) { clefted, clefting, clefts } n. ร่อง, รอยแยก, ช่องที่แตก v. กริยาช่อง 2 และช่อง 3 ของ cleave. adj. ซึ่งแตกร้าว, ซึ่งแตกแยกออก, ซึ่งแบ่งแยกออก |
clept | (เคลพทฺ) v. กริยาช่อง 2 ของ clepe |
clipt | (คลิพทฺ) v. กริยาช่อง 2 ของ clip |
clomb | (โคลม) v. กริยาช่อง 2 และ 3 ของ climb |
deemed | (vt) เป็นกริยาช่อง 2 ของคำว่า deem แปลว่า "คิดว่า" |
hove | [โฮฟว] กริยาช่องที่ 2 เเละ 3 ของ heave |
hove | [โฮฟว] (vi) กริยาช่องที่ 2 เเละ 3 ของ heave |
hove | [โฮฟว] (vt) กริยาช่องที่ 2 เเละ 3 ของ heave |
hove | [โฮฟว] (vi) กริยาช่องที่ 2 ของ heave |
hove | [โฮฟว] (vt) กริยาช่องที่ 2 ของ heave |
hoven | [โฮ'เวิน] (vi) กริยาช่องที่ 3 ของ heave |
hoven | [โฮ'เวิน] (vt) กริยาช่องที่ 3 ของ heave |
laight | [เลท] (vi) กริยาช่องที่ 2 เเละ 3 ของ latch |
ran | [เเรน] (vi) กริยาช่องที่ 2 ของ rin |
raught | [รอท] (vi) กริยาช่อง 2 และ 3 ของ reach (ปัจจุบันเลิกใช้เเล้ว) |
raught | [รอท] (vt) กริยาช่อง 2 เเละ 3 ของ reach (ปัจจุบันเลิกใช้เเล้ว) |
replied | (vt) กริยาช่อง 2 และ 3 ของคำว่า reply ตอบกลับ, ตอบ |
run | [รัน] (vi) กริยาช่องที่ 3 ของ rin |
simplified | [ซิมพลิไฟด์] (vi) กริยาช่องที่ 2 ของ simplify |
snarled | (vt) เป็นกริยาช่อง 2 และ 3 ของคำว่า snarl ขู่, ตะคอก, คำราม |
weave | [โวฟว] (vt) กริยาช่องที่ 2 เเละ 3 ของ weave |
wove | [โวฟว] (vi) กริยาช่องที่ 2 เเละ 3 ของ weave |
wove | [โวฟว] (vt) กริยาช่องที่ 2 เเละ 3 ของ weave |
wove | [โวฟว] (vi) กริยาช่องที่ 2 ของ heave |
wove | [โวฟว] (vt) กริยาช่องที่ 2 ของ heave |
wove | [โวฟว] (vi) กริยาช่องที่ 2 ของ weave |
wove | [โวฟว] (vt) กริยาช่องที่ 2 ของ weave |
woven | [โว'เวิน] (vi) กริยาช่องที่ 3 ของ weave |
woven | [โว'เวิน] (vt) กริยาช่องที่ 3 ของ weave |
แรด | (n, vt) N = บุคคลที่แสดงกริยาท่าทางในเชิงลบ ในเรื่องหรือ/และการกระทำต่อเพศตรงข้าม คำนี้มีความหมายตรงข้ามเรียบร้อย เช่น สมศรีแรดมาก S = สามารถใช้เป็นคำแสลง เพื่อแสดงออกในกริยา เช่น วันนี้เค้าไปแรดมา เห็นว่าได้เสื้อมา 2 ตัว (แรด ในที่นี้มีความหมายว่า ไปซื้อของ), See also: A. เรียบร้อย, Syn. กระซู่ |
hatte | (vt) |กริยารูปอดีตที่เรียกว่า Präteritum ของ haben: ich/er/sie/es hatte, du hattest, wir/sie/Sie hatten, ihr/Ihr hattet| มี, See also: haben |
hieß | (vt) |กริยารูปอดีตที่เรียกว่า Präteritum ของ heißen: ich hieß, du hießt/hießtest, er/sie/es hieß, wir/Sie/sie hießen, ihr/Ihr hießt| มีชื่อว่า, See also: heißen |
indem | (konj) |กริยาอยู่ท้ายอนุประโยค| โดย, ด้วย เช่น Man lernt, indem man etwas ausprobiert. คนเราเรียนรู้ด้วยการลองด้วยตนเอง |
lassen | ยอมให้ (คล้าย let ในภาษาอังกฤษ) (กรณีกริยาช่วย) |
lassen | วางไว้ ปล่อยไว้ (คล้าย let ในภาษาอังกฤษ) (กรณีกริยาแท้) | ließ, gelassen | |
würde | จะ- (รูป Konjunctiv II) (กรณีเป็นกริยาช่วย), See also: werden |
würden | จะ- (รูป Konjunctiv II) (กรณีเป็นกริยาช่วย), See also: werden |
werden | กลายเป็น (กรณีเป็นกริยาแท้) |wurde, geworden| |
werden | จะ- (กรณีเป็นกริยาช่วย) |
wird | กลายเป็น (กรณีเป็นกริยาแท้), See also: werden |
wird | จะ- (กรณีเป็นกริยาช่วย), See also: werden |
schweigen | (vi) |schwieg, hat geschwiegen| นิ่งเงียบ และ ไม่แสดงความคิดเห็น หรือ ไม่เปิดเผยในสิ่งที่รู้ หรือ ไม่ตอบ ก็เป็นได้ นะเนี่ย ตัวอย่างการใช้ คำ 1° Du solltest auf all seine Fragen schweigen! = เธออย่าได้ตอบคำถามของเขาเชียวนะ แม้จะคำถามเดียวก็เหอะ (นั่น เป็นงั้นไปได้, ยังกะในละคร แนะ ) 2° Darüber sollten wir lieber schweigen. = ผมเห็นว่า พวกเราน่าจะนิ่งเฉยกับเรื่องนี้เอาไว้ดีกว่านะ ( เพิ่มเติม, ผู้พูดแนะนำให้ทำ ดังนั้นเขาจึง ใช้กริยาเป็น sollten เช่น solltest ในตัวอย่างที่ 1 ด้วยเหมือนกัน ) 3° Sebastian, er steht schweigend vor seinen Eltern. = เซบาสเทียน, เขายืนนิ่ง ไม่พูดอะไรสักคำต่อหน้าพ่อแม่ของเขา ( กริยา Infinitiv เติมด้วย d จะทำหน้าที่เป็น Adjektiv หรือ Adverb เช่นคำว่า schweigend ในประโยค ตัวอย่าง ), See also: verheimlichen, A. verraten, antworten, sagen, Syn. still sein |
sich äußern | (vt) |äußerte sich, hat sich geäußert| พูด หรือ แสดงความคิดเห็น เช่น Ich möchte mich über unsere Teamarbeit äußern. = ผมอยากจะแสดงความเห็นในเรื่องงานที่เราทำด้วยกัน หรือ งานกลุ่ม ( กริยา ตามด้วย กรรมตรง เช่น mich ในประโยคตัวอย่าง ), See also: meinen, sagen, das Gefühl erklären, die Meinung geben, A. schw, Syn. die Meinung sagen |
haben | |ich habe, du hast, er/sie/es hat, wir/sie/Sie haben, ihr/Ihr habt| เป็นกริยาช่วยในประโยคที่บ่งเหตุการณ์ในอดีตแบบ Perfekt โดยท้ายประโยคตามด้วยกริยารูปที่เรียกว่า Partizip 2 เช่น Ich habe gestern viel gearbeitet. เมื่อวานผมทำงานมาก |
sein | |ich bin, du bist, er/sie/es ist, wir/sie/Sie sind, ihr/Ihr seid| เป็นกริยาช่วยในประโยคที่บ่งเหตุการณ์ในอดีตแบบ Perfekt โดยท้ายประโยคตามด้วยกริยารูปที่เรียกว่า Partizip 2 ที่ส่วนมากเป็นกริยาที่บ่งการเคลื่อนไหว เช่น Letztes Jahr bin ich zum ersten Mal nach Japan geflogen. ปีที่แล้วฉันบินไปญี่ปุ่นเป็นครั้งแรก, See also: Related: haben |
können | |kann, konnte, gekonnt| สามารถ (เป็นกริยาช่วย ท้ายประโยคตามด้วยกิริยารูปปกติที่ไม่ผัน) เช่น Kannst du mir einen Rat geben? เธอสามารถให้คำแนะนำฉันได้ไหม |
vor | (prep) |+D สถานที่ (เมื่อกริยาไม่ได้บ่งอาการเคลื่อนไหว)| ข้างหน้า, หน้า เช่น Wir treffen uns vor dem Kino. พวกเราเจอกันที่หน้าโรงหนังนะ |
auf | (prep) |+A เมื่อกริยาบ่งอาการเคลื่อนไหว| บน, ข้างบน เช่น Die Fahrgäste legen ihr Gepäck auf die Gepäckablage. ผู้โดยสารวางสัมภาระบนที่วางกระเป๋า |
in | (prep) |+D เมื่อกริยาไม่บ่งอาการเคลื่อนไหว| ที่ เช่น Der Zug hält in Spanien. รถไฟจอดที่สเปน (ชื่อประเทศส่วนใหญ่ไม่มีคำนำหน้านามหรือ Artikel) |
werden | (vi) |ich werde, du wirst, er/sie/es wird, sie/Sie werden, ihr/Ihr werdet, wurde + Partizip 2 ท้ายประโยค| ถูก(กระทำ) เป็นกริยาช่วยในประโยคที่ประธานถูกกระทำ เช่น Werden Sie schon bedient? คุณถูก(ได้รับ)บริการแล้วหรือยังครับ |
werden | (vi) |ich werde, du wirst, er/sie/es wird, sie/Sie werden, ihr/Ihr werdet, + infinitiv ท้ายประโยค| จะ (เป็นกริยาช่วยในไวยากรณ์อนาคตบ่งว่าจะทำอะไร) เช่น Nächste Woche werde ich in den Alpen skifahren. สัปดาห์หน้าฉันจะไปเล่นสกีที่เทือกเขาแอลป์ |
lassen | |läßt, ließ, hat gelassen, ตามด้วยกิริยาที่ไม่ผันรูปท้ายประโยค| เป็นกริยาช่วยใช้บ่งว่า กรรมของประโยคถูกกระทำ ซึ่งเป็นอีกรูปหนึ่งของ Passivbildung เช่น Man ließ drei Häuser bauen. = Es wurden drei Häuser gebaut. |
eine Menge | |+ กริยาเอกพจน์ ไม่ว่าจะตามด้วยคำนามเอกพจน์หรือพหูพจน์| จำนวนมาก เช่น Herr Müller hat eine Menge Geld., Eine Menge Leute haben die Ausstellung besucht. |
weil | (konj) |กริยาอยู่ท้ายประโยค| เพราะว่า เช่น Andrea bleibt daheim, weil sie ihrer Mutter im Haushalt helfen will. อันเดรียอยู่บ้านเพราะเธออยากช่วยแม่ทำงานบ้าน, See also: Related: denn, da |
da | (konj) |กริยาอยู่ท้ายประโยค| เพราะว่า เช่น Sie braucht eine kleinere Wohnung, da sie allein ist., See also: A. darum, deswegen, Syn. weil |
deswegen | (konj) |กริยาอยู่เป็นอันดับสอง| ดังนั้น, จึง เช่น Es ist stürmisch, deswegen bleiben wir zu Hause. ลมพายุพัดแรง ดังนั้นเราเลยอยู่บ้านกัน, See also: daher, deshalb, A. weil, da, denn, Syn. darum |
nachdem | (konj) |กริยาอยู่ท้ายประโยค| หลังจาก เช่น Nachdem ich mit dir telefoniert habe, arbeite ich weiter. หลังจากที่ฉันโทรศัพท์กับเธอ ฉันทำงานต่อ |
sollen | |soll, sollte, hat gesollt| ควร (เป็นกริยาช่วย บ่งความต้องการ, คำสั่ง, ข้อควรทำ) เช่น Man soll nicht stehlen., Soll ich dir das Buch mal zeigen? |
müssen | |muß, mußte, hat gemußt| ต้อง (เป็นกริยาช่วย บ่งความจำเป็น, การบังคับ) เช่น Du muß dich erst mal ausruhen!, Alle Menschen müssen sterben. |
fressen | (vt) |frisst/frißt, fraß, hat gefressen| กิน เป็นกริยาที่ใช้กับสัตว์ ไม่ใช้กับคน เช่น Der Hund frisst gerade ein Stück Fleisch. หมากำลังกินชิ้นเนื้อ |
Edelmetall | (n) |das, pl. Edelmetalle| โลหะมีค่าที่ทนต่อการผุกร่อนและทนปฏิกริยาอ็อกซิเดชัน ส่วนใหญ่เป็นโลหะที่หายาก เช่น ทองคำ เงิน แทนทาลัม และแพลตินัม เป็นต้น |