กระดอ | (n) penis, See also: prick, cock, peter, Syn. กระจู๋, จู๋, Thai Definition: เป็นคำที่ใช้เรียกอวัยวะเพศชาย |
กระดอง | (n) carapace, See also: shell, Example: เต่าจะหดหัวและขาอยู่ในกระดองของมันเพื่อหลบภัย, Count Unit: กระดอง, ฝา, Thai Definition: ส่วนแข็งที่หุ้มตัวสัตว์บางชนิดเช่น เต่า ปู หรือ แมงดาทะเล |
กระดอง | (n) shell of a tortoise, See also: carapace, Example: ไทยมีกฎหมายห้ามจับห้ามส่งกระดองเต่าเป็นสินค้าออกและห้ามครอบครองซากเพื่อทำการค้าอย่างเด็ดขาด, Thai Definition: ส่วนแข็งที่หุ้มตัวสัตว์บางชนิดเช่น เต่า ปู หรือ แมงดาทะเล |
กระดอน | (v) bounce, See also: ricochet, rebound, leap, Syn. เด้ง, Example: ลูกบอลกระดอนจากพื้นขึ้นมา, Thai Definition: สะท้อนขึ้น |
กระดองหาย | (n) an implement for spreading straw out on the threshing floor, See also: hayfork, Thai hayrack or hayscatterer, Syn. คันฉาย, ดองฉาย, ขอฉาย, ดองหาย, Example: ชาวนาทะเลาะวิวาทและตีกันด้วยไม้กระดองหายเพราะตกลงเรื่องเขตแดนกันไม่ได้, Count Unit: คัน, Thai Definition: ไม้สำหรับสงฟางในเวลานวดข้าว |
กระดอ | น. อวัยวะสืบพันธุ์ของชายหรือสัตว์เพศผู้บางชนิด. |
กระดอง | น. ส่วนแข็งที่หุ้มสัตว์บางชนิดเช่น เต่า ปู หรือแมงดาทะเล, พายัพว่า ออง. |
กระดองหาย | น. ไม้สำหรับสงฟางในเวลานวดข้าว เช่น ด่าตีกันด้วยเคียวไม้กระตักและไม้กระดองหาย (ลักษณะธรรมนูญ), ดอง ดองหาย ดองฉาย ขอฉาย หรือ คันฉาย ก็เรียก. |
กระดอน | ก. สะท้อนขึ้น. |
กระดอม | น. ชื่อไม้เถาเนื้ออ่อนชนิด Gymnopetalum chinense (Lour.) Merr. ในวงศ์ Cucurbitaceae เถา ๕ เหลี่ยม มีมือจับ ผล ๑๐ เหลี่ยม สุกสีส้ม มีรสขม ใช้ทำยาได้, ขี้กาดง หรือ ขี้กาเหลี่ยม ก็เรียก. |
กระฉอก | ก. อาการที่ของเหลวเช่นนํ้าเป็นต้นกระเพื่อมอย่างแรงหรือล้นหกเพราะความสั่นสะเทือน, (ปาก) กระดอนหรือกระเด้ง เช่น ลูกบอลกระฉอกออกจากมือผู้รักษาประตู. |
กระเด้ง | ก. ดีดหรือดันขึ้นเมื่อถูกกดหรือถูกบีบเป็นต้น, กระดอนขึ้น |
กระท้อน ๒ | ก. กระเด็นกลับ, กระดอนขึ้น. |
กระอาน | น. ชื่อเต่านํ้ากร่อยขนาดใหญ่ชนิด Batagur baska (Gray) ในวงศ์ Emydidae จมูกแหลมงอนคล้ายตะพาบ เมื่อยังเล็กกระดองค่อนข้างแบน เมื่อโตขึ้นกระดองโค้งรี เพศเมียหัวและกระดองสีน้ำตาล เพศผู้หัวและกระดองสีดำตาสีขาว ตีนมีพังผืดเต็ม สามารถปรับตัวอยู่ในนํ้าจืดได้ พบในบริเวณที่มีน้ำไหลทางภาคใต้โดยเฉพาะแถบจังหวัดสตูล, กะอาน ก็เรียก. |
ขอฉาย | น. ไม้สำหรับสงฟางในเวลานวดข้าว, กระดองหาย คันฉาย ดอง ดองฉาย หรือ ดองหาย ก็เรียก. |
ขี้กาดง | ดู กระดอม. |
ขี้กาเหลี่ยม | ดู กระดอม. |
คันฉาย ๒ | น. ไม้สำหรับสงฟางในเวลานวดข้าว, กระดองหาย ขอฉาย ดอง ดองฉาย หรือ ดองหาย ก็เรียก. |
จะละเม็ด ๒ | น. ชื่อเต่าทะเลชนิด Caretta caretta Linn. ในวงศ์ Cheloniidae หัวโตกว่าเต่าทะเลชนิดอื่น เกล็ดกระดองหลังแถวข้างมี ๕ ชิ้น กระดองสีนํ้าตาลหรือนํ้าตาลแดง ท้องสีขาวครีม พบในมหาสมุทรแปซิฟิก เขตนํ้าอุ่นของมหาสมุทรแอตแลนติกและมหาสมุทรอินเดีย พบน้อยในอ่าวไทย, เรียกไข่เต่าทะเลทุกชนิด ว่า ไข่จะละเม็ด. |
เจ้าฟ้า ๒ | น. ชื่อปูน้ำจืดชนิด Phricotelphusa sirindhorn Naiyanetr ในวงศ์ Potamidae กระดองและขาก้ามสีขาว เบ้าตาและขาสีม่วงอมดำ อาศัยอยู่บริเวณน้ำตกตามซอกหินบนภูเขาระดับสูง พบในจังหวัดระนอง ราชบุรี และเพชรบุรี. |
ดอง ๓ | น. ไม้สำหรับสงฟางในเวลานวดข้าว, กระดองหาย ขอฉาย คันฉาย ดองฉาย หรือ ดองหาย ก็เรียก. |
ดองฉาย, ดองหาย | น. ไม้สำหรับสงฟางในเวลานวดข้าว, ดอง กระดองหาย ขอฉาย หรือ คันฉาย ก็เรียก. |
ดำ ๔ | น. ชื่อปูทะเลชนิด Scylla serrata (Forskål) ในวงศ์ Portunidae กระดองมีสีดำ ขาหลังคู่สุดท้ายแบนคล้ายใบพายใช้ว่ายน้ำ, ปูทะเล ก็เรียก. |
เด้ง | ก. ดีดหรือดันขึ้นเมื่อถูกกดหรือถูกบีบเป็นต้น, กระดอนขึ้น |
ตรีอมฤต | (-อะมะริด, -อะมะรึด) น. พิกัดตัวยาประเภทหนึ่งในตำรายาไทย จำกัดจำนวนตัวยาอันมีรสเลิศ ๓ อย่าง คือ รากกล้วยตีบ รากกระดอม รากมะกอก. |
ตะพาบ ๑, ตะพาบน้ำ | น. ชื่อเต่านํ้าจืดกระดองอ่อนหลายชนิดหลายสกุล ในวงศ์ Trionychidae กระดองไม่มีเกล็ดเป็นแผ่นหนังอ่อนนิ่มมีเชิงแผ่กว้าง หลายชนิดมีจมูกยื่นยาว บางชนิดจมูกสั้น ตีนเป็นแผ่นแบนคล้ายพาย ชนิดที่พบมาก ได้แก่ ตะพาบสวน [ Amyda cartilageneus (Boddaert) ] ชนิดที่พบน้อย ได้แก่ ม่านลาย ( Chitra chitra Nutphand), กริว กราว หรือ ปลาฝา ก็เรียก, ปักษ์ใต้ เรียก จมูกหลอด. |
เต่า ๑ | น. ชื่อสัตว์เลื้อยคลานหลายวงศ์ ในอันดับ Testudines คอยาว ลำตัวสั้น มีกระดองหุ้ม กระดองมีทั้งที่เป็นแผ่นเกล็ดแข็งและที่เป็นแผ่นหนัง ขาและหางสั้นส่วนใหญ่หดเข้าไปในกระดองได้ มีถิ่นอาศัยต่าง ๆ กัน ที่อยู่บนบก เช่น เต่าเหลือง ที่อยู่ในนํ้าจืด เช่น เต่านา ที่อยู่ในทะเล เช่น เต่าตนุ พวกที่มีหนังหุ้มกระดองเรียก ตะพาบ เช่น ตะพาบสวน. |
เต่าดำ | น. ชื่อเต่านํ้าจืดชนิด Siebenrockiella crassicollis (Gray)ในวงศ์ Emydidae หัวสีดำมีแต้มสีขาวที่ขมับ กระดองหลังสีดำกว่าเต่าชนิดอื่น ๆ อาศัยตามโคลนเลนบนพื้นท้องน้ำ, ดำแก้มขาว ก็เรียก. |
เต่าเดือย | น. ชื่อเต่าบกชนิด Manouria impressa (Günther) ในวงศ์ Testudinidae ขาไม่ปรากฏนิ้วให้เห็น ขาหลังมีลักษณะคล้ายขาช้าง ระหว่างโคนขาหลังกับโคนหางทั้งสองข้างมีเดือยแหลมข้างละ ๑ เดือย ลักษณะคล้ายหนามยื่นออกมาจากผิวหนัง กระดองสีเหลืองส้มปนน้ำตาล มีแผ่นเกล็ดบางส่วนโปร่งใส ตัวเต็มวัยมีความยาวกระดองหลัง ๒๕-๓๐ เซนติเมตร จัดเป็นเต่าบกที่สวยงามชนิดหนึ่ง กินเห็ดป่านานาชนิด อาศัยอยู่ตามเขาสูงที่เป็นป่าดิบเขา พบทางภาคเหนือ ตอนเหนือของภาคตะวันตก และตอนเหนือของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, ควะ ก็เรียก. |
เต่าตนุ | (ตะหฺนุ) น. ชื่อเต่าทะเลชนิด Chelonia mydas (Linn.) ในวงศ์ Cheloniidae เกล็ดกระดองหลังแต่ละเกล็ดมีลายเป็นทางคล้ายแสงอาทิตย์ จึงมีผู้เรียกว่า เต่าแสงอาทิตย์ ตีนแบนเป็นพาย ตีนหน้าใหญ่ยาวใช้เป็นหลักในการว่ายน้ำ ปรกติอาศัยอยู่ในทะเล จะขึ้นมาตามชายหาดเฉพาะเมื่อจะวางไข่เท่านั้น. |
เต่านา | น. ชื่อเต่านํ้าจืดขนาดกลาง ชนิด Malayemis subtrijuga (Schlegel & Müller) ในวงศ์ Emydidae หัวโตสีดำมีลายสีขาวเป็นทางยาวมาถึงคอ กระดองสีน้ำตาล แผ่นเกล็ดขอบกระดองสีน้ำตาลเข้ม อาศัยกินสัตว์ขนาดเล็กตามท้องนาและหนองบึงทั่วไป. |
เต่าปูลู | น. ชื่อเต่าน้ำจืดชนิด Platysternon megacephalum Gray วงศ์ Platysternidae หัวโตมากและแข็งหดเข้ากระดองไม่ได้อย่างเต่าชนิดอื่น ปลายปากเป็นจะงอย กระดองหลังยาว ๑๕-๒๐ เซนติเมตร หางยาวเท่ากับหรือยาวกว่ากระดองหลังเล็กน้อย อาศัยอยู่ตามลำธารบนภูเขาสูง ปีนป่ายโขดหินหรือต้นไม้เตี้ย ๆ ได้ กินสัตว์น้ำขนาดเล็ก ในประเทศไทยอาจพบถึง ๓ ชนิดย่อย คือ ปูลูเหนือ (P. m. megacephalum Gray), ปูลูพม่า (P. m. peguens Gray) และปูลูไทย ( P. m. vogeli Wermuth) พบทางภาคเหนือ ตอนเหนือของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และตอนเหนือของภาคตะวันตก. |
เต่ามะเฟือง | น. ชื่อเต่าทะเลชนิด Dermochelys coriacea (Vandelli) ในวงศ์ Dermochelyidae กระดองหลังยาวมากกว่า ๒ เมตร คลุมด้วยแผ่นหนังแข็ง มีสันตามแนวยาว ๗ สัน ลักษณะคล้ายผลมะเฟือง ไม่มีแผ่นเกล็ด กินทั้งสัตว์และพืช เช่น แมงกะพรุน ปลา กุ้ง ปู เม่นทะเล สาหร่ายทะเล ปัจจุบันพบเฉพาะทางฝั่งทะเลอันดามัน เป็นเต่าที่ใหญ่ที่สุดในปัจจุบัน, เต่าเหลี่ยม ก็เรียก. |
เต่าหก | น. ชื่อเต่าบกขนาดใหญ่ชนิด Manouria emys (Schlegel & Müller) ในวงศ์ Testudinidae ขาไม่ปรากฏนิ้วให้เห็น ขาหลังมีลักษณะคล้ายขาช้าง ระหว่างโคนขาหลังกับโคนหางทั้งสองข้างมีเดือยแหลมขนาดต่าง ๆ ลักษณะคล้ายเล็บยื่นออกมาจากผิวหนัง ทำให้เข้าใจผิดว่าเต่าชนิดนี้มี ๖ ขา กินพืชและผลไม้ป่า เช่น กล้วยป่า บอน หน่อไผ่ มักพบอาศัยอยู่ตามที่ที่มีความชื้นสูงตามป่าเขาสูงที่เป็นป่าดงดิบ จัดเป็นเต่าบกที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในทวีปเอเชีย ตัวเต็มวัย หนักได้ถึง ๓๗ กิโลกรัม ในประเทศไทยพบ ๒ ชนิดย่อย ได้แก่ เต่าหกเหลือง [ M. e. emys (Schlegel & Müller) ] กระดองสีน้ำตาลอมเหลือง พบเฉพาะภาคใต้ตอนล่าง และเต่าหกดำ [ M. e. phayrei (Blyth) ] กระดองสีดำ พบเฉพาะภาคเหนือ ภาคตะวันตก และภาคใต้. |
เต่าหวาย | น. ชื่อเต่านํ้าจืดขนาดใหญ่ชนิด Heosemys grandis (Gray) ในวงศ์ Emydidae หัวสีน้ำตาลมีลายจุดสีส้ม กระดองสีนํ้าตาลแดงอาศัยอยู่บนบกใกล้บึงและแม่นํ้าลำคลอง ผสมพันธุ์ในน้ำ ปัจจุบันพบน้อยในถิ่นธรรมชาติ. |
เต่าหับ ๑ | น. ชื่อเต่านํ้าจืดขนาดกลางชนิด Cuora amboinensis (Daudin) ในวงศ์ Emydidae หัวสีดำมีลายสีเหลืองตามขอบหัวด้านบน ที่พบในประเทศไทยกระดองหลังโค้งนูนมาก ที่พบในต่างประเทศกระดองหลังแบน กระดองท้องเป็นบานพับแบ่งออกเป็น ๒ ตอน และสามารถหับปิดหัว ขา และหางได้สนิท จึงเรียกว่า เต่าหับ อาศัยอยู่บนบกที่มีความชื้นมากกว่าอยู่ในน้ำ. |
เต่าเหลือง | น. ชื่อเต่าบกขนาดกลางชนิด Indotestudo elongata (Blyth) ในวงศ์ Testudinidae หัวสีเหลือง กระดองหลังสีเหลืองมีลายเปรอะสีน้ำตาล กระดองท้องสีเหลืองไม่มีลาย กินพืช เช่น หญ้าเพ็ก, เพ็ก ขี้ผึ้ง เทียน หรือ แขนง ก็เรียก. |
ทูลกระหม่อม ๒ | น. ชื่อปูน้ำจืดชนิด Thaipotamon chulabhorn Naiyanetr ในวงศ์ Potamidae กระดองสีม่วงเข้มคล้ายสีเปลือกมังคุด ขาและขาก้ามสีเหลืองอมส้ม ปลายก้ามและขาสีขาว ขุดรูอยู่ พบในป่าดูนลำพัน อำเภอนาเชือก จังหวัดมหาสารคาม. |
นา ๔ | น. ชื่อปูน้ำจืดชนิด Esanthelphusa dugasti (Rathbun) ในวงศ์ Parathelphusidae กระดองและขาสีม่วงอมดำ ขุดรูอยู่ตามท้องนา ถ้านำมาดองน้ำเกลือ เรียก ปูดอง. |
ปูจ๋า | น. ชื่อกับข้าวอย่างหนึ่ง เอาเนื้อปูผสมเครื่องกับไข่แล้วใส่กระดองปูนึ่งหรือทอด. |
ม้า ๒ | น. ชื่อปูทะเลหลายชนิดในสกุล Portunusวงศ์ Portunidae ผิวกระดองมีลักษณะเป็นตุ่มเล็ก ๆ สาก กระดองตัวผู้สีฟ้าหรือนํ้าเงิน ของตัวเมียสีค่อนไปทางนํ้าตาล เช่น ชนิด P. pelagicus (Linn.). |
ม่านลาย | น. ชื่อตะพาบชนิด Chitra chitra Nutphand ในวงศ์ Trionychidae เป็นเต่ากระดองอ่อนที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก เคยพบที่แม่นํ้าแควใหญ่ จังหวัดกาญจนบุรี มีนํ้าหนักถึง ๑๔๘ กิโลกรัม ทั้งตัวและหัวสีนํ้าตาล มีลายสีนํ้าตาลอ่อน กินปลา, กริวลาย ม่อมลาย หรือ กราวด่าง ก็เรียก. |
ราชินี ๒ | น. ชื่อปูน้ำจืดชนิด Thaiphusa sirikit (Naiyanetr) ในวงศ์ Potamidae กระดองสีม่วงอมน้ำเงิน ขอบกระดองและขาก้ามสีขาว ขาสีแดง อาศัยอยู่ตามลำห้วย พบที่อำเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี, ปูสามสี หรือ ปูไตรรงค์ ก็เรียก. |
ลิ้นทะเล | น. กระดองปลาหมึกชนิดหนึ่ง สำหรับใช้ทำยาและขัดสิ่งของเป็นต้น. |
แสม ๒ | (สะแหฺม) น. ชื่อปูน้ำกร่อยหลายชนิดในสกุล Episesarma วงศ์ Grapsidae ลักษณะกระดองเป็นรูปสี่เหลี่ยม สีคล้ำค่อนไปทางน้ำตาลดำ ระหว่างตามีลักษณะเป็นลอนคล้ายลูกฟูก อาศัยอยู่ตามป่าชายเลน เช่น ชนิด E. mederi (H. Milne Edwards) ชนิดนี้ถ้านำมาดองน้ำเกลือ เรียก ปูเค็ม. |
หมึก ๒ | น. ชื่อสัตว์ทะเลที่ไม่ใช่ปลา ไม่มีกระดูกสันหลัง ชั้น Cephalopoda ไฟลัม Mollurea มีอวัยวะที่เรียกกันว่า หนวดหรือแขน อยู่รอบปาก ใช้พยุงตัวและจับเหยื่อ มีถุงบรรจุน้ำสีดำคล้ายหมึกสำหรับปล่อยลงน้ำเพื่อพรางตัว มีหลายชนิด เช่น หมึกกระดองลายเสือ (Sepia pharaonisEhrenberg) ในวงศ์ Sepiidae หมึกกล้วย [ Photololigo duvaucelii (d’ Orbigny) ] ในวงศ์ Loliginidae, ปลาหมึก ก็เรียก. |
ออง | น. กระดอง. |
armature | (อาร์'มะเชอะ) n. เกราะ, อวัยวะป้องกันภัยของสัตว์ (เช่น กระดองเต่า) , เหล็กอ่อนพันลวดในไดนาโม, มัดข้าวต้มของไดนาโม, ลูกล่อแม่เหล็ก, โครงร่างเสริมความแกร่ง |
armor | (อาร์'เมอะ) n. อาวุธ, ชุดอาวุธ, กองทัพติดอาวุธ, อวัยวะป้องกันภัยของสัตว์ (เช่น กระดองเต่า) , เกราะ. -vt. ติดอาวุธ |
armour | (อาร์'เมอะ) n. อาวุธ, ชุดอาวุธ, กองทัพติดอาวุธ, อวัยวะป้องกันภัยของสัตว์ (เช่น กระดองเต่า) , เกราะ. -vt. ติดอาวุธ |
carapace | (คา'ระเพส) n. ส่วนที่หุ้มหลังของสัตว์, กระดอง, ฝา |
crust | (ครัสทฺ) { crusted, crusting, crusts } n. เปลือกขนมปัง, เปลือกนอก, เปลือกหอย, กระดอง, สะเก็ดแผลหรือสะเก็ดผิวหนัง, เปลือกตะกอนในเหล้าองุ่น, ความหน้าด้าน. vt. คลุมไปด้วยเปลือก, กลายเป็นเปลือก vi. เกาะเป็นเปลือก, Syn. coating |
hop | (ฮอพ) { hopped, hopping, hops } vi. กระโดด, รีบเดินทางในระยะสั้น. vt. กระโดดข้าม, ขึ้นรถ, ขึ้นเครื่องบิน n. การกระโดด, การกระโดดขาเดียว, การขึ้นเครื่องบิน, การเดินทางในระยะสั้น, การเต้นรำ, งานเต้นรำ, การกระดอนของลูกบอล, ต้นฮอพ., See also: hops n. ดอกฮอพ ใช้ปรุง |
lively | (ไลว'ลี) adj. มีชีวิตชีวา, มีพลัง, มีชีวิตจิตใจ, ร่าเริง, ฮึกเหิม, เร้าอารมณ์, ชัดเจน, แข็งแรง, สดใส, ได้ผล, เป็นฟอง, กระดอน, เด้ง, กระฉับกระเฉง adv. คล่องแคล่ว, ว่องไว, See also: livelily adv. ดูlively liveliness n. ดูlively -S... |
ricochet | (ริค'คะเช) n. การเด้งกลับ, การกระดอนกลับ, การแฉลบ, การสะท้อน, กระสุนที่กระดอน vi. เด้งกลับ, กระดอน, แฉลบ, สะท้อน |
shell | (เชล) n. ลูกปืนใหญ่, ลูกปืนล่าสัตว์, เปลือกหอย, เปลือก, ฝัก, กระดอง, คราบ, ปลอก, ปลอกกระสุน, โกร่งดาบ, โฉมภายนอก, โลงศพภายใน, รองในโลงศพ, ชั้นหินผ้าบาง, แก้วเบียร์เล็ก ๆ vt. เอาเปลือกออก, ปอกเปลือก, ใส่ปลอก, ระดมยิง. vi. หลุดออกเป็นแผ่น (เปลือก) หลุด, ร่วง |
shelled | (เชลดฺ) adj. เอาเปลือกออก, อยู่ในเปลือก, อยู่ในปลอก, อยู่ในกระดอง |
shield | (ชีลด) n. โล่, ตราประจำตระกูล, สมาคมหรือโรงเรียน, เกราะหรือกระดองที่หน้าอก, ตราตำรวจหรือนายอำเภอ, ผู้ปกครอง, สิ่งคุ้มครอง, ฝาครอบกะบัง vt. ปกป้อง, ป้องกัน, คุ้มครอง, ซ่อน, ซ่อนเร้น. vi. เป็นโล่ป้องกัน., See also: shielder n. -S... |
spine | (สไพน์) n. ลำกระดูกสันหลัง, กระดูกสันหลัง, ส่วนที่คล้ายกระดูกสันหลัง, หนาม, หนามกระดอง, สิ่งที่แหลม, ความแข็งแกร่งของจิตใจ, ความแน่วแน่, สัน, แง่ง, สันหนังสือ., See also: spined adj., Syn. spinal column, ridge |
tegument | (เทก'ยะเมินทฺ) n. เปลือก, หนัง, ส่วนคลุม, เยื่อหุ้ม, กระดอง, ปลอกหุ้ม, See also: tegumental, tegumentary adj. |
umbo | (อัม'โบ) n. ส่วนที่สลักนูนกลางโล่, ยอดกระดองของสัตว์ส่วนนูน, ปุ่ม, แอ่งที่ผิวหน้าด้านนอกของเยื่อแก้วหู pl. umbones, umbos |