conkright | |
copyright | |
copyrights | |
copyrighted | |
copyrightable |
copyright | (adj) ซึ่งมีการคุ้มครองลิขสิทธิ์, Syn. copyrighted |
copyright | (vt) ปกป้องลิขสิทธิ์ |
copyright | (n) ีลิขสิทธิ์, Syn. right of first publication |
copyright | (คอพ'พีไรทฺ) n. ลิขสิทธิ์. adj. ซึ่งได้รับการคุ้มครองโดยลิขสิทธิ์, See also: copyrightable adj. ดูcopyright copyrighter n. ดูcopyright |
copyright | (n) ลิขสิทธิ์ |
copyright | (vt) สงวนลิขสิทธิ์ |
copyright | ลิขสิทธิ์ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
copyright | ลิขสิทธิ์ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Copyright | ลิขสิทธิ์ [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Copyright | ลิขสิทธิ์, Example: <p>ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 <p>ลิขสิทธิ์ หมายความว่า สิทธิแต่ผู้เดียวที่จะทำการใด ๆ ตามพระราชบัญญัตินี้ เกี่ยวกับงานที่ผู้สร้างสรรค์ได้ทำขึ้น <p>ผู้สร้างสรรค์ หมายความว่า ผู้ทำหรือผู้ก่อให้เกิดงานสร้างสรรค์อย่างใดอย่างหนึ่ง ที่เป็นงานอันมีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัตินี้ <p>ลิขสิทธิ์ เป็นทรัพย์สินทางปัญญาประเภทหนึ่งที่กฎหมายให้ความคุ้มครอง โดยให้เจ้าของลิขสิทธิ์เป็นผู้มีสิทธิแต่ผู้เดียว (Exclusive rights) ที่จะกระทำการใด ๆ เกี่ยวกับงานสร้างสรรค์ที่ได้ทำขึ้น <p>งานสร้างสรรค์ที่มีลิขสิทธิ์ ประกอบด้วยงานประเภทต่าง ๆ คือ <p>1. วรรณกรรม หมายความว่า งานนิพนธ์ที่ทำขึ้นทุกชนิด เช่น หนังสือ จุลสาร สิ่งเขียน สิ่งพิมพ์ ปาฐกถา เทศนา คำปราศรัย สุนทรพจน์ และให้หมายความรวมถึงโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วย <p>2. นาฏกรรม หมายความว่า งานเกี่ยวกับการรำ การเต้น การทำท่า หรือการแสดงที่ประกอบขึ้นเป็นเรื่องราว และให้หมายความรวมถึงการแสดงโดยวิธีใบ้ด้วย <p>3. ศิลปกรรม หมายความว่า งานอันมีลักษณะอย่างหนึ่งอย่างใดหรือหลายอย่างดังต่อไปนี้ เช่น งานจิตรกรรม งานประติมากรรม งานภาพพิมพ์ งานสถาปัตยกรรม งานภาพถ่าย งานภาพประกอบ แผนที่ โครงสร้าง ภาพร่าง งานศิลปประยุกต์ <p>4. ดนตรีกรรม หมายความว่า งานเกี่ยวกับเพลงที่แต่งขึ้นเพื่อบรรเลงหรือขับร้อง ไม่ว่าจะมีทำนองและคำร้องหรือมีทำนองอย่างเดียว และให้หมายความรวมถึงโน้ตเพลงหรือแผนภูมิเพลงที่ได้แยก และเรียบเรียงเสียงประสานแล้ว <p>5. โสตทัศนวัสดุ หมายความว่า งานอันประกอบด้วยลำดับของภาพโดยบันทึกลงในวัสดุไม่ว่าจะมีลักษณะอย่างใด อันสามารถที่จะนำมาเล่นซ้ำได้อีกโดยใช้เครื่องมือที่จำเป็นสำหรับการใช้วัสดุนั้น และให้หมายความรวมถึงเสียงประกอบงานนั้นด้วย ถ้ามี <p>6. ภาพยนตร์ หมายความว่า โสตทัศนวัสดุอันประกอบด้วยลำดับของภาพ ซึ่งสามารถนำออกฉายต่อเนื่องได้อย่างภาพยนตร์หรือสามารถบันทึกลงบนวัสดุอื่น เพื่อนำออกฉายต่อเนื่องได้อย่างภาพยนตร์ และให้หมายความรวมถึงเสียงประกอบภาพยนตร์นั้นด้วย ถ้ามี <p>7. สิ่งบันทึกเสียง หมายความว่า งานอันประกอบด้วยลำดับของเสียงดนตรี เสียงการแสดง หรือเสียงอื่นใด โดยบันทึกลงในวัสดุไม่ว่าจะมีลักษณะใด ๆ อันสามารถที่จะนำมาเล่นซ้ำได้อีกโดยใช้เครื่องมือที่จำเป็นสำหรับการใช้วัสดุนั้น แต่ทั้งนี้ มิให้หมายความรวมถึงเสียงประกอบภาพยนตร์หรือเสียงประกอบโสตทัศนวัสดุอย่างอื่น <p>8. งานแพร่เสียงแพร่ภาพ หมายความว่า งานที่นำออกสู่สาธารณชนโดยการแพร่เสียงทางวิทยุกระจายเสียง การแพร่เสียงและหรือภาพทางวิทยุ โทรทัศน์ หรือโดยวิธีอย่างอื่นอันคล้ายคลึงกัน <p>ทั้งนี้โดยทั่วไป ลิขสิทธิ์นี้มีอยู่ตลอดอายุของผู้สร้างสรรค์ และมีอยู่ต่อไปอีกเป็นเวลา 50 ปี นับแต่ผู้สร้างสรรค์ถึงแก่ความตาย [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Copyright | ลิขสิทธิ์ [เศรษฐศาสตร์] |
Copyright | ลิขสิทธิ์ [TU Subject Heading] |
Copyright | ลิขสิทธิ์ [การบัญชี] |
Copyright and electronic data processing | ลิขสิทธิ์กับการประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ [TU Subject Heading] |
Copyright infringement | การละเมิดลิขสิทธิ์, Example: <p>การละเมิดลิขสิทธิ์ หมายถึงการนำผลงานของผู้อื่นมาใช้ เผยแพร่ ดัดแปลง ทำซ้ำ โดยผู้เป็นเจ้าของผลงานไม่อนุญาตหรือไม่ได้รับทราบ ซึ่งผลงานสิ่งประดิษฐ์ วรรณกรรม ศิลปกรรม ฯลฯ เป็นกรรมสิทธิ์และลิขสิทธิ์ของผู้สร้างสรรค์ การนำผลงานมาใช้อาจมีเงื่อนไขบางประการเรียกว่าสัญญาอนุญาต ซึ่งกำหนดโดยเจ้าของผลงานหรือกำหนดตามกฎหมาย เมื่อไม่ทำตามเงื่อนไขจึงถือว่าเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ <p>สนธิสัญญาระหว่างประเทศที่มีจุดประสงค์มุ่งให้ความคุ้มครองในเรื่องลิขสิทธิ์ และป้องกันการละเมิดลิขสิทธิ์ เช่น สนธิสัญญากรุงเบิร์น สนธิสัญญาลิขสิทธิ์ และสนธิสัญญาการแสดงและสิ่งบันทึกเสียง นอกจากสนธิสัญญาแล้ว ยังมีองค์กรที่ให้การคุ้มครองเพื่อป้องกันการละเมิดลิขสิทธิ์ เช่น องค์การการค้าโลก และกรมทรัพย์สินทางปัญญา <p>สำหรับประเทศไทย ได้มีการออกพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 บังคับใช้ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการละเมิดลิขสิทธิ์ คือ มาตรา 27 ระบุว่าการกระทำอย่างใดอย่างหนึ่งแก่งานอันมีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัตินี้ โดยไม่ได้รับอนุญาตตามมาตรา 15 (5) ให้ถือว่าเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ ถ้าได้กระทำดังต่อไปนี้ (1) ทำซ้ำหรือดัดแปลง (2) เผยแพร่ต่อสาธารณชน <p>มาตรา 15 ภายใต้บังคับมาตรา 9 มาตรา 10 และมาตรา 14 เจ้าของลิขสิทธิ์ย่อมมีสิทธิแต่ผู้เดียว ดังต่อไปนี้ (1) ทำซ้ำหรือดัดแปลง (2) เผยแพร่ต่อสาธารณชน (3) ให้เช่าต้นฉบับ หรือสำเนางานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ โสตทัศนวัสดุ ภาพยนตร์ และสิ่งบันทึกเสียง (4) ให้ประโยชน์อันเกิดจากลิขสิทธิ์แก่ผู้อื่น (5) อนุญาตให้ผู้อื่นใช้สิทธิตาม (1) (2) หรือ (3) โดยจะกำหนดเงื่อนไขอย่างใดหรือไม่ก็ได้ แต่เงื่อนไขดังกล่าวจะกำหนดในลักษณะที่เป็นการจำกัดการแข่งขันโดยไม่เป็นธรรมไม่ได้ การพิจารณาว่าเงื่อนไขตามวรรคหนึ่ง (5) จะเป็นการจำกัดการแข่งขันโดยไม่เป็นธรรมหรือไม่ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กำหนดในกฎกระทรวง <p>อย่างไรก็ตาม การละเมิดลิขสิทธิ์ มีข้อยกเว้นในประเด็นเรื่อง การใช้โดยเป็นธรรม หรือ การใช้โดยชอบธรรม (Fair use) ที่เป็นข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิ์ที่กฎหมายกำหนดให้บุคคลทั่วไปมีสิทธิพิเศษที่จะใช้งานอันมีลิขสิทธิ์ โดยไม่ต้องได้รับความยินยอมจากเจ้าของลิขสิทธิ์ หากการใช้นั้นเป็นการใช้ที่เป็นธรรม มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างดุลยภาพระหว่างการปกป้องผลประโยชน์อันชอบธรรมของเจ้าของลิขสิทธิ์ และการรักษาประโยชน์ของสาธารณชนในอันที่จะใช้งานอันมีลิขสิทธิ์ ซึ่งหลักการว่าด้วยดุลยภาพนี้เป็นหลักการพื้นฐานของกฎหมายลิขสิทิ์ของทุกประเทศ โดยมีความมุ่งหมายที่จะส่งเสริมให้เกิดการสร้างงานที่มีคุณค่าและเป็นประโยชน์ต่อสังคม และให้สังคมสามารถใช้งานนั้นได้โดยไม่กระทบกระเทือนถึงสิทธิของผู้สร้างสรรค์งาน การจะเข้าข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิ์ และเข้าข่ายการใช้โดยเป็นธรรม (Fair use) จะต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ 3 ประการ คือ เป็นการกระทำเพื่อการวิจัยหรือศึกษางานนั้น การกระทำนั้นมิได้เป็นการกระทำเพื่อหากำไร และการกระทำนั้นไม่ขัดต่อการแสวงหาประโยชน์ตามปกติของเจ้าของลิขสิทธิ์และไม่กระทบกระเทือนถึงสิทธิอันชอบด้วยกฎหมายของเจ้าของลิขสิทธิ์เกินสมควร [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Copyright infringement | การละเมิดลิขสิทธิ์ [TU Subject Heading] |
Copyright law | กฎหมายลิขสิทธิ์ [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Copyright law | กฎหมายลิขสิทธิ์, Example: กฎหมายลิขสิทธิ์ คือ กฎหมายที่ให้ความคุ้มครองสิทธิในทางวรรณกรรมและศิลปกรรม ผู้แต่งหรือเจ้าของผลงานจะได้รับความคุ้มครองโดยกฎหมายนี้ ผู้ใดจะนำข้อความไปตีพิมพ์หรือแปลเป็นภาษาอื่นๆ หรือผลิตออกเผยแพร่โดยมิได้รับอนุญาตจากผู้แต่งหรือเจ้าของผลงาน หรือเจ้าของลิขสิทธิ์มิได้ <p> <p>กฎหมายลิขสิทธิ์ของแต่ละประเทศจะระบุให้สำนักพิมพ์หรือผู้จัดพิมพ์ส่งหนังสือที่พิมพ์ให้หอสมุดแห่งชาติเก็บรักษา ตามจำนวนที่กำหนด ส่วนใหญ่จะเป็นจำนวน 2 ฉบับ เพื่อเป็นการควบคุมบรรณานุกรมของสิ่งพิมพ์ที่ผลิตในแต่ละประเทศ <p> <p>หนังสือภาษาต่างประเทศ จะมีการแจ้งลิขสิทธิ์ระบุไว้ที่หน้าลิขสิทธิ์หรือ copyright page ซึ่งก็คือ ด้านหลังของหน้าปกใน โดยจะปรากฏคำว่า Copyright หรือ © พร้อมทั้งชื่อเจ้าของลิขสิทธิ์และปี ค.ศ. ที่ได้รับลิขสิทธิ์เป็นครั้งแรก และจะมีรายละเอียดถึงการห้ามคัดลอกข้อความใดข้อความหนึ่ง โดยมิได้รับอนุญาต <p> <p>หนังสือภาษาไทย จะมีคำว่า สงวนลิขสิทธิ์ ปรากฏไว้ที่ด้านหลังหน้าปกใน เช่นเดียวกัน และมีการระบุชื่อเจ้าของลิขสิทธิ์และปี พ.ศ ที่ได้รับลิขสิทธิ์เป็นครั้งแรก และจะมีรายละเอียดถึงการห้ามคัดลอกข้อความใดข้อความหนึ่ง โดยมิได้รับอนุญาต <p> <p>กฎหมายลิขสิทธิ์มีความเกี่ยวข้องกับห้องสมุด เนื่องจากห้องสมุดมีงานลิขสิทธิ์หลายประเภทอยู่ในครอบครอง เช่น งานวรรณกรรม ในรูปของหนังสือ วารสาร สิ่งพิมพ์ในลักษณะต่างๆ ตลอดจนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ งานโสตทัศนวัสดุ เช่น วีดิทัศน์ ฯลฯ สื่อบันทึกเสียงรูปแบบต่างๆ เช่น แผ่นเสียง เทปคาสเซทส์ งานศิลปกรรม เช่น ภาพวาด ภาพเขียน เป็นต้น <p> <p>ธัชชัย ศุภผลศิริ ได้จำแนกสถานภาพของห้องสมุดที่เกี่ยวกับงานลิขสิทธิเป็น 4 ประำการ คือ <p>1. ในฐานะเจ้าของทรัพย์สิน <p>2. ในฐานะผู้ครอบครองทรัพย์สิน <p>3. ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ <p>4. ในฐานะผู้ใช้งานลิขสิทธิ์ <p> <p>1. ห้องสมุดในฐานะเจ้าของทรัพย์สิน ห้องสมุดเป็นผู้จัดซื้อ จัดหาสื่อต่างๆ เข้ามา แต่มิได้หมายความว่า ห้องสมุดเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ เพียงแต่ห้องสมุดมีกรรมสิทธิ์ในสื่อเหล่านั้น ห้องสมุด อาจนำมาไว้ให้บริการผู้อ่่านในห้องสมุดหรือยืมไปอ่าน หากไม่นำมาคืน ห้องสมุดสามารถใช้สิทธิทวงถามเพื่อให้นำมาคืนได้ แต่ห้องสมุดไม่มีสิทธิ์ที่จะทำซ้ำหรือดัดแปลง หรือเผยแพร่งานนั้นต่อสาธารณชนได้ หากไม่ได้รับอนุญาตจากผู้เป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ เช่น ห้องสมุดไม่สามารถนำหนังสือที่ซื้อมาทำสำเนาเข้าปกเป็นจำนวนหลายเล่ม เพื่อให้มีจำนวนหนังสือเพิ่มขึ้นโดยไม่ต้องซื้อไม่ได้ เป็นต้น <p>2. ห้องสมุดในฐานะผู้ครอบครองทรัพย์สิน หมายถึง ห้องสมุดมิได้เป็นเจ้าของทรัพย์สิน แต่อยู่ในฐานะครอบครองทรัพย์สินเท่านั้น เจ้าของทรัพย์สินอาจให้ยืมหนังสือหรือสิ่งของบางรายการแก่ห้องสมุด และอาจระบุเงื่อนไขบางประการไว้ เช่น การนำสิ่งของมาแสดงในงานนิทรรศการ เมื่อครบกำหนดต้องคืน และห้องสมุดต้องรักษาทรัพย์สินนั้นๆ <p>3. ห้องสมุดในฐานะเข้าของลิขสิทธิ์ ห้ิองสมุดอาจจะเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ในงานที่มีอยู่ในห้องสมุด การใช้งานลิขสิทธิ์ย่อมไม่มีปัญหาใดๆ เพียงแต่ดูแลลิขสิทธิ์ของตนเองเมื่อพบว่ามีการละเมิดลิขสิทธิ์ในงานเหล่านั้น <p>4. ห้องสมุดในฐานะผู้ใช้งานลิขสิทธิ์ ห้องสมุดไม่ใช่เจ้าของลิขสิทธิ์ แต่เป็นผู้ที่จะใช้งานลิขสิทธิ์นั้นในขอบเขตการให้บริการของตน แต่โดยหลักแล้ว ห้องสมุดไม่ใช่เจ้าของลิขสิทธิ์ ย่อมกระทำการที่กฎหมายให้เจ้าของลิขสิทธิ์แต่เพียงผู้เดียวไม่ได้ แต่อย่างไรก็ตาม ผู้ใช้งานลิขสิทธิ์อาจได้รับการปกป้องจากการกล่าวหาว่าละเมิดลิขสิทธิ์ ด้วยการกระทำอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังนี้ <p>4.1 การกระทำโดยได้รับอนุญาตจากเจ้าของลิขสิทธิ์ <p>4.2 การกระทำต่องานที่หมดอายุลิขสิทธิ์ไปแล้ว <p>4.3 การกระทำต่อสิ่งที่ไม่มีลิขสิทธิ์ <p>4.4 การกระทำที่ต้องด้วยข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิ์ <p> <p>การกระทำโดยไ้ด้รับอนุญาตจากเจ้าของลิขสิทธิ์ ห้องสมุดตรวจสอบว่าผู้ใดเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์และทำการขออนุญาต โดยมีหลักฐานเป็นลายลักษณ์อักษร และควรแจ้งว่าเป็นการใช้เพื่อประโยชน์ในการศึกษา และขอความอนุเคราะห์ในการยกเว้นค่าใช้ลิขสิทธิ์ (กรณีที่เจ้าของลิขสิทธิ์อาจจะมีเงื่อนไข) <p>การกระทำต่องานที่หมดอายุลิขสิทธิ์ไปแล้ว งานที่หมดอายุลิขสิทธิ์ย่อมตกเป็นสมบัติสาธารณะ ไม่ต้องขออนุญาตต่อผู้ใด ห้องสมุดอาจทำซ้ำ เพื่อการเก็บรักษาหรือเพื่อให้ผู้ใช้บริการยืมอ่านได้ <p>การกระทำต่อสิ่งที่ไม่มีลิขสิทธิ์ สิ่งที่กฎหมายลิขสิทธิ์ระบุว่าไม่มีลิขสิทธิ์ คือ <p>1. ข่าวประจำวัน และข้อเท็จจริงต่างๆ ที่มีลักษณะเป็นเพียงข่าวสารอันมิใช่งานในแผนกวรรณคดี แผนกวิทยาศาสตร์ หรือแผนกศิลปะ <p>2. รัฐธรรมนูญ และกฎหมาย <p>3. ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ คำสั่ง คำชี้แจง และหนังสือโต้ตอบของกระทรวง ทบวง กรม หรือ หน่วยงานอื่นใดของรัฐหรือของท้องถ่น <p>4. คำพิพากษา คำสั่ง คำวินิจฉัย และรายงานของทางราชการ <p>5. คำแปลและการรวบรวมสิ่งต่างๆ ตาม (1) ถึง (4) ที่กระทรวง ทบวง กรม หรือหน่วยงานอื่นใดของรัฐหรือท้องถิ่นจัดทำขึ้น <p> สิ่งต่างๆ ข้างต้น ไม่ถือว่าเป็นงานลิขสิทธิ์ ห้องสมุดอาจทำซ้ำ ดัดแปลงหรือเผยแพร่ต่อสาธารณชนได้ <p>การกระทำที่ต้องด้วยข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิ์ พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ระบุข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิ์ที่เกี่ยวกับงานดำเนินงานของห้องสมุดหลายมาตรา มีทั้ืงบทเฉพาะเกี่ยวกับการทำซ้ำโดยบรรณารักษ์ของห้องสมุด (มาตรา 34) บทบัญญัติทั่วไปสำหรับการพิจารณาข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิ์งานประเภทต่างๆ (มาตรา 32 และมาตรา 33) และบทบัญญัติเกี่ยวกับงานลิขสิทธิ์เฉพาะประเภท (มาตร 35 ถึง 42) แต่ตัวบทกฎหมายนี้ก็ไม่ได้บัญญัติชัดเจนพอที่จะอ่านแล้วชี้ชัดได้ว่าการกระทำอย่างใดขนาดใดจะถือว่าต้องด้วยข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิ์ <p> <p>รายการอ้างอิง <p>ธัชชัย ศุภผลศิริ. "กฎหมายลิขสิทธิ์กับงานห้องสมุด" หน้า 5-25 ใน เอกสารประกอบการสัมมนา เรื่อง ลิขสิทธิ์ในงานห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ. กรุงเทพฯ : สถาบันวิทยบริการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
ค่าลิขสิทธิ์ | (n) copyright cost, See also: copyright charge, payment for copyright, Example: นักเขียนสละเงินค่าลิขสิทธิ์เพื่อตั้งเป็นมูลนิธิไว้คอยช่วยเหลือคนยากจน |
ลิขสิทธิ์ | (n) copyright, Example: บริษัทอินเทลได้ขายลิขสิทธิ์การออกแบบโปรเซสเซอร์รุ่นเก่าๆ ให้บริษัทอื่น, Thai Definition: สิทธิแต่ผู้เดียวที่กฎหมายรับรองให้ผู้สร้างสรรค์กระทำการใดๆ เกี่ยวกับงานที่ตนได้ทำขึ้น อันได้แก่ สิทธิที่จะทำซ้ำ ดัดแปลง หรือนำออกโฆษณา ไม่ว่าในรูปลักษณะอย่างใดหรือวิธีใด รวมทั้งอนุญาตให้ผู้อื่นนำงานนั้นไปทำเช่นว่านั้นด้วย, Notes: (กฎหมาย) |
การคุ้มครองลิขสิทธิ์ | [kān khumkhrøng likkhasit] (n, exp) EN: copyright protection |
การละเมิดลิขสิทธิ์ | [kān lamoēt likkhasit] (n, exp) EN: infringement of copyright |
ค่าลิขสิทธิ์ | [khā likkhasit] (n, exp) EN: copyright fee FR: droits d'auteur [ mpl ] |
กฎหมายลิขสิทธิ์ | [kotmāi likkhasit] (n, exp) EN: copyright law ; copyright act FR: loi sur le droit d'auteur [ m ] |
ลิขสิทธิ์ | [likkhasit] (n) EN: copyright FR: droit d'auteur [ m ] ; copyright [ m ] |
งานอันมีลิขสิทธิ์ | [ngān an mī likkhasit] (n, exp) EN: copyright work |
สงวนลิขสิทธิ์ | [sa-ngūan likkhasit] (v, exp) EN: reserve the copyright |
copyright | |
copyrights | |
copyrighted | |
copyrightable |
copyright | |
copyrights | |
copyrighted | |
copyrighting |
copyright | (n) a document granting exclusive right to publish and sell literary or musical or artistic work, Syn. right of first publication |
copyright | (v) secure a copyright on a written work |
copyright infringement | (n) a violation of the rights secured by a copyright, Syn. infringement of copyright |
Copyright | n. The right of an author or his assignee, under statute, to print and publish his literary or artistic work, exclusively of all other persons. This right may be had in maps, charts, engravings, plays, and musical compositions, as well as in books. [ 1913 Webster ] ☞ In the United States in 1913 a copyright was valid for the term of twenty-eight years, with right of renewal for fourteen years on certain conditions. The term was extended in stages, and in 1997 the term of a copyright was life plus 50 years for individuals retaining their copyright, or 75 years for works created for hire. Further extension is still (1998) being discussed. [ 1913 Webster +PJC ]
|
Copyright | v. t. To secure a copyright on. [ 1913 Webster ] |
版权 | [版 权 / 版 權] copyright #7,242 [Add to Longdo] |
作者权 | [作 者 权 / 作 者 權] copyright [Add to Longdo] |
名称权 | [名 称 权 / 名 稱 權] copyright; rights to a trademark [Add to Longdo] |
权利声明 | [权 利 声 明 / 權 利 聲 明] copyright statement [Add to Longdo] |
版权页 | [版 权 页 / 版 權 頁] copyright page [Add to Longdo] |
Copyright { n } | mit einem Copyright versehen | Copyright | copyrighted [Add to Longdo] |
Copyright-Zeichen { n } | copyright sign (©) [Add to Longdo] |
Pflichtabgabe { f } | copyright deposit [Add to Longdo] |
Urheberrechtsgesetz { n } | copyright law [Add to Longdo] |
Urheberrechtsverletzung { f } | copyright violation [Add to Longdo] |
Alle Rechte vorbehalten! | Copyright reserved! [Add to Longdo] |
触れる | [ふれる, fureru] (v1, vi) (1) to touch; to feel; (2) to experience; to come in contact with; to be emotionally moved (by); to perceive; (3) to touch on a subject; to allude to; (4) to be in conflict (with); to violate (law, copyright, etc.); (5) to proclaim; (P) #8,256 [Add to Longdo] |
??? | [ ???] EDICT, EDICT_SUB(P), EDICT2 Japanese-English Electronic Dictionary Files; Copyright Electronic Dictionary Research & Development Group - 2011; Created [Add to Longdo] |
コピーライト | [kopi-raito] (n) copyright; (P) [Add to Longdo] |
コンピュータソフトウェア著作権協会 | [コンピュータソフトウェアちょさくけんきょうかい, konpyu-tasofutouea chosakukenkyoukai] (n) { comp } Association of Copyright for Computer Software; ACCS [Add to Longdo] |
公衆送信権 | [こうしゅうそうしんけん, koushuusoushinken] (n) public transmission rights (e.g. putting copyrightable material on the WWW or an FTP server) [Add to Longdo] |
蔵版 | [ぞうはん, zouhan] (n) copyright [Add to Longdo] |
貸与権 | [たいよけん, taiyoken] (n) lending rights (for copyrighted works under Japan's copyright law) [Add to Longdo] |
著作権 | [ちょさくけん, chosakuken] (n) (See 出版権) copyright; (P) [Add to Longdo] |
著作権所有者 | [ちょさくけんしょゆうしゃ, chosakukenshoyuusha] (n) copyright holder [Add to Longdo] |
著作権侵害 | [ちょさくけんしんがい, chosakukenshingai] (n) infringement of copyright; (literary) piracy [Add to Longdo] |
著作権侵害 | [ちょさくけんしんがい, chosakukenshingai] copyright infringement, piracy [Add to Longdo] |
著作権図書館 | [ちょさくけんとしょかん, chosakukentoshokan] copyright library [Add to Longdo] |
著作権登録図書館 | [ちょさくけんとうろくとしょかん, chosakukentourokutoshokan] copyright library [Add to Longdo] |