แหล่งข้อมูล | (n) data source |
แหล่งข้อมูล | (n) source of information, Example: ศิลาจารึกเป็นแหล่งข้อมูล ซึ่งเป็นข้อสังเกตเพิ่มเติมจากที่ผู้เขียนเคยเสนอไว้แล้ว, Count Unit: แหล่ง, แห่ง, Thai Definition: สถานที่ซึ่งเป็นที่รวมของข้อมูล |
แหล่งข้อมูล | (n) source of information, Example: ศิลาจารึกเป็นแหล่งข้อมูล ซึ่งเป็นข้อสังเกตเพิ่มเติมจากที่ผู้เขียนเคยเสนอไว้แล้ว, Count Unit: แหล่ง, แห่ง, Thai Definition: สถานที่ซึ่งเป็นที่รวมของข้อมูล |
Primary source | แหล่งข้อมูลปฐมภูมิ [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Chief source of information | แหล่งข้อมูลที่กำหนด, Example: ในการลงรายการทางบรรณานุกรมของหนังสือ บรรณารักษ์จะต้องทราบว่า จะสามารถหาข้อมูลได้จากแหล่งที่ได้มีการกำหนดร่วมกันซึ่งเป็นหลักการของการลงรายการ ซึ่งหมายถึง แหล่งสำคัญของข้อมูล สำหรับเอกสารตีพิมพ์นั้น แหล่งสำคัญของข้อมูล คือ หน้าปกใน ถ้าไม่มีหน้าปกใน ให้ใช้แหล่งในตัวเล่มซึ่งใช้แทนหน้าปกใน สำหรับเอกสารตีพิมพ์ออกมาโดยไม่มีหน้าปกใน หรือไม่มีหน้าปกในที่ให้รายละเอียดได้ทั้งหมด ให้ใช้ส่วนอื่นของเล่มที่ให้ข้อมูลสมบูรณ์ที่สุด ไม่ว่าส่วนนั้นจะเป็นหน้าปก (ไม่่รวมใบหุ้มปกที่แยกต่างหากออกจากตัวเล่ม) หน้าชื่อเรื่อง (half title page) ชื่อนำเนื้อเรื่อง (caption) การแจ้งตอนท้ายเล่มซึ่งให้รายละเอียดเกี่ยวกับชื่อเรื่อง ผู้แต่ง สำนักพิมพ์ โรงพิมพ์ ปีที่พิมพ์ อย่างหนึ่งอย่างใดหรือรายอย่างและอาจจะรวมถึงรายละเอียดอื่นๆ ด้วย ชื่อเรื่องประจำหน้า (running titole) หรือส่วนอื่น ถ้าไม่มีส่วนใดในตัวเล่มให้ข้อมูลที่จะสามารถใช้เป็นหลักในการลงรายการ ให้ใช้ข้อมูลที่จำเป็นจากแหล่งอื่นที่มี ถ้าข้อมูลที่ควรจะปรากฏอยู่ในหน้าปกในไปปรากฏอยู่ในหน้าติดกัน (facing pages) หรือในหน้าถัดๆ ไป จะซ้ำักันหรือไม่ก็ตาม ให้ถือว่าหน้าเหล่านี้เป็นหน้าปกใน ให้ใช้การแจ้งตอนท้ายเล่ม (colophon)เป็นแหล่งสำคัญของข้อมูล [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Primary source | แหล่งข้อมูลปฐมภูมิ, Example: <p>แหล่งข้อมูลแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท คือ ปฐมภูมิ ทุติยภูมิ และ ตติยภูมิ <p>แหล่งข้อมูลปฐมภูมิ (Primary source หรือ Primary data) หมายถึง ข้อมูลที่ได้จากการรวบรวมหรือบันทึกจากแหล่งข้อมูลโดยตรง เป็นข้อมูลที่เก็บจากต้นแหล่งแท้ครั้งแรก ซึ่งอาจจะได้มาจากหลากหลายวิธี เช่น การสอบถาม การสัมภาษณ์ การสำรวจ การทดลองในห้องทดลอง หรือการจดบันทึก <p>ข้อมูลปฐมภูมิ ยังรวมถึง งานต้นฉบับ ผลงานศิลปะ สถาปัตยกรรมสิ่งก่อสร้าง การแกะสลัก การเขียนบันทึกตัวหนังสือ รูปภาพ เรื่องราวลงบนวัตถุต่าง ๆ ตั้งแต่สมัยโบราณ <p>ข้อมูลปฐมภูมิที่สำคัญ คือ ผลงานวิจัยต้นฉบับที่ตีพิมพ์ในวารสาร ทั้งในรูปแบบสิ่งพิมพ์และอิเล็กทรอนิกส์ รวมทั้งเอกสารประเภทสิทธิบัตร รายงานประชุม เอกสารต่าง ๆ ของทางราชการ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Computer network resources | แหล่งข้อมูลข่ายงานคอมพิวเตอร์ [TU Subject Heading] |
Sources | แหล่งข้อมูล [TU Subject Heading] |
Secondary source | แหล่งข้อมูลทุติยภูมิ, Example: Secondary sources หมายถึง แหล่งข้อมูลทุติยภูมิ เป็นแหล่งของข้อมูลที่ได้จากรายงาน หรือถ่ายทอดมาจากข้อมูลชั้นต้น หรือนำข้อมูลปฐมภูมิมาสังเคราะห์และเรียบเรียงขึ้นใหม่ เพื่อเสนอข้อคิดหรือแนวโน้มบางประการ ด้วยเหตุนี้ข้อมูลหรือหลักฐานนั้นจึงถูกรายงานโดยผู้ที่ไม่ได้มีส่วนร่วมหรือเป็นพยานในเหตุการณ์นั้น ผู้เขียนจะรายงานหรือถ่ายทอดในสิ่งที่ผู้อยู่ในเหตุการณ์พูด หรือเขียน หรือถ่ายทอดในลักษณะต่าง ๆ ไว้ หรืออาจจะถ่ายทอดมาหลายทอดก็ได้ การนำมาใช้ในการวิจัยจึงต้องระมัดระวังมากเป็นพิเศษ นอกจากนั้น ข้อมูลที่ได้อาจไม่ทันสมัย ดังนั้น ในการค้นหาข้อมูลทุติยภูมิจึงต้องเลือกค้นหาข้อมูลที่เป็นปัจจุบันอยู่เสมอ ส่วนข้อดีของข้อมูลทุติยภูมิ คือ ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายในการค้นหาข้อมูล แหล่งของข้อมูลทุติยภูมิ ได้แก่ หนังสือทั่วไป หนังสือตำรา หนังสือคู่มือการทำงาน รายงานความก้าวหน้าทางวิทยาการ บทคัดย่องานวิจัย บทวิจารณ์หนังสือ วารสารสาระสังเขป เป็นต้น [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
แหล่งข้อมูล | [laēng khømūn] (n, exp) EN: data source ; source of information |
แหล่งข้อมูลอื่น | [laēng khømūn eūn] (n, exp) EN: external link [ m ] FR: lien externe [ m ] |
chapter and verse | (idm) แหล่งข้อมูล, See also: แหล่งข่าว |
mine of information | (idm) แหล่งข้อมูล, See also: บางคนหรือบางสิ่งที่เต็มไปด้วยข้อมูล |
source | (n) แหล่งข้อมูล, See also: ผู้ให้ข้อมูล, Syn. expert, specialist |
archie | (อาร์' คี) n. ระบบหนึ่งของผู้ให้การบริการ (servers) ที่ค้นหาไฟล์ที่มีอยู่ สำหรับสาธารณในแหล่งข้อมูลโปรโตรคอลแปลงแฟ้มข้อมูล (FTP, file transfer protocol) |
authority | (ออธอ'ริที) n. เจ้าหน้าที่, อำนาจ (ในหน้าที่ตำแหน่ง) , ผู้มีอำนาจ, ผู้เป็นต้นตำรับ, ทางราชการ, แหล่งข้อมูลหรือคำแนะนำที่เชื่อถือได้, ความเชื่อถือได้, ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง, อำนาจทางนิตินัย, อำนาจการเป็นตัวแทน, ความเชี่ยวชาญ, พยาน, การให้การ (คำที่มีความหมายเหมือนก |