มงกุฎไทย | น. ชื่อเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตระกูลหนึ่ง เรียกว่า เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย สร้างขึ้นครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. ๒๔๑๒ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. |
ประถม | ชั้นที่ ๑, เรียกเครื่องราช-อิสริยาภรณ์ชั้นที่ ๑ ในตระกูลช้างเผือกและมงกุฎไทย ว่า ประถมาภรณ์ช้างเผือก ประถมาภรณ์มงกุฎไทย. |
หีบเชิงชาย | น. หีบเกียรติยศประกอบศพที่พระราชทานพระครูสัญญาบัตร ภิกษุสามเณรเปรียญธรรม ๙ ประโยค ข้าราชการชั้นสัญญาบัตรขั้นต้น ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์เบญจมาภรณ์ช้างเผือก เบญจมาภรณ์มงกุฎไทย เบญจมดิเรกคุณาภรณ์เป็นต้น เชิงชายทั้ง ๔ ด้านแกะสลักเป็นลายปิดทองประดับกระจก. |
อนิจกรรม | น. ความตาย, ใช้แก่ผู้ตายที่ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตั้งแต่ชั้นประถมาภรณ์มงกุฎไทยขึ้นไป หรือทุติยจุลจอมเกล้า หรือทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ ว่า ถึงแก่อนิจกรรม. |
มงกุฎไทย | น. ชื่อเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตระกูลหนึ่ง เรียกว่า เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย สร้างขึ้นครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. ๒๔๑๒ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. |
ประถม | ชั้นที่ ๑, เรียกเครื่องราช-อิสริยาภรณ์ชั้นที่ ๑ ในตระกูลช้างเผือกและมงกุฎไทย ว่า ประถมาภรณ์ช้างเผือก ประถมาภรณ์มงกุฎไทย. |
หีบเชิงชาย | น. หีบเกียรติยศประกอบศพที่พระราชทานพระครูสัญญาบัตร ภิกษุสามเณรเปรียญธรรม ๙ ประโยค ข้าราชการชั้นสัญญาบัตรขั้นต้น ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์เบญจมาภรณ์ช้างเผือก เบญจมาภรณ์มงกุฎไทย เบญจมดิเรกคุณาภรณ์เป็นต้น เชิงชายทั้ง ๔ ด้านแกะสลักเป็นลายปิดทองประดับกระจก. |
อนิจกรรม | น. ความตาย, ใช้แก่ผู้ตายที่ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตั้งแต่ชั้นประถมาภรณ์มงกุฎไทยขึ้นไป หรือทุติยจุลจอมเกล้า หรือทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ ว่า ถึงแก่อนิจกรรม. |
อนิจกรรม | ความตาย, ใช้กับผู้ตายที่ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตั้งแต่ชั้น ประถมาภรณ์มงกุฎไทยขึ้นไป หรือ ทุติยจุลจอมเกล้า หรือทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ ว่า ถึงแก่อนิจกรรม [ศัพท์พระราชพิธี] |