ทรัพยากร | (n) resource, See also: property, assets, resort, means, course, device, Example: เยาวชนคือทรัพยากรที่มีค่าของชาติ, Count Unit: ประเภท, Thai Definition: สิ่งทั้งปวงอันเป็นทรัพย์, Notes: (บาลี/สันสกฤต) |
ทรัพยากรธรณี | (n) underground resource, See also: mineral resource, Syn. ทรัพย์ในดิน, Example: แร่คือทรัพยากรธรณี ที่เป็นอนินทรีย์วัตถุ, Thai Definition: ทรัพย์อันอยู่ใต้แผ่นดิน, Notes: (บาลี/สันสกฤต) |
ทรัพยากรธรรมชาติ | (n) natural resource, See also: natural wealth, Example: ทรัพยากรธรรมชาติของประเทศกัมพูชา ยังเกินดุลของการทำลาย, Thai Definition: ทรัพย์อันเกิดขึ้นเองหรือมีอยู่ตามธรรมชาติ |
Collection | ทรัพยากรห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Information resource | ทรัพยากรสารสนเทศ, Example: <p>ทรัพยากรสารสนเทศ หมายถึง สื่อหรือวัสดุที่ใช้ในการบันทึกสารสนเทศและความรู้ แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ 1. ทรัพยากรสารสนเทศตีพิมพ์ (Printed materials) 2. ทรัพยากรสารสนเทศไม่ตีพิมพ์ (Non-printed materials) และ 3. ทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic materials) <p>1. ทรัพยากรสารสนเทศตีพิมพ์ (Printed materials) หมายถึง ทรัพยากรสารสนเทศที่ผลิตเป็นสิ่งพิมพ์ โดยผ่านกระบวนการตีพิมพ์ เช่น ตำรา หนังสืออ้างอิง รายงานการวิจัย วิทยานิพนธ์ นวนิยายและเรื่องสั้น นิตยสารและวารสาร และหนังสือพิมพ์ เป็นต้น <p>2. ทรัพยากรสารสนเทศไม่ตีพิมพ์ (Non-printed materials) หมายถึง ทรัพยากรสารสนเทศที่นำเสนอความรู้ผ่านประสาทสัมผัสทางหูและตาเป็นหลัก ซึ่งไม่ผ่านกระบวนการตีพิมพ์ แบ่งเป็น 2 ประเภทหลัก คือ โสตทัศนวัสดุ และวัสดุย่อส่วน <p>3. ทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic materials) หมายถึง ทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องใช้ระบบแสงเลเซอร์ หรือคอมพิวเตอร์เพื่อช่วยในการอ่านหรือฟัง โดยมีชุดคำสั่งระบบจัดการฐานข้อมูล ทำหน้าที่ควบคุมการจัดการและการใช้ฐานข้อมูล เช่น ฐานข้อมูลออนไลน์ ฐานข้อมูลซีดี-รอม และอินเทอร์เน็ต เป็นต้น [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Library material | ทรัพยากรห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Nonbook material | ทรัพยากรไม่ตีพิมพ์, Example: <p>นอกจากทรัพยากรตีพิมพ์ (Printed material) ซึ่งหมายถึงทรัพยากรสารสนเทศที่ผลิตเป็นสิ่งพิมพ์ เช่น หนังสือ วารสาร นิตยสาร หนังสือพิมพ์ และจุลสาร เป็นต้น ทรัพยากรสารสนเทศอีกประเภทหนึ่ง คือ ทรัพยากรไม่ตีพิมพ์ (Nonbook material หรือ Non-printed material) <p>ทรัพยากรไม่ตีพิมพ์ หมายถึง สื่อที่ใช้ในการบันทึกความรู้ที่นำเสนอสาระความรู้ผ่านประสาทสัมผัสทางหูและตา <p>ประเภทของทรัพยากรไม่ตีพิมพ์ จำแนกได้ 2 ประเภท ได้แก่ โสตทัศนวัสดุ และ วัสดุย่อส่วน <p>1. โสตทัศนวัสดุ หมายถึง วัสดุสำหรับฟังหรือดู ด้วยการนำเสนอเสียงและภาพมากกว่าตัวหนังสือ ตัวอย่าง โสตทัศนวัสดุ แผนภูมิ หุ่นจำลอง เทปเสียง แผ่นเสียง ภาพยนตร์ และ วีดิทัศน์ เป็นต้น <p>2. วัสดุย่อส่วน เป็นการถ่ายภาพย่อส่วนของเอกสารต้นฉบับลงบนแผ่นฟิล์มหรือกระดาษทึบแสง ซึ่งเป็นการย่อให้มีขนาดเล็กจนไม่สามารถอ่านได้ด้วยตาเปล่าและต้องมีเครื่องอ่านเฉพาะ ตัวอย่าง วัสดุย่อส่วน เช่น ไมโครฟิล์ม ไมโครฟิช และ ไมโครคาร์ด <p>โสตทัศนวัสดุ แบ่งได้เป็น 3 ประเภท คือ โสตวัสดุ ทัศนวัสดุ และโสตทัศวัสดุ <p>1. โสตวัสดุ (Audio Materials) คือ สื่อสำหรับฟัง นำเสนอข้อมูล ความรู้ด้วยเสียง เช่น เทปบันทึกเสียง และ แผ่นเสียง เป็นต้น <p>2. ทัศนวัสดุ (Visual Materials) คือ สื่อสำหรับดู นำเสนอข้อมูล ความรู้ด้วยภาพ เช่น วัสดุกราฟิก แผ่นโปร่งใส สไลด์ วัสดุย่อส่วน และ หุ่นจำลอง เป็นต้น <p>3. โสตทัศนวัสดุ (Audio-Visual Materials) คือ สื่อสำหรับฟังและดู นำเสนอข้อมูล ความรู้ด้วยเสียงและภาพ โดยอาศัยอุปกรณ์ในการแปลงสัญญาณ เช่น ภาพยนตร์ โทรทัศน์ วิดีทัศน์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Non-circulation | ทรัพยากรสารสนเทศที่ไม่ให้ยืมออก [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Computer network resources | ทรัพยากรเครือข่ายคอมพิวเตอร์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Biological resources | ทรัพยากรชีวภาพ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Renewable Resources | ทรัพยากรที่นำกลับมาใช้ใหม่ได้ , ทรัพยากรที่นำกลับมาใช้ใหม่ได้, Example: ทรัพยากรธรรมชาติซึ่งสามารถเกิดขึ้นมาใหม่ได้ด้วยตัวเองโดยธรรมชาติ เช่น ปลา ป่าไม้ เป็นต้น หรืออาจเกิดขึ้นและแพร่ขยายให้ได้ผลิตผลมากขึ้นโดยการกระทำของมนุษย์ [ปิโตรเลี่ยม] |
Agricultural resource | ทรัพยากรการเกษตร [เศรษฐศาสตร์] |
Domestic resource | ทรัพยากรในประเทศ [เศรษฐศาสตร์] |
ทรัพยากร | [sapphayākøn] (n) EN: ressource ; ressources ; material resource ; resource property ; property ; assets ; resort ; means ; course; device FR: ressources [ fpl ] |
ทรัพยากรดิน | [sapphayākøn din] (n, exp) FR: ressources su sol [ fpl ] |
ทรัพยากรทางการบริหาร | [sapphayākøn thāng kān børihān] (n, exp) EN: administrative resources |
ทรัพยากรทางการเงิน | [sapphayākøn thāng kānngoen] (n, exp) EN: financial ressources |
ทรัพยากรธรณี | [sapphayākøn thøranī] (n, exp) EN: underground resource ; mineral resource FR: ressources du sous-sol [ fpl ] ; ressources minières [ fpl ] |
ทรัพยากรธรรมชาติ | [sapphayākøn thammachāt] (n, exp) EN: natural resources ; natural wealth FR: ressources naturelles [ fpl ] ; patrimoine naturel [ m ] |
ทรัพยากรน้ำ | [sapphayākøn nām] (n, exp) EN: water resource FR: ressources en eau [ fpl ] |
ทรัพยากรน้ำบาดาล | [Krom Sapphayākøn Nām Bādān] (org) EN: Department of Groundwater Resources |
ทรัพยากรน้ำบาดาล | [sapphayākøn nām bādān] (n, exp) EN: groundwater resources |
ทรัพยากรบุคคล | [sapphayākøn bukkhon] (n, exp) EN: individual resources ; resource person ; human ressources |
conservation | (คอนเซอเว'เชิน) n. การสงวน, การเก็บรักษาไว้, การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ |
data fork | ส่วนข้อมูลแฟ้มข้อมูลที่ใช้บนเครื่องคอมพิวเตอร์แมคอินทอชทุก ๆ แฟ้มจะประกอบด้วยสองส่วน ส่วนที่หนึ่งนั้น เรียกว่า ส่วนข้อมูล (data fork) หมายถึงส่วนที่เป็นข้อมูลจริง ๆ ที่โปรแกรมนั้น ๆ จะต้องใช้ ส่วนที่สองเรียกว่า ส่วนทรัพยากร (resource fork) หมายถึงส่วนที่เป็นข้อคำสั่งต่าง ๆ ที่เรียกว่าโปรแกรม ซึ่งจะเป็นตัวทำงานให้ หรือไม่ก็เป็นสิ่งจำเป็นที่จะต้องมีไว้ เพื่อให้ใช้โปรแกรมนั้น ๆ ได้ครบถ้วน เช่น การกำหนดแบบอักษร (font) สัญรูป (icon) รายการเลือก (menu) เป็นต้น |
resource | (รีซอร์ส') n. แหล่งที่มา, หนทาง, วิธีการ, ทรัพย์สมบัติ, ทรัพยากร, See also: resources n. ทรัพยากรของประเทศ, กำลังเงิน, กำลังวัตถุ, ความสามารถในการจัดการกับสถานการณ์ resourceless adj., Syn. resort, means |
time sharing | การแบ่งกันใช้เวลาหมายถึง การใช้ทรัพยากรต่าง ๆ เช่น ตัวประมวลผล เครื่องพิมพ์ และหน่วยขับจานบันทึกในเครื่องเมนเฟรม หรือเครือข่าย ให้มีประสิทธิภาพสูงสุด โดยใช้ร่วมกันในเวลาเดียวกัน หรือมิฉะนั้นอาจใช้หมายถึงระบบการประมวลผลแบบหนึ่ง ที่ทำให้ เครื่องปลายทาง (terminal) ที่มีอยู่หลายเครื่อง สามารถแบ่งกันใช้เวลาของหน่วยประมวลผลกลางของคอมพิวเตอร์ได้ หมายถึงว่า ทำให้เครื่องสามารถทำงานได้หลาย ๆ อย่าง ในเวลาเดียวกัน หรือพูดง่าย ๆ ได้ว่า เป็นสมรรถวิสัยของเครื่องที่จะสามารถรับข้อมูลจากเครื่องปลายทางได้มากกว่า 1 เครื่องในเวลาเดียวกัน ตัวอย่างที่เห็นได้ง่าย ๆ ก็คือการถอนเงินจากตู้เงินด่วนหรือเครื่องรับจ่ายเงินอัตโนมัติ (ATM) ซึ่งก็คือเครื่องปลายทางแบบหนึ่งนั่นเอง หลายคนจะสามารถถอนเงินจากสาขาต่างกันได้พร้อม ๆ กัน ในเวลาเดียวกัน (บางทีเขียนติดกัน เป็น timesharing ก็มี) |