ชิระ | ว. แก่, ครํ่าคร่า, ชำรุด. |
วชิร-, วชิระ | (วะชิระ-) น. สายฟ้า |
วชิร-, วชิระ | เพชร |
วชิร-, วชิระ | อาวุธพระอินทร์. |
อชิระ | น. สนามรบ, ที่ว่าง, ลาน. |
อชิระ | ว. คล่อง, ว่องไว, ตัวเบา. |
ชิรณ-, ชิรณะ | (ชิระนะ-) ว. แก่, ครํ่าคร่า, ชำรุด. |
ชิรณัคคิ | (ชิระนักคิ) น. ไฟธาตุที่ทำอาหารให้ย่อย, ชีรณัคคิ ก็ว่า. |
วชิรปาณี, วชิรหัตถ์ | น. “ผู้ถือวชิระ” คือ พระอินทร์, วัชรปาณี ก็ว่า. |
วชิราวุธ | น. “ผู้มีวชิระเป็นอาวุธ” คือ พระอินทร์. |
วชิราวุธ | ดู วชิร-, วชิระ. |
วัชร-, วัชระ | (วัดชะระ-) น. วชิระ. |
วัชรปาณี | น. “ผู้ถือวชิระ” คือ พระอินทร์, วชิรปาณี ก็ว่า, ชื่อพระโพธิสัตว์องค์หนึ่งตามคติฝ่ายมหายาน พระหัตถ์ทรงสายฟ้า. |
วิเชียร | น. วชิระ, สายฟ้า |
ชิระ | ว. แก่, ครํ่าคร่า, ชำรุด. |
วชิร-, วชิระ | (วะชิระ-) น. สายฟ้า |
วชิร-, วชิระ | เพชร |
วชิร-, วชิระ | อาวุธพระอินทร์. |
อชิระ | น. สนามรบ, ที่ว่าง, ลาน. |
อชิระ | ว. คล่อง, ว่องไว, ตัวเบา. |
ชิรณ-, ชิรณะ | (ชิระนะ-) ว. แก่, ครํ่าคร่า, ชำรุด. |
ชิรณัคคิ | (ชิระนักคิ) น. ไฟธาตุที่ทำอาหารให้ย่อย, ชีรณัคคิ ก็ว่า. |
วชิรปาณี, วชิรหัตถ์ | น. “ผู้ถือวชิระ” คือ พระอินทร์, วัชรปาณี ก็ว่า. |
วชิราวุธ | น. “ผู้มีวชิระเป็นอาวุธ” คือ พระอินทร์. |
วชิราวุธ | ดู วชิร-, วชิระ. |
วัชร-, วัชระ | (วัดชะระ-) น. วชิระ. |
วัชรปาณี | น. “ผู้ถือวชิระ” คือ พระอินทร์, วชิรปาณี ก็ว่า, ชื่อพระโพธิสัตว์องค์หนึ่งตามคติฝ่ายมหายาน พระหัตถ์ทรงสายฟ้า. |
วิเชียร | น. วชิระ, สายฟ้า |