reposit | (vt) เก็บไว้, See also: วาง |
repository | (n) ที่เก็บ, See also: ที่รองรับ, ที่บรรจุ |
repository | (n) ผู้มีความรู้กว้างขวาง |
repository | (n) ผู้ได้รับความไว้วางใจ |
repository | (n) โกดัง, See also: คลังสินค้า, ที่เก็บสินค้า, Syn. store, warehouse |
repository | (n) สุสาน, See also: ที่ฝังศพ, สถานที่เก็บศพ, ฮวงซุ้ย, Syn. vault |
preposition | (n) คำบุพบท, Syn. conjunctive word, copulative element, function word |
repository | (รีทอส'ซิทอรี) n. ที่รับ, ที่รองรับ, ที่ใส่, ที่เก็บ, สุสาน, ผู้เป็นที่ไว้วางใจ, คลังสินค้า, โกดัง, Syn. burial place, sepulcher |
preposition | (n) คำบุพบท |
repository | (n) โกดัง, คลัง |
pedicle graft; laterally repositioned flap operation | การผ่าตัดเลื่อนแผ่นเหงือกไปด้านข้าง [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] |
laterally repositioned flap operation; pedicle graft | การผ่าตัดเลื่อนแผ่นเหงือกไปด้านข้าง [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] |
reposition | การจัดคืนที่ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
repositor | เครื่องจัดคืนที่ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
apically repositioned flap operation | การผ่าตัดร่นแผ่นเหงือก [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] |
coronally repositioned flap operation | การผ่าตัดเลื่อนแผ่นเหงือกขึ้น [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] |
graft, pedicle; flap operation, laterally repositioned | การผ่าตัดเลื่อนแผ่นเหงือกไปด้านข้าง [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] |
flap operation, apically repositioned | การผ่าตัดร่นแผ่นเหงือก [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] |
flap operation, coronally repositioned | การผ่าตัดเลื่อนแผ่นเหงือกขึ้น [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] |
flap operation, laterally repositioned; graft pedicle | การผ่าตัดเลื่อนแผ่นเหงือกไปด้านข้าง [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Repository | คลังเก็บ สถานที่เก็บ (ข้อมูลดิจิทัล ฐานข้อมูล) แหล่งที่อยู่ (เว็บไซต์) [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Institutional repository | คลังเก็บสารสนเทศระดับสถาบัน, Example: Institutional Repository หรือ คลังเก็บสารสนเทศระดับสถาบัน นั้น หมายถึง คลังเก็บทรัพยากรสารสนเทศดิจิทัล อันเป็นภูมิปัญญาของมหาวิทยาลัย หน่วยงาน องค์กร ซึ่งมีการจัดเก็บเป็นศูนย์รวม มีการสงวนรักษา และมีการจัดทำดัชนีที่ได้มาตรฐาน สามารถสืบค้นทรัพยากรสารสนเทศเหล่านั้นได้ [ 1 ] หรือกล่าวได้ว่า คลังเก็บสารสนเทศระดับสถาบันเป็นบริการหรือหน้าที่ของมหาวิทยาลัย/องค์กร ในการจัดการและเผยแพร่งานในรูปแบบดิจิทัลอันเป็นผลงานหรือผลผลิตของคณาจารย์ นักวิจัย นิสิต นักศึกษา หรือสมาชิกในประชาคมนั้นๆ และผู้ใช้ทั้งภายในและภายนอกสามารถเข้าถึงได้ [ 2, 3 ] ซึ่งผลงานเหล่านั้น นอกจากจะเป็นรายงานที่กำลังดำเนินงาน รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ แล้ว ยังหมายรวมถึงงานที่ยังไม่ได้ตีพิมพ์เผยแพร่ (grey literature) ซึ่งมีเป็นจำนวนมากในวัฒนธรรมของการวิจัยทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ซึ่งเป็นเรื่องยากที่บรรณารักษ์ที่จะรวบรวม จัดเก็บ และสงวนรักษาไว้อย่างเป็นระบบ [ 4 ] <p> คุณลักษณะที่สำคัญของการเป็นคลังเก็บสารสนเทศระดับสถาบัน <p>จอห์นสัน [ 3 ] กล่าวว่า การจัดทำคลังเก็บสารสนเทศระดับสถาบันจะต้องประกอบด้วยคุณลักษณะดังนี้ <p> 1. เนื้อหาที่เป็นดิจิทัล (Digital content) ในระบบของคลังเก็บสารสนเทศระดับสถาบันนั้นเก็บผลงานที่เป็นดิจิทัลเท่านั้น <p> 2. การเน้นงานที่สร้างโดยสมาชิกของสถาบัน (Institutionally-defined) การจัดทำคลังเก็บระดับสถาบันเน้นการจัดเก็บผลงานของสมาชิกในประชาคมนั้นๆ เท่านั้น <p> 3. เนื้อหาทางวิชาการ (Scholarly content) เนื้อหา ที่นำมาจัดเก็บในคลังเก็บสารสนเทศระดับสถาบันนั้น เน้นเนื้อหาทางวิชาการ เพื่อให้ตรงกับวัตถุประสงค์ของการเป็นคลังเก็บสารสนเทศระดับสถาบันในการรวบรวม การสงวนรักษา และการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ซึ่งผลงานเหล่านี้อาจหมายรวมถึง ผลงานก่อนตีพิมพ์ และผลงานที่อยู่ในระหว่างการดำเนินงาน บทความที่อยู่ในระหว่างการพิจารณา หนังสือ สื่อการสอน ชุดข้อมูล บทความเสนอการประชุม วิทยานิพนธ์อิเล็กทรอนิกส์ และวรรณกรรมไม่ตีพิมพ์ เป็นต้น การควบคุมและการจัดการการเข้าถึงเนื้อหาทางวิชาการเหล่านี้ จำเป็นต้องอาศัยนโยบายและกลไกที่เหมาะสม รวมทั้งการบริหารจัดการด้านเนื้อหาและระบบการควบคุมเอกสาร (document version control systems) กรอบนโยบายและโครงสร้างพื้นฐานทางเทคนิคของคลังเก็บต้องเอื้ออำนวยให้ผู้ จัดการคลังเก็บมีความยืดหยุ่นต่อการควบคุมระบบ ใครเป็นผู้ที่สามารถรับรอง (approve) เข้าถึง (access) แก้ไข (update) ผลงานดิจิทัลเหล่านั้นที่มาจากต่างแหล่งกันในชุมชนนั้นๆ <p> 4. การสะสมเพิ่มพูน และความยั่งยืน (Cumulative and perpetual) ในส่วนของการเป็นคลังเก็บจะต้องมีการสะสมผลงาน ผลงานเมื่อมีการนำเข้าคลังเก็บแล้ว ไม่ควรมีการถอดถอนออกจากคลัง ยกเว้นแต่มีเหตุจำเป็น เช่น งานนั้นมีการละเมิดลิขสิทธิ์ เป็นต้น การเป็นคลังเก็บจึงต้องพัฒนาเกณฑ์และนโยบาย รวมทั้งนำระบบการจัดการสิทธิ์ (right management) มาประยุกต์ใช้ ในการอนุญาตให้เข้าถึงเนื้อหาในคลังเก็บทั้งจากหน่วยงานภายในและหน่วยงานภาย นอก รวมทั้งต้องมีระบบการสงวนรักษาผลงาน และสามารถให้เข้าถึงได้ในระยะยาวได้ <p> 5. การทำงานร่วมกันได้และการเข้าถึงแบบเปิด/แบบเสรี (Interoperable and open access) คุณลักษณะที่สำคัญประการหนึ่งของการเป็นคลังเก็บสารสนเทศระดับสถาบัน คือ การสามารถให้มีการเข้าถึงได้แบบเปิด / แบบเสรี หรือมีปัญหาในการเข้าถึงให้น้อยที่สุด (เช่น การต้องลงทะเบียนในการเข้าใช้) ในส่วนของการเป็นระบบที่สามารถทำงานร่วมกันได้นั้น เป็นเรื่องทางเทคนิคที่มีการนำการเก็บถาวรแบบเปิด หรือ Open Archives Initiative (OAI) มาใช้เพื่อเป็นแนวทางการกำหนดมาตรฐานสำหรับการเก็บรักษาในเชิงบันทึกถาวร และสามารถเชื่อมโยง แลกเปลี่ยนเมทาดาทาทำให้สามารถสืบค้น และเรียกใช้ข้อมูลข้ามระบบกันได้ <p>ประโยชน์ของการมีคลังเก็บสารสนเทศระดับสถาบัน <p> 1. ทำให้เกิดระบบการรวบรวม สงวนรักษา และเผยแพร่เนื้อหาทางวิชาการ <p> 2. เป็นเสมือนตัวชี้วัดของคุณภาพทางวิชาการของมหาวิทยาลัย หน่วยงานวิจัย โดยมุ่งที่รวมเอางานทางปัญญาของมหาวิทยาลัย หน่วยงานวิจัย มาไว้ในที่เดียวกัน และสามารถเข้าถึงได้ทั่วโลก <p> 3. เป็นการสงวนรักษาทรัพย์สินทางปัญญาในรูปดิจิทัล <p> 4. เป็นเสมือนพื้นฐานของกระบวนทัศน์ใหม่ในการพิมพ์ผลงานทางวิชาการ <p> 5. เป็นการสื่อสารทางวิชาการ (scholarly communication) <p> 6. เป็นการจัดการความรู้ <p> 7. เป็นการสนับสนุนเรื่องการเข้าถึงโดยเสรี <p>รายการอ้างอิง: <p>[ 1 ] “What is an Institutional Repository”. [ On-line ]. Available: http://library.ucalgary.ca/libraryinformation/dspace/whatisaninstitutionalrepository.php. Visited: 12/08/2007 10.30. <p>[ 2 ] Lynch, Clifford A. “Institutional repository : essential infrastructure for scholarship in the digital age.” ARL 226 (February 2003): 1-7 [ On-line ]. Available: http://www.arl.org/resources/pubs/br/br226/br226ir.shtml. Visited: 12/08/2007 10.34. <p>[ 3 ] Johnson, Richard K. “Institutional repositories : partnering with faculty to enhance scholarly communication.” D-Lib Magazine V.8 No.11 (November 2002) [ On-line ]. Available: http://www.dlib.org/dlib/november02/johnson/11johnson.html. Visited: 12/08/10.52. <p>[ 4 ]Tennant, Roy. “Institutional Repositories”. Library Journal 9, 15 (2002). [ On-line ]. Available: http://www.libraryjournal.com/index.asp?layout=article&articleid=CA242297&publication=libraryjournal. Visited: 13/08/2007. 10.51. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Prepositions | บุพบท [TU Subject Heading] |
Information Repository | คลังสารสนเทศ [การจัดการความรู้] |
คำบุพบท | (n) preposition, Example: ในการสังเคราะห์ภาษาไทยนั้นจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องสร้างคำบุพบทหรือคำคุณศัพท์ต่างๆ, Count Unit: คำ, Thai Definition: คำบุพบทคือคำซึ่งมีหน้าที่เชื่อมระหว่างคำนามกับคำนาม |
บุรพบท | (n) preposition, Syn. บุพบท, คำเชื่อม, Example: นักศึกษามักใช้บุรพบทไม่ค่อยถูกต้องตามหลักภาษาไทย, Thai Definition: คำชนิดหนึ่งในไวยากรณ์ ทำหน้าที่เชื่อมคำต่อคำ อยู่หน้านาม สรรพนาม หรือกริยา |
บุพบทวลี | (n) prepositional phrase, Example: คำวิเศษณ์บางทีก็มีลักษณะเป็นบุพบทวลีได้เหมือนกัน, Thai Definition: คำบุพบทที่เรียงต่อกันซึ่งมีความหมาย |
บุพบท | (n) preposition, Syn. คำเชื่อม, บุรพบท, Example: คำว่า “ลวนลาม” จะตามด้วยคำนามที่เป็นกรรมได้โดยไม่ต้องมีบุพบทมานำหน้า, Thai Definition: คำชนิดหนึ่งในไวยากรณ์ ทำหน้าที่เชื่อมคำต่อคำ อยู่หน้าคำนาม สรรพนาม หรือกริยา |
กรุ | (n) underground hiding place, See also: chamber, repository, hiding place, Syn. ห้องใต้ดิน, ห้องใต้พระเจดีย์, Example: พระเครื่องรุ่นนี้ได้มาจากกรุวัดพระศรีสัชนาลัย, Thai Definition: ห้องที่ทำไว้ใต้ดินและใต้พระเจดีย์ |
บุพบท | [bupphabot] (n) EN: preposition FR: préposition [ f ] |
บุพบทวลี | [bupphabot walī] (n, exp) EN: prepositional phrase |
หอไตร | [høtrai] (n) EN: hall for keeping the scriptures ; temple repository for the Buddhist scriptures ; tripitaka hall |
คลัง | [khlang] (n) EN: storehouse ; warehouse ; repository FR: dépôt [ m ] ; entrepôt [ m ] |
reposition | |
repository | |
repositioned | |
repositories | |
repositioning |
repository | |
preposition | |
prepositions | |
repositories | |
prepositional |
preposition | (n) a function word that combines with a noun or pronoun or noun phrase to form a prepositional phrase that can have an adverbial or adjectival relation to some other word |
preposition | (n) (linguistics) the placing of one linguistic element before another (as placing a modifier before the word it modifies in a sentence or placing an affix before the base to which it is attached) |
prepositional | (adj) of or relating to or formed with a preposition |
prepositionally | (adv) as a preposition |
prepositional object | (n) the object governed by a preposition, Syn. object of a preposition |
prepositional phrase | (n) a phrase beginning with a preposition |
reposit | (v) put (something) in a place for storage |
repositing | (n) depositing in a warehouse, Syn. reposition, warehousing, storage |
reposition | (v) place into another position |
repositioning | (n) the act of placing in a new position |
repository | (n) a person to whom a secret is entrusted, Syn. secretary |
repository | (n) a burial vault (usually for some famous person), Syn. monument |
depository | (n) a facility where things can be deposited for storage or safekeeping, Syn. repository, deposit, depositary |
shift | (v) change place or direction, Syn. dislodge, reposition |
Preposition | n. [ L. praepositio, fr. praeponere to place before; prae before + ponere to put, place: cf. F. préposition. See Position, and cf. Provost. ] [ 1913 Webster ] He made a long preposition and oration. Fabyan. [ 1913 Webster ] |
Prepositional | a. [ Cf. F. prépositionnel. ] Of or pertaining to a preposition; of the nature of a preposition. Early. -- |
Prepositive | a. [ L. praepositivus: cf. F. prépositif. ] (Gram.) Put before; prefixed; |
Prepositor | ‖n. [ NL. ] A scholar appointed to inspect other scholars; a monitor. Todd. [ 1913 Webster ] |
Prepositure | n. [ L. praepositura. See Preposition, and cf. Provost. ] The office or dignity of a provost; a provostship. Lowth. [ 1913 Webster ] |
Reposit | v. t. Others reposit their young in holes. Derham. [ 1913 Webster ] |
Reposition | n. [ L. repositio. ] The act of repositing; a laying up. [ 1913 Webster ] |
Repositor | n. (Surg.) An instrument employed for replacing a displaced organ or part. [ 1913 Webster ] |
Repository | n. [ L. repositorium, repostorium: cf. OF. repositoire. ] A place where things are or may be reposited, or laid up, for safety or preservation; a depository. Locke. [ 1913 Webster ] |
府 | [府] seat of government; government repository (archive); official residence; mansion; presidential palace; (honorific) Your home; prefecture (from Tang to Qing times) #3,434 [Add to Longdo] |
介词 | [介 词 / 介 詞] preposition #45,003 [Add to Longdo] |
转移阵地 | [转 移 阵 地 / 轉 移 陣 地] to move one's base (of operations); to reposition; to relocate #82,534 [Add to Longdo] |
正仓院 | [正 仓 院 / 正 倉 院] Shōsō-in, treasure house belonging to Tōdai-ji 東大寺, Nara 奈良, Japan, an extensive repository of imperial treasures from Tang times; described as the east-most end of the Silk road #182,629 [Add to Longdo] |
介系词 | [介 系 词 / 介 系 詞] preposition [Add to Longdo] |
バイオバンク | [baiobanku] (n) DNA repository (wasei [Add to Longdo] |
リポジトリ | [ripojitori] (n) repository [Add to Longdo] |
レポジトリ | [repojitori] (n) { comp } repository (esp. in version control systems like CVS, SVN, etc.) [Add to Longdo] |
群前置詞 | [ぐんぜんちし, gunzenchishi] (n) { ling } group preposition [Add to Longdo] |
整復 | [せいふく, seifuku] (n, vs) reposition [Add to Longdo] |
接置詞 | [せっちし, secchishi] (n) adposition; prepositions and pospositions [Add to Longdo] |
前置詞 | [ぜんちし, zenchishi] (n) { ling } preposition [Add to Longdo] |
抜き取り検査 | [ぬきとりけんさ, nukitorikensa] (n) sequential sampling inspection (with reposition) [Add to Longdo] |
複合前置詞 | [ふくごうぜんちし, fukugouzenchishi] (n) (obsc) (See 群前置詞) complex preposition [Add to Longdo] |
宝殿 | [ほうでん, houden] (n) (shrine) repository or treasure house; (shrine) sanctuary [Add to Longdo] |
宝物殿 | [ほうもつでん, houmotsuden] (n) (shrine) repository or treasure house; (shrine) sanctuary [Add to Longdo] |