กว้างใหญ่ | ก. แผ่ออกไปไกล. |
กินเล็กกินน้อย | ก. เบียดบังแม้แต่เงินหรือของเล็ก ๆ น้อย ๆ เช่น ถ้าเจ้าหน้าที่ในโครงการไม่กินเล็กกินน้อย โครงการนี้คงจะก้าวหน้าไปไกลแล้ว. |
คล้อยคล้อย | ก. ไกลออกไปทุกที, เคลื่อนออกไปไกล. |
จรลิ่ว | (จอระ-) ก. เที่ยวไปไกล, ลอยไป, เช่น เหลียวแลทางจรลิ่ว เหลียวแลทิวเทินป่า (ลอ). |
จักจั่น ๑ | (จักกะ-) น. ชื่อแมลงในวงศ์ Cicadidae ลำตัวยาวตั้งแต่ ๒-๑๐ เซนติเมตร หัวและอกกว้าง ปีกมี ๒ คู่ เนื้อปีกส่วนใหญ่ใสเหมือนกันทั้ง ๒ คู่ เมื่อเกาะอยู่กับที่ปีกพับเป็นรูปหลังคาคลุมตัว มีปากชนิดเจาะดูด ตาโตเห็นได้ชัด เพศผู้มีอวัยวะทำเสียงอยู่ทางด้านล่างของส่วนท้องได้ยินไปไกล ส่วนใหญ่ลำตัวสีน้ำตาลเข้ม ที่พบบ่อยเป็นชนิด Dundubia intermerata Walker. |
ชู้ | น. คู่รัก เช่น ข้าสมจรด้วยกันพ่อแม่และเจ้าข้ามิให้ และมันภากันหนีไปไกล หญิงนั้นยังมิเปนเมียชายเปนแต่ชู้กัน (สามดวง ลักษณผัวเมีย), ถ้าชายผู้ใดเอาหญิงเปนชู้เปนเมีย แต่ในกำหนดนั้นคือเมียท่านแลให้ไหมโดยขนาด (สามดวง ลักษณผัวเมีย), บุคคลที่เป็นที่รัก เช่น ร้อยชู้ฤๅเท่าเนื้อ เมียตน (ลอ) |
ดงดึก | น. ป่าลึกเข้าไปไกล. |
เปิด | หนี เช่น ผู้ร้ายเปิดไปไกลแล้ว. |
เผ่น | ก. อาการที่กระโดดโจนไปโดยไม่รั้งรอ เช่น สิงโตเผ่น เผ่นข้ามหน้าต่าง, หลบหน้าไปอย่างรวดเร็ว เช่น เมื่อตำรวจมาถึง โจรก็เผ่นไปไกลแล้ว. |
แม่ม่ายลองไน | น. ชื่อจักจั่นขนาดใหญ่ที่มีแถบสีดำ ขาว เหลือง หรือส้มพาดขวางเด่นตามลำตัวและปีก เฉพาะเพศผู้มีอวัยวะทำเสียงบริเวณด้านล่างของส่วนท้อง เสียงนั้นก้องได้ยินไปไกล มีหลายชนิด ชนิดที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย คือ ชนิด Tosena melanoptera (White) ในวงศ์ Cicadidae เมื่อหุบปีกวัดจากหัวถึงปลายปีกยาว ๙-๑๐ เซนติเมตร, ลองไน ก็เรียก. |
ย่านยาว | น. แถบแม่นํ้าที่ยาวตรงไปไกล. |
ยาวเหยียด | ว. ทอดตรงออกไปเต็มเหยียด เช่น นอนยาวเหยียด, ยาวเป็นแถวเป็นแนวไปไกล เช่น ขบวนยาวเหยียด, ยาวมากเกินไป เช่น พรรณนาสรรพคุณเสียยาวเหยียด. |
ระบือ | ว. เล่าลือ เช่น ข่าวระบือ, เลื่องลือ, แพร่หลายรู้กันทั่ว, เช่น ชื่อเสียงระบือไปไกล. |
ละลิบ | ว. ลิบ, ลิ่ว, สูง, โด่ง, ไกล, ลอยไปไกล. |
be ahead of | (phrv) ล้ำหน้า, See also: นำหน้า, ล้ำสมัย, คิดไปไกล, Syn. keep ahead of |
go beyond | (phrv) ก้าวหน้ากว่า, See also: ไปไกลกว่า, Syn. get beyond, get past |
go down to | (phrv) ไปไกลจนถึง, See also: ไกลลงไป, Syn. go back to, go down |
go down | (phrv) กว้างหรือไปไกลถึง, See also: มีเนื้อที่, Syn. go back, go down |
go farther | (phrv) เดินทางไปไกลกว่านี้, See also: ไปไกลกว่านี้ |
go further | (phrv) เดินทางไปไกลกว่านี้, See also: ไปไกลกว่านี้ |
go out of earshot | (idm) ไปไกลเกินกว่าจะได้ยิน, Syn. come within |
go past | (phrv) ก้าวหน้ากว่า, See also: ไปไกลกว่า, Syn. get beyond, get past, go beyond |
keep away | (phrv) อยู่ห่าง, See also: เลิก, หยุด, ไปไกล, Syn. be away, remain away |
keep away from | (phrv) อยู่ห่าง, See also: เลิก, หยุด, ไปไกล |
outdistance | (vt) ไปไกลกว่า |
Bag your face! | (sl) ไปให้พ้น, See also: ไปไกลๆ |
Get lost! | (sl) ไปให้พ้น, See also: ไปไกลๆ, ไสหัวไป |
see around | (phrv) มองไปไกล, See also: เห็นไปไกล, Syn. see round |
see beyond | (phrv) มองไปไกลกว่า |
ship out | (phrv) ส่งไปไกล |
tail back | (phrv) ต่อท้ายไปไกล, See also: ต่อหางไปไกล, ขยาย / ต่อออกไป ด้านหลัง ไกล |
basic | (เบ'ซิค) 1. adj. เกี่ยวกับฐาน, เกี่ยวกับด่าง 2. เป็นภาษาระดับสูง (high level language) ภาษาหนึ่งใช้ในการเขียนโปรแกรม ภาษาเบสิกนี้เขียนง่าย ๆ เหมาะกับผู้เริ่มต้นเรียน คำว่า BASIC นั้นย่อมาจาก Beginner's All-purpose Symbolic Instruction Code แปลได้ว่า รหัสคำสั่งที่เป็นสัญลักษณ์เอนกประสงค์สำหรับผู้เริ่มต้นใช้คอมพิวเตอร์ เมื่อเริ่มนำออกใช้ใหม่ ๆ ภาษานี้มีข้อจำกัดมาก ในปัจจุบันแม้จะมีการพัฒนาภาษานี้ไปไกลแล้ว แต่นักทำโปรแกรมทั่วไปมักจะดูถูกว่า เป็นภาษาสำหรับผู้เริ่มต้น และไม่นิยมนำมาใช้ในการเขียนโปรแกรมใหญ่ ๆ ข้อดีของภาษานี้ก็คือ จะทราบที่ผิดและแก้ไขได้ทันที |
farsighted | (ฟาร์'ไซ'ทิด) adj. สายตายาว, ซึ่งมองไปไกล, ฉลาด., See also: farsightedly adv. farsightedness n., Syn. wise |
image processing | การประมวลผลภาพเป็นเทคนิคในการประมวลผลที่มีข้อมูลเป็นภาพ คอมพิวเตอร์จะอ่านภาพที่ถูกส่งเข้าไป แล้วแปลงเป็นตัวเลข เราสามารถดัดแปลง แก้ไข ปรับขยาย หมุน ฯ เพื่อการวิเคราะห์บางอย่างได้ ปัจจุบัน ถือเป็นสาขาหนึ่งของคอมพิวเตอร์ที่มีการพัฒนาไปไกลมากจนเป็นที่ยอมรับ และมีผู้สนใจมาก การมีภาพประกอบในเอกสารต่าง ๆ หรือในการแสดงผลงาน จะช่วยทำให้งานนั้นน่าสนใจขึ้น |
natural language processi | การประมวลผลภาษาธรรมชาติหมายถึง การที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถทำการประมวลผลได้โดยใช้โปรแกรมที่เขียนด้วยภาษาธรรมชาติ พูดง่าย ๆ ก็คือ สามารถใช้ภาษาธรรมดา ๆ สั่งการให้คอมพิวเตอร์ปฏิบัติตามได้ ในปัจจุบัน คอมพิวเตอร์จะใช้ภาษาเฉพาะที่มีกฎเกณฑ์ ไวยากรณ์ และศัพท์ของตนเอง ที่เรียกว่า ภาษาเชิงมนุษย์ (human oriented language) เช่น ภาษา C ภาษา BASIC ภาษา COBOL ฯ ส่วนภาษาธรรมชาตินั้น หมายถึง ภาษาที่ใช้ในชีวิตประจำวัน เช่น ภาษาอังกฤษ ภาษาไทย แม้ว่าในปัจจุบัน จะมีการ พัฒนาด้านนี้กันไปไกลมาแล้ว แต่ก็สรุปได้ว่า ยังใช้การไม่ได้ดีเท่าที่ควร ทั้งนี้อาจเป็นเพราะภาษานั้นมีความสลับซับซ้อนเป็นอย่างมาก ยากที่จะแปลหรือตีความให้ตาย ตัวได้ |
scanner | เครื่องกราดตรวจเครื่องกราดภาพตัวกราดตรวจตัวกราดภาพหมายถึง อุปกรณ์ชนิดหนึ่ง ที่ใช้ต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์ ใช้สำหรับนำข้อความหรือภาพเข้าไปเก็บไว้ในหน่วยความจำได้ ด้วยวิธีการกราดแสงผ่าน คอมพิวเตอร์สามารถนำข้อมูลที่ส่งเข้าไปนั้นมาแก้ไข ปรับแต่ง เพิ่มเติม จัดเก็บและแสดงผลออกมาได้ทั้งทางจอภาพและเครื่องพิมพ์ แต่เดิม เมื่อใช้เครื่องจับภาพอ่านข้อมูลที่เป็นเอกสารเข้าไป คอมพิวเตอร์จะนำไปเก็บในลักษณะของภาพ (image) กล่าวคือไม่สามารถนำข้อความนั้นมาแก้ไขได้ แต่ในปัจจุบัน การพัฒนาได้ก้าวไปไกล ถึงการที่สามารถแปลงตัวอักษรที่เป็นภาพ ให้มีลักษณะเป็นเอกสารที่นำมาแก้ไขตัวสะกดได้ โดยนำมาทำในโปรแกรมประมวลผลคำ (word processing) เครื่องกราดภาพที่นิยมใช้กันอยู่ในปัจจุบันมี 2 แบบคือ แบบระนาบ (flatbed) กับแบบมือถือ (handheld) เช่น แบบที่ใช้ในการอ่านรหัสแท่ง (bar code) ใช้ตามร้านสรรพสินค้า |
teleprinter | เครื่องโทรพิมพ์หมายถึงเครื่องพิมพ์ที่มีการเชื่อมประสาน (interface) กับเครื่องคอมพิวเตอร์ และสามารถแสดงผลได้ด้วยการพิมพ์ลงบนกระดาษ และรับข้อมูลผ่านไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์ได้ เครื่องพิมพ์ชนิดนี้ทำงานภายใต้การควบคุมของหน่วยประมวลผลกลางของเครื่องคอมพิวเตอร์ สามารถพิมพ์ได้เร็วประมาณ 10 - 15 ตัวอักษร ต่อวินาที เครื่องพิมพ์ชนิดนี้จะมีลักษณะเหมือนเครื่องปลายทาง (terminal) ที่อาจอยู่ใกล้เครื่องคอมพิวเตอร์ หรือห่างออกไปไกล ๆ ก็ได้ สามารถทำได้ทั้งส่ง และรับข้อมูลมีความหมายคล้าย teletypewriter |