ฌาณ | (n) ฌาณ หรือ อธิจิต(supraconscious) เป็นจิตที่เป็นที่สุดของปัญญา คือความรู้ชัดธรรมชาติของมนุษย์ว่านี้ทุกข์ นี้ทุกขสมุทัย นี้ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา(คือความรู้มรรค 8 การคิดปฏิบัติเพื่อดับทุกข์) เป็นจิตที่อยู่เหนือและสามารถ ควบคุมหรือข่ม ได้ทั้งจิตสำนึก(consious) และจิตใต้สำนึก(subconsious) ซึ่งเป็นความรู้ที่สูดของวิญญาณคือความรู้แจ้งของธรรมชาติของมนุษย์ว่า นี้สุข นี้ทุกข์ นี้มิใช่ทุกข์ มิใช่สุข อธิจิตใช้สำหรับดับกิเลส ซึ่งสามารถทำให้เกิดนิมิตขึ้นมาได้ เพื่อดับกิเลสในเวลาที่เกิดกิเลสขึ้น พระผู้มีพระภาค(พระพุทธเจ้า)ได้ตรัสพระพุทธพจน์นี้ไว้ในพระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๒ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๔ มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์๑๐. วิตักกสัณฐานสูตรว่าด้วย อาการแห่งวิตก การเรียกอธิจิตของตนเอง ถ้าไม่มีพรสวรรค์หรือบารมีที่สะสมมาแต่ปางก่อน จะเรียกไม่ได้ เพราะจิตยังไม่มั่นคงพอ จะต้องเรียนรู้และทำความเพียรที่ทนได้ยาก ฝึกฝน จนเกิดความชำนาญ ซึ่งข้าพเจ้ามีความสามารถที่จะให้คนทั่วไปเรียกอธิจิตของตนเองได้ เช่นให้ผู้ป่วยเรียกอธิจิตของเขาออกมารักษาโรคภัยไข้เจ็บทั้งทางกายและใจของเขาที่เป็นอยู่ โดยสั่งให้จิตของเขาตกอยู่ในภาวะภวังค์ ด้วยการสั่งระงับจิตหยาบที่ทำให้เขาเกิดโรคทั้งทางกายและทางใจ เพื่อเขาจะได้มีจิตที่มั่นคงถึงอธิจิตแล้วสั่งยาหรือภูมิต้านทานในตัวของเขาออกมารักษาโรค ซึ่งได้ผลดีกว่าแพทย์แผนปัจจุบัน และแพทย์ทางเลือกวิธีอื่น นี่คือประโยชน์จากการเรียกหรือฝึกเรียกอธิจิตของตนเอง ซึ่งพระพุทธเจ้าสามารถเรียก Stem cell ในพระวรกายของพระองค์ออกมารักษาโรคได้นานมาแล้วหรือมากกว่า 2554 ปี ส่วนนักวิทยาศาสตร์พึ่งจะมาค้นพบวิธีใช้ Stem cell รักษาบางโรคเมื่อ 50 ปีมานี้เอง การรักษายังมีข้อบ่กพร่องและเงื่อนไขในการรักษาเพื่อจะได้ผลลัพท์จนเป็นที่น่าพอใจของแพทย์อยู่อีกมาก แต่วิธีของพระพุทธองค์ไม่มีเงื่อนไข ถ้าคนป่วยสามารถเรียกอธิจิตของตนเองได้ ข้าพเจ้าได้ใช้อธิจิตรักษา โรคปวดตามอวัยวะและโรคหวัดป่วยของข้าพเจ้าเอง และรักษาโรคปวดและอัมพาลให้กับคนป่วยแล้วหลายราย ซึ่งได้รับผลเป็นที่น่าพอใจของข้าพเจ้าและของคนป่วย |
ไตรปิฎก | (n) Tripitaka, See also: Tripitaka consisting of the teachings of Buddha, Syn. ตรีปิฎก, พระไตรปิฎก, พระตรีปิฎก, Example: ทั้งสองพระองค์ได้ทรงศึกษาไตรปิฎกอย่างลึกซึ้ง, Thai Definition: พระธรรมคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า มี 3 ปิฎก คือ วินัยปิฎก สุตตันตปิฎก อภิธรรมปิฎก |
พระไตรปิฎก | (n) Tripitaka, See also: Buddha's teaching divided into three parts, Buddhist Scriptures, Example: พระเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้ชำระรวบรวมคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนาจัดขึ้นเป็นพระไตรปิฎกจารึกลงบนแผ่นใบลานปิดทองใบปกทั้งหน้าหลัง, Thai Definition: พระธรรมคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้ามี 3 ปิฎก คือ วินัยปิฎก สุตตันตปิฎกและอภิธรรมปิฎก |
ตู้พระไตรปิฎก | น. ตู้เก็บพระไตรปิฎก. |
ไตรปิฎก | (-ปิดก) น. พระธรรมคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า มี ๓ ปิฎก คือ พระวินัย เรียก วินัยปิฎก พระสูตร เรียก สุตตันตปิฎก พระอภิธรรม เรียก อภิธรรมปิฎก, ใช้ว่า ตรีปิฎก ก็ได้. |
ชำระ | สะสาง, ปรับปรุงแก้ไขให้ดีขึ้น, เช่น ชำระพระไตรปิฎก ชำระพจนานุกรม |
ตรีปิฎก | น. ไตรปิฎก, พระธรรมคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้ามี ๓ ปิฎก คือ พระวินัย เรียก วินัยปิฎก พระสูตร เรียก สุตตันตปิฎก พระอภิธรรม เรียก อภิธรรมปิฎก. |
ทรง | จำ เช่น ทรงพระไตรปิฎก |
ธรรมขันธ์ | ข้อธรรม (กำหนดข้อธรรมในพระไตรปิฎกว่ามี ๘๔, ๐๐๐ พระธรรมขันธ์). |
ธรรมเจดีย์ | น. คัมภีร์ที่จารึกพระธรรม เช่น พระไตรปิฎก, เจดีย์ที่บรรจุพระธรรมที่มักจารลงบนใบลาน. |
นิบาต | (-บาด) น. เรียกคัมภีร์ในพระพุทธศาสนาประเภทหนึ่งที่รวบรวมพระสูตรเบ็ดเตล็ดหรือชาดกต่าง ๆ ไว้ด้วยกัน เช่น สุตตนิบาต = ชื่อคัมภีร์ที่รวบรวมพระสูตรเบ็ดเตล็ดต่าง ๆ ไว้ด้วยกัน นิบาตชาดก = ชื่อคัมภีร์ที่รวบรวมชาดกต่าง ๆ ในพระไตรปิฎกไว้ด้วยกัน โดยแบ่งย่อยเป็นหมวดต่าง ๆ |
นิบาตชาดก | น. ชื่อคัมภีร์ที่รวบรวมชาดกต่าง ๆ ในพระไตรปิฎกไว้ด้วยกัน โดยแบ่งย่อยเป็นหมวดต่าง ๆ เช่น เอกกนิบาตชาดก ทุกนิบาตชาดก. |
บาลี | คัมภีร์พระไตรปิฎก, พุทธพจน์, เรียกว่า พระบาลี. |
ปริยัติ | (ปะริยัด) น. การเล่าเรียนพระไตรปิฎก. |
ปริยัติธรรม | (ปะริยัดติทำ) น. ธรรมที่จะต้องเล่าเรียนได้แก่พระไตรปิฎก. |
วินัยปิฎก | (วิไนยะปิดก, วิไนปิดก) น. ชื่อปิฎก ๑ ในพระไตรปิฎก. |
สังคายนา, สังคายนาย | (-คายะ-, -คายยะ-) น. การซักซ้อม, การสวดพร้อมกันและเป็นแบบเดียวกัน, การประชุมชำระพระไตรปิฎกให้เป็นแบบเดียวกัน. |
สังคีติ | น. สังคายนา, การสวดพร้อมกันและเป็นแบบเดียวกัน, การประชุมชำระพระไตรปิฎกให้เป็นแบบเดียวกัน. |
สุตตันตปิฎก, สุตตันตะ | (สุดตันตะปิดก) น. ชื่อปิฎก ๑ ในพระไตรปิฎก. |
หอไตร | น. หอสำหรับเก็บพระไตรปิฎก. |
อภิธรรมปิฎก | น. ชื่อปิฎก ๑ ในพระไตรปิฎก, นิยมเรียกสั้น ๆ ว่า พระอภิธรรม. |
อรรถกถา | (อัดถะกะถา) น. คัมภีร์ที่อธิบายความพระบาลี, คัมภีร์ที่ไขความพระไตรปิฎก. |
World in the Tripitaka | โลกในพระไตรปิฎก [TU Subject Heading] |
Women in the Tripitaka | สตรีในพระไตรปิฎก [TU Subject Heading] |
India in the Tripitaka | อินเดียในพระไตรปิฎก [TU Subject Heading] |
Tripitaka | พระไตรปิฎก [TU Subject Heading] |
พระไตรปิฎก | [Phratraipidok] (n, prop) EN: Pali Buddhist scripture ; Tripitaka (Sanskrit) ; Tipitaka (Pali) ; Buddhist Scriptures ; The Three Baskets FR: Canon bouddhique pali [ m ] ; tipitaka (pali) [ m ] ; tripitaka (sanskrit) [ m ] ; triple corbeille [ f ] |
ไตรปิฎก | [Traipidok] (n, prop) EN: Tipitaka ; Tripitaka ; Triple Basket ; Pali Canon |
Tripitaka | (n) พระไตรปิฎก |
worm disk | จานเวิร์มคำ WORM ย่อมาจาก write once read many (แปลว่า จานเขียนหนึ่งอ่านหลาย) เป็นจานบันทึกชนิดหนึ่งที่ใช้แสงเลเซอร์ช่วยในการบันทึกข้อมูล มีความจุหลายล้านตัวอักษร (ประมาณ 600, 000 หน้ากระดาษพิมพ์) สามารถค้นหาข้อมูลได้รวดเร็ว สื่อชนิดนี้สามารถบันทึกข้อมูลได้เพียงครั้งเดียว แต่จะนำมาใช้อ่านกี่ครั้งก็ได้ เหมาะที่จะใช้เก็บข้อมูลจำนวนมากที่ไม่ต้องการแก้ไขแล้ว เช่น สาราณุกรม พระไตรปิฎก ฯ |