82 ผลลัพธ์ สำหรับ *อีสา*
หรือค้นหา: อีสา, -อีสา-

Longdo Unapproved TH - TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
กันตรึมรูปแบบดนตรีพื้นบ้านทางภาคอีสานตอนใต้ของประเทศไทย
ปลากระดี่[Pla-Kra-Di] (n) Gourami (อินโดนีเซีย: Sepat, อีสาน: กระเดิด) เป็นสกุลปลาน้ำจืดจำพวกหนึ่ง ในสกุล Trichogaster ในวงศ์ย่อย Luciocephalinae ในวงศ์ใหญ่ Osphronemidae มีรูปร่างโดยทั่วไป คือ แบนข้างคล้ายใบไม้ หัวมีขนาดเล็ก ปลายปากค่อนข้างแหลม ปากมีขนาดเล็ก มีครีบอกคู่แรกเป็นเส้นยาวใหญ่เห็นได้ชัด ซึ่งเรียกว่า "ตะเกียบ" เป็นอวัยวะช่วยในการสัมผัส มีก้านครีบแขนง 2-4 ก้าน ครีบหลังมีก้านครีบเดี่ยว 3-9 ก้าน และก้านครีบแขนง 7-11 ครีบ ครีบก้นมีก้านครีบเดี่ยว 9-14 ก้าน และมีก้านครีบแขนง 25-40 ก้าน ครีบท้องและครีบก้นต่อยาวเป็นแถวเดียวกัน โดยที่ไม่มีเส้นข้างลำตัว ปลายครีบหางไม่เว้ามากนัก[ 1 ] เป็นปลาที่มีการแพร่กระจายพันธุ์ทั่วไปในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยพบได้แทบทุกประเภทของแหล่งน้ำจืด มีขนาดโดยเฉลี่ยประมาณ 15 เซนติเมตร เมื่อโตเต็มที่ พบทั้งสิ้น 4 ชนิด ได้แก่ ปลากระดี่มุก (Trichogaster leerii) ปลากระดี่นาง (Trichogaster microlepis) ปลาสลิด (Trichogaster pectoralis) ปลากระดี่หม้อ (Trichogaster trichopterus)
Image:

Longdo Unapproved TH-NE-N - TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
ภาษาอีสาน[ภา-สา-อี-สาน] (n) ภาษาอีสานเป็นภาษาท้องถิ่นที่มีความหลากหลาย เนื่องจากภาคอีสานมีหลากหลายชนเผ่าจึงทำให้เกิดความหลากหลายทางภาษา อ้างอิง : https://esan108.com/dict/
หนองแสง(n) บึงศักสิทธิ์ของชนพื้นเมืองอีสานโบราณ

NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
อีสาน(n) northeast, Syn. ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ, ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, Example: ในพื้นที่ภาคเหนือตอนบน และอีสานเกือบจะไม่มีป่าหลงเหลือให้เห็นอยู่เลย
ทิศอีสาน(n) northeast, Syn. ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ, Ant. ทิศตะวันตกเฉียงใต้, ทิศหรดี, Example: ลมในบริเวณนี้มักจะพัดจากทิศอีสานสู่ทิศหรดี เรียกกันว่า ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ, Thai Definition: ทิศซึ่งอยู่กึ่งกลางระหว่างทิศเหนือกับทิศตะวันออก
ภาคอีสาน(n) the north-eastern part, See also: the Northeast, Syn. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, Example: ภาคอีสานของไทยมีจรรยาปฏิบัติทางสังคมอย่างเคร่งครัดเรียกว่า ฮีตสิบสอง, Thai Definition: บริเวณที่อยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศ

พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
อีสาน. งอนไถ.
อีสาว. งอนช้อนขึ้น.
อีสาน ๑น. ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ.
อีสาน ๒น. พระศิวะหรือพระรุทระ.
กระโจม ๓เครื่องสวมศีรษะอย่างหนึ่ง เช่น กระจอนหูแปงประดับแก้วเครื่องเลิศอุดมกระโจมคำสุบเก้าเกษ (ม. ภาคอีสาน นครกัณฑ์).
กระดี่ ๑น. ชื่อปลานํ้าจืดในสกุล Trichogaster วงศ์ Belontiidae เช่นเดียวกับปลาสลิดแต่มีขนาดเล็กกว่า ครีบท้องยาวยื่นเป็นเส้น มี ๓ ชนิด คือ กระดี่หม้อ [ T. trichopterus (Pallas) ] ข้างตัวมีลายหลายเส้นพาดขวาง มีจุดดำที่กลางลำตัวและคอดหางแห่งละ ๑ จุด ขนาดยาวได้ถึง ๑๕ เซนติเมตร, สลาก หรือ สลาง ก็เรียก, กระดี่นาง [ T. microlepis (Günther) ] สีขาวนวล และ กระดี่นางฟ้าหรือกระดี่มุก [ T. leeri (Bleeker) ] พบเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม, บางท้องถิ่นในแถบอีสานเรียก กระเดิด.
กระเทียมน. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Allium sativum L. ในวงศ์ Alliaceae คล้ายต้นหอม หัวเป็นกลีบ ๆ เมื่อแห้งสีขาว กลิ่นฉุน รสเผ็ดร้อน ใช้ปรุงอาหาร, พายัพเรียก หอมเตียม, อีสานเรียก หอมขาว, ปักษ์ใต้เรียก เทียม.
กระน่องน. น่อง, อวัยวะส่วนหลังของแข้ง ตั้งแต่ขาพับลงไปถึงส้นเท้า, กระหน่อง ขะน่อง หรือ ขาน่อง ก็เรียก, อีสานว่า กะหน่อง หรือ กะน่อง.
กระบมน. ภาชนะชนิดหนึ่ง ทำด้วยไม้ขุด รูปวงกลมมีขอบ ด้ามสั้น สำหรับสงข้าวเหนียวที่นึ่งสุกใหม่ ๆ หรือคนข้าวเหนียวนึ่งให้ลดความร้อนก่อนนำไปใส่ในกล่องข้าว หรือใช้เป็นภาชนะรองถ้วยชามอย่างสำรับ, กระโบม ก็เรียก, อีสานและพายัพว่า กะบมหรือกะโบม.
กระโบม ๒น. ภาชนะชนิดหนึ่ง ทำด้วยไม้ขุด รูปวงกลมมีขอบ ด้ามสั้น สำหรับสงข้าวเหนียวที่นึ่งสุกใหม่ ๆ หรือคนข้าวเหนียวนึ่งให้ลดความร้อนก่อนนำไปใส่ในกล่องข้าว หรือใช้เป็นภาชนะรองถ้วยชามอย่างสำรับ, กระบม ก็เรียก, อีสานและพายัพว่า กะบมหรือกะโบม.
กระปุ่มน. เครื่องสานชนิดหนึ่ง ส่วนล่างใหญ่ ส่วนบนเล็ก รูปกลม มีฝาสวมลงลึก สำหรับใส่สิ่งของ พ่อค้าหาบเร่มักใช้, อีสานว่า กะปุ่ม.
กระพรวน(-พฺรวน) น. โลหะทำเป็นรูปกลมกลวง มีลูกกลิ้งเล็ก ๆ อยู่ข้างในเพื่อให้เกิดเสียง ใช้ผูกข้อเท้าเด็กหรือคอสัตว์เป็นต้น, พรวน ลูกพรวน หรือ ลูกกระพรวน ก็ว่า, (ถิ่น–พายัพ, อีสาน) หมากหิ่ง หรือ มะหิ่ง.
กระพาน. เครื่องสานชนิดหนึ่ง สำหรับใส่สิ่งของบรรทุกไว้ที่หลังคน ใช้อย่างเป้ มีสายรัดไขว้ที่หน้าอก หรือคาดที่หน้าผาก, อีสานว่า กะพา.
กระย่องน. เครื่องสานชนิดหนึ่ง รูปกลมคล้ายโตก, ถ้าใหญ่ใช้เป็นสำรับ, ถ้าเล็กใช้เป็นเครื่องใส่ข้าวตอกดอกไม้บูชาตามวัด, อีสานว่า กะย่อง.
กระลอมน. ชะลอม, เครื่องสานชนิดหนึ่ง รูปทรงกระบอก สานด้วยตอกเป็นต้น ตาห่าง ๆ สำหรับใส่สิ่งของ, อีสานว่า กะลอม.
กระหน่อง ๒น. น่อง, อวัยวะส่วนหลังของแข้ง ตั้งแต่ขาพับลงไปถึงส้นเท้า เช่น ตัวหนึ่งกัดเอ็นกระหน่อง (ม. ภาคอีสาน ชูชก), กระน่อง ขะน่อง หรือ ขาน่อง ก็เรียก, อีสานว่า กะหน่อง หรือ กะน่อง.
กวน ๓น. กวาน, ชื่อตำแหน่งขุนนางในภาคอีสานสมัยโบราณ แต่ชาวอีสานบางถิ่นออกเสียงเป็น กวน เช่น บ้านเมืองข้อนขุนกวน ยาดไพร่.
กะโซ่, กะโซ้ ๑น. เผ่าข่าโซ้ เป็นชาวป่าทางภาคอีสานของไทย มีลักษณะคล้ายเขมร.
กะทอน. ภาชนะสานด้วยไม้ไผ่ตาโปร่ง ด้านในกรุด้วยใบไม้แห้ง รูปทรงกระบอก สำหรับใส่เกลือ ฝ้าย ยาสูบ เป็นต้น ใช้กันในภาคอีสาน.
กะน่องน. น่อง, อวัยวะส่วนหลังของแข้ง ตั้งแต่ขาพับลงไปถึงส้นเท้า เช่น ตัว ๑ ขบกะน่อง (ม. ภาคอีสาน ชูชก), กะหน่อง ก็เรียก.
กัลปพฤกษ์ ๒(กันละปะพฺรึก) น. ชื่อไม้ต้นชนิด Cassia bakeriana Craib ในวงศ์ Leguminosae มีมากทางภาคอีสานและภาคเหนือ ดอกสีชมพูอ่อน ออกเป็นช่อในระหว่างทิ้งใบหรือผลิใบใหม่ ฝักมีขนนุ่ม.
กางเขนน. ชื่อนกขนาดเล็กหลายชนิด ในวงศ์ Turdidae ปากยาวปานกลางปลายแหลม หางยาวกว่าลำตัวมาก เช่น กางเขนบ้าน [ Copsychus saularis (Linn.) ] ส่วนบนลำตัวสีดำ ส่วนล่างตั้งแต่อกลงไปสีขาวหม่น ปีกมีลายพาดสีขาว มักอยู่เป็นคู่หรือกลุ่มเล็ก ๆ กินแมลง, ภาคกลางเรียก กางเขน, พายัพเรียก จีแจ๊บ, อีสานเรียก จี่จู้, ปักษ์ใต้เรียก บินหลา, กางเขนดง [ C. malabaricus (Scopoli) ] ปาก หัว หลัง อก และปีกของตัวผู้สีดำเหลือบ หลังส่วนล่างติดโคนหางสีขาว อกส่วนล่างไปจนถึงหางสีน้ำตาลแดง หางยาว ด้านบนสีดำ ใต้หางและขอบหางสีขาว ขาสีน้ำตาลอมชมพู ตัวเมียสีจางไม่สดใสเท่าตัวผู้และหางสั้นกว่า.
กิ้งก่าน. ชื่อสัตว์เลื้อยคลานหลายชนิดหลายสกุล ในวงศ์ Agamidae มีขนาดลำตัวต่าง ๆ กัน สันกลางของคอถึงลำตัวมีหนามแหลมจำนวนและขนาดต่างกัน เพศผู้มีสีเข้มและปรับสีได้ดีแตกต่างจากเพศเมีย ตัวและขามีเกล็ด ขาและนิ้วเล็กเรียว เล็บแหลมคม หางยาว ส่วนใหญ่อาศัยบนต้นไม้ เช่น กิ้งก่าบ้านหัวนํ้าเงิน ( Calotes mystaceus Dumeril & Bibron) กิ้งก่าเขา [ Acanthosaura armata (Hardwicke & Gray) ], อีสานเรียก ปอม กะปอม กะทั่ง หรือ กะท้าง.
กุดจี่น. ชื่อแมลงพวกด้วงหลายชนิดหลายสกุล ในวงศ์ Scarabaeidae หัวแบน ขาแบน ด้านข้างขามีลักษณะเป็นหนามคล้ายฟันเลื่อย ลำตัวยาว ๐.๕-๖.๐ เซนติเมตร ส่วนใหญ่สีน้ำตาลเข้มหรือดำ อาศัยอยู่ตามมูลสัตว์ ปั้นมูลสัตว์เป็นก้อนเพื่อวางไข่ ตัวเต็มวัยเมื่อถูกตัวมักทำเสียงดังฉู่ฉี่ บางครั้งจึงเรียก ตัวฉู่ฉี่หรือด้วงจู้จี้ ชนิดที่พบบ่อย เช่น Onitis subopacusArrow, Onthophagus seniculus Fabricius พบทุกภาค, กุดจี่ที่มีขนาดใหญ่ เช่น กุดจี่ขี้ช้างหรือด้วงขี้ช้าง ( Heliocopris dominus Bates) พบมากในภาคเหนือและภาคอีสาน, จี่ ก็เรียก.
กูด ๑ทางเหนือและอีสาน เรียกเฟินว่า กูด.
กูปรี(-ปฺรี) น. ชื่อวัวป่าขนาดใหญ่ชนิด Bos sauveli Urbain ในวงศ์ Bovidae เมื่อโตเต็มที่ตัวผู้สีดำ มีเขาขนาดใหญ่ ส่วนปลายบิดชี้ขึ้นข้างบน ใช้เขาขุดดินและแทงต้นไม้ทำให้ปลายแตกเป็นเส้น ๆ ร่นลงไปมองเห็นเป็นพู่ ตัวเมียสีน้ำตาลอมเทาหรือน้ำตาลเข้ม เขาเล็กกว่า ปลายไม่แตกเป็นพู่ มีถิ่นอาศัยอยู่บริเวณอีสานใต้ตามชายแดนไทย–กัมพูชา ลาว เวียดนาม เป็นสัตว์ป่าสงวนของไทยที่ใกล้จะสูญพันธุ์, โคไพร ก็เรียก.
แกร็บน. เครื่องตีทำด้วยไม้ ใช้ประกอบการแสดงพื้นเมืองภาคอีสาน เช่นเซิ้ง.
โกฐพุงปลาน. ชื่อเรียกสิ่งที่นูนปูดขึ้นมาตามกิ่งและใบของไม้ต้นหลายชนิดในสกุล T erminalia วงศ์ Combretaceae เช่น สมอไทย ( T. chebula Retz.), อีสานเรียก ปูดกกส้มมอ.
ขมิ้น ๑(ขะมิ่น) น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Curcuma longa L. ในวงศ์ Zingiberaceae เหง้าสีเหลือง ใช้ปรุงอาหาร ทำยา ทำผงทาตัว และใช้ย้อมผ้า, ขมิ้นชัน ก็เรียก, อีสานและปักษ์ใต้เรียก ขี้มิ่น.
ขะน่องน. น่อง, อวัยวะส่วนหลังของแข้ง ตั้งแต่ขาพับลงไปถึงส้นเท้า, กระหน่อง กระน่อง หรือ ขาน่อง ก็เรียก, อีสานว่า กะหน่อง หรือ กะน่อง.
ขาน่องน. น่อง, อวัยวะส่วนหลังของแข้ง ตั้งแต่ขาพับลงไปถึงส้นเท้า, กระหน่อง กระน่อง หรือ ขะน่อง ก็เรียก, อีสานว่า กะหน่อง หรือ กะน่อง.
ข้าวคั่วน. ข้าวสารที่นำมาคั่วแล้วโขลกให้แหลก ใช้ใส่อาหารประเภทลาบแบบอีสานเป็นต้น.
ข้าวเบาน. กลุ่มพันธุ์ข้าวที่ได้ผลเร็วกว่ากลุ่มพันธุ์ข้าวอื่น ออกรวงในช่วงปลายเดือนกันยายนถึงกลางเดือนตุลาคม และเก็บเกี่ยวได้ในช่วงต้นเดือนพฤศจิกายนถึงกลางเดือนพฤศจิกายน เช่น พันธุ์ข้าวเหนียวหางยี ๗๑ พันธุ์ข้าวน้ำสะกุย ๑๙, พายัพและอีสานว่า ข้าวดอ.
เขยตายน. ชื่อไม้พุ่มชนิด Glycosmis pentaphylla (Retz.) DC. ในวงศ์ Rutaceae ชอบขึ้นในที่ชื้นตามชายป่าและริมหมู่บ้าน สูงประมาณ ๒ เมตร ผลกลมขนาดราวปลายนิ้วก้อย สุกสีชมพูเรื่อ ๆ รสหวาน กินได้ รากใช้ทำยา, กระรอกน้ำข้าว กระโรกนํ้าข้าว หรือ นํ้าข้าว ก็เรียก, พายัพและอีสานเรียก ส้มชื่น.
แคนน. เครื่องเป่าชนิดหนึ่ง เสียงคล้ายออร์แกน เป็นเครื่องดนตรีที่เก่าแก่ นิยมเล่นในทุกจังหวัดของภาคอีสานตอนเหนือ ทำด้วยไม้ซาง เรียกว่า ไม้กู่แคนหรือไม้เฮี้ย มีขนาดยาวลดหลั่นกัน เรียงติดเป็นตับในเต้าแคนที่ทำด้วยไม้ ลิ้นแคนทำด้วยโลหะเงินหรือทองเหลือง ทำเสียงสูง-ต่ำ ด้วยการเปิดปิดนิ้วที่รูเล็ก ๆ ซึ่งเจาะไว้ข้างกู่แคน กู่แคนติดแน่นกับเต้าแคนด้วยขี้สูดหรือชันโรง มีหลายขนาด ตั้งแต่ ๓ คู่ จนถึง ๙ คู่ ที่นิยมที่สุดคือคู่ ๘ ใช้บรรเลงเพื่อความบันเทิงทั่วไปและประกอบหมอลำหรือวงพิณ วงโปงลาง ในงานมงคล เป็นมหรสพประจำของชาวอีสาน.
จระเข้(จอระ-) น. ชื่อสัตว์เลื้อยคลานขนาดใหญ่ที่สุดในปัจจุบัน มีหลายชนิดหลายสกุล ในวงศ์ Crocodylidae ปากและหัวยาว ปลายปากนูนสูงขึ้นเป็นช่องเปิดของรูหายใจ เรียกว่า ก้อนขี้หมา ลำตัวกลมยาว หนังเป็นเกล็ดแข็งทั้งตัว หางแบนยาวทางข้างใช้โบกว่ายนํ้า มักหากินในนํ้า อาศัยบริเวณป่าริมน้ำ ในประเทศไทยมี ๓ ชนิด คือ จระเข้บึง จระเข้นํ้าจืด หรือจระเข้สยาม ( Crocodylus siamensisSchneider) จระเข้นํ้าเค็ม อ้ายเคี่ยม หรืออ้ายทองหลาง ( C. porosus Schneider) และจระเข้ปากกระทุงเหวหรือตะโขง [ Tomistoma schlegelii (S. Müller) ], ตะเข้ หรือ อ้ายเข้ ก็เรียก, อีสานเรียก แข้, ปักษ์ใต้เรียก เข้
จางปางอีสานว่า จ่างป่าง.
จำปา(ถิ่น–อีสาน) ต้นลั่นทม. (ดู ลั่นทม).
จิ้งโกร่งน. ชื่อจิ้งหรีดชนิด Brachytrypes portentosus (Lichtenstein) เป็นจิ้งหรีดที่มีขนาดใหญ่ที่สุด ยาวประมาณ ๔.๕ เซนติเมตร สีน้ำตาลตลอดทั้งตัว, อ้ายโกร่ง หรือ หัวตะกั่ว ก็เรียก, พายัพเรียก จี้กุ่ง หรือ ขี้กุ่ง, อีสานเรียก จิโป่ม จี่นายโม้ จี่ป่ม หรือ จี่โป่ง.
โฉลกลักษณะซึ่งมีทั้งส่วนดีและส่วนไม่ดี ถ้าดีเรียกว่า ถูกโฉลก ถ้าไม่ดีเรียกว่า ไม่ถูกโฉลก มักกำหนดด้วยการดูลักษณะ วัดขนาด นับจำนวน เป็นต้น ของคน สัตว์ สิ่งของ ว่าเป็นมงคลหรือไม่เป็นมงคล, อีสานเรียก โสก
ช่อนน. ชื่อปลานํ้าจืดชนิด Channa striatus Bloch ในวงศ์ Channidae ลำตัวทรงกระบอก ส่วนท้ายแบนข้างเล็กน้อย มีเกล็ดในแนวเส้นข้างตัวราว ๕๒-๕๗ เกล็ด ด้านหลังลำตัวเป็นสีค่อนข้างดำ ด้านข้างสีอ่อนกว่าและมีลายสีดำพาดเฉียง ท้องสีขาว ครีบต่าง ๆ มีจุดหรือริ้วสีนํ้าตาลดำ พบชุกชุมทั่วไป อาจยาวได้ถึง ๘๐ เซนติเมตร, พายัพเรียก หลิม, อีสานเรียก ค่อ.
ชะมด ๑น. ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในวงศ์ Viverridae หน้าแหลม รูปร่างเพรียว สีเทาหรือนํ้าตาล มีลายจุดสีดำตามยาวทั่วตัว หางและขนหางยาว มีลายเป็นปล้อง มีต่อมกลิ่นใกล้อวัยวะเพศ มักหากินในเวลากลางคืน ในประเทศไทยมีหลายชนิด เช่น ชะมดเช็ด [ Viverricula malaccensis (Gmelin) ] เป็นชนิดที่ใช้นํ้ามันจากต่อมกลิ่นทำเครื่องหอม, ชะมดแผงหางปล้อง ( Viverra zibetha Linn.), ชะมดแผงสันหางดำ ( V. megaspila Blyth), อีสานเรียก เห็นอ้ม.
ชะลอมน. เครื่องสานชนิดหนึ่ง รูปทรงกระบอก สานด้วยตอกเป็นต้น ตาห่าง ๆ สำหรับใส่สิ่งของ, อีสานเรียก กะลอม.
ชันโรง(ชันนะ-) น. ชื่อแมลงขนาดเล็กหลายชนิดหลายสกุล ในวงศ์ Apidae โดยทั่วไปมีขนาดลำตัวยาวไม่เกิน ๑๐ มิลลิเมตร อยู่รวมกันเป็นฝูงและแบ่งวรรณะเหมือนผึ้ง แต่ไม่มีเหล็กในอย่างผึ้งทั่วไป จึงไม่สามารถต่อยได้ ทำรังตามโพรงไม้หรือตามรอยแตกฝาผนังของบ้านเรือน รังทำจากสารเหนียวผสมขี้ดินและยางไม้ ที่พบมากในประเทศไทยอยู่ในสกุล Trigona ชนิดที่พบบ่อย เช่น ชนิด T. terminata Smith, T. apicalis Smith มีชื่ออื่น ๆ อีกตามท้องถิ่น เช่น หูด ขี้ตังนี หรือ กินชัน, อีสานเรียก ขี้สูด, ปักษ์ใต้เรียก ขี้ชัน.
ชีล้อมน. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Oenanthe javanica (Blume) DC. ในวงศ์ Umbelliferae ชอบขึ้นในที่ชื้นแฉะ ใบแบนรีขอบจัก ใช้เป็นผัก ดอกเป็นกระจุกสีขาว ผลกลมค่อนข้างยาว, อัน หรือ อันอ้อ ก็เรียก, พายัพและอีสานเรียก หนอกช้าง.
โชงโลงน. เครื่องมือชนิดหนึ่งสำหรับวิดน้ำ ลักษณะคล้ายลูกฟักผ่าซีกและตัดครึ่ง สานด้วยไม้ไผ่ มีคันยาวต่อออกไปทางท้ายสำหรับจับ ผูกโยงแขวนไว้กับขาหยั่ง แล้วจับคันจ้วงน้ำสาดออกไปยังที่ที่ต้องการ, ชงโลง ก็ว่า, อีสานเรียก กะโซ้, พายัพเรียก กระโจ้, ปักษ์ใต้เรียก โพง.
ซาก ๒น. ชื่อไม้ต้นขนาดใหญ่ชนิด Erythrophleum succirubrum Gagnep. และชนิด E. teysmannii (Kurz) Craib ในวงศ์ Leguminosae ขึ้นในป่าเบญจพรรณ เนื้อแข็งและหนัก ใช้เผาถ่านได้ดี ทุกส่วนมีพิษ กินตาย ชนิดแรกใบเกลี้ยง ชนิดหลังใบมีขน, อีสานเรียก ซาด หรือ พันซาด.
ซ้ำซากว. ทำแล้วทำอีกหรือเป็นแล้วเป็นอีกอย่างเดียวกันรํ่าไป, จำเจ, เช่น เขาชอบพูดจาซ้ำซาก บางจังหวัดทางภาคอีสานเกิดภัยแล้งซ้ำซาก.
ซ้ำสามน. คำว่าคนตํ่าช้าไม่มีตระกูล เช่น ทั้งนี้ก็เพราะใครเล่า เพราะอีสาวซ้ำสามซัดเซบ้าน (ม. ร่ายยาว ชูชก).
เซิ้งก. รำแบบชาวอีสานตามจังหวะเสียงขับ เช่น เซิ้งกระติบข้าว.

คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Binocellate Typeงูเห่าอีสานพ่นพิษ [การแพทย์]
Cobra, Isan Spittingงูเห่าอีสานพ่นพิษ [การแพทย์]

Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
ชาวอีสาน[Chāo Īsān] (n, prop) FR: habitant du Nord-est [ m ]
ชื่อภาษาอีสาน[cheū phāsā Isān] (n, exp) EN: Isan name  FR: nom en langue Isan [ m ]
อีสาน[īsān] (n) EN: northeast  FR: nord-est [ m ]
อีสาน[Īsān] (n, prop) EN: Isan ; Northeast  FR: Isan [ m ] ; Nord-Est [ m ]
อีสานเบียร์[Īsān Bīa] (tm) EN: Isan Beer
คนอีสาน[khon Isān] (n, prop) EN: Isan people ; Northeast people  FR: habitant du Nord-Est [ m ] ; personne de l'Isan [ m ]
ลาบอีสาน[lāp Īsān] (n, exp) EN: raw chopped beef salad
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน[Mahāwitthayālai Thēknōlōyī Rātchamongkhøn Īsān] (org) EN: Rajamangala University of Technology Isan
งูเห่าอีสานพ่นพิษ[ngū hao īsān phon phit] (n, exp) EN: Indo-Chinese Spitting Cobra
ภาคอีสาน[Phāk Īsān] (n, prop) EN: Northeast Thailand ; Isan ; Northeast Region (of Thailand)  FR: Nord-Est (de la Thaïlande) [ m ] ; Isan [ m ]
ภาษาอีสาน[phāsā Isān] (n, exp) EN: Isan dialect ; Northeast dialect  FR: dialecte Isan [ m ] ; dialecte du Nord-Est [ m ] ; langue Isan [ f ]
ภาษาไทยถิ่นอีสาน[phāsā Thai thin Īsān] (n, exp) EN: Northeastern Thai dialect ; Northeastern dialect ; Isan diailect
ภาษาถิ่นอีสาน[phāsā thin Īsān] (n, exp) FR: dialecte de l'Isan [ m ]
ตั๊กแตนอีสาน[takkataēn Īsān] (n, exp) EN: Bombay Locust
ทิศอีสาน[thit Īsān] (n, exp) EN: the northeast ; Northeast  FR: le nord-est ; la direction du nord-est

NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
northeast(adj) เกี่ยวกับตะวันออกเฉียงเหนือ, See also: ทางอีสาน

Hope Dictionary
northeast(นอร์ธอีสทฺ') n., adj., adv. (ไปทาง) ภาคอีสาน, อุตรีสาน, ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ., Syn. northeastern
venice(เวน'นิส) n. กรุงเวนิส, เป็นเมืองท่าในภาคอีสานของอิตาลีสร้างอยู่บนเกาะเล็ก ๆ

Nontri Dictionary
northeast(adv) ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ, ไปทางภาคอีสาน
northeast(n) ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ, ภาคอีสาน
northeasterly(adj, adv) ทางภาคอีสาน, ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ
northeastern(adj) อยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือ, อยู่ทางภาคอีสาน

Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
-kuy-[[ kuːy ]] (n) kuy (n ) ภาษากูย หรือ ภาษากวย เป็นภาษาตระกูลออสโตรเอเชียติก สาขามอญ-เขมร กลุ่มกะตู พบในไทยพื้นที่จังหวัดแถบภาคอีสานใต้ เช่น จังหวัดสุรินทร์ บุรีรัมย์ ศรีสะเกษ อุบลราชธานี และร้อยเอ็ด

Time: 0.9407 secondsLongdo Dict -- https://dict.longdo.com/