165 ผลลัพธ์ สำหรับ *ออกซิเจน*
หรือค้นหา: ออกซิเจน, -ออกซิเจน-

Longdo Unapproved TH - EN
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
้ัhydrogen(n) ธาตุไฮโดรเจน ที่เป็นองค์ประกอบอีกส่วนหนึ่งของน้ำ น้ำประกอบด้วยธาตุไฮโดรเจนสองส่วน ธาตุออกซิเจนหนึ่งส่วน

พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
ออกซิเจนน. ธาตุลำดับที่ ๘ สัญลักษณ์ O เป็นแก๊ส มีปนอยู่ในอากาศประมาณร้อยละ ๒๐ โดยปริมาตร ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ไม่มีรส ไม่ติดไฟ แต่ช่วยให้ไฟติด มีประโยชน์อย่างยิ่งต่อการหายใจและการเผาไหม้เป็นต้น ใช้จุดกับแก๊สอะเซทิลีนเพื่อเชื่อมหรือตัดโลหะ ในทางแพทย์ใช้ช่วยการหายใจของคนไข้.
กะรุนน. แร่ชนิดหนึ่ง ประกอบด้วยธาตุอะลูมิเนียมกับออกซิเจน แต่มักมีสิ่งอื่นผสมอยู่ทำให้มีสีต่าง ๆ เช่น ถ้าเป็นสีแดง เรียกว่า ทับทิม, ถ้าเป็นสีนํ้าเงิน เรียกว่า พลอยสีนํ้าเงิน, ถ้าเป็นสีเขียว เรียกว่า เขียวส่องหรือ เขียวมรกต.
กังหันน้ำชัยพัฒนาน. ชื่อเครื่องกลเติมอากาศที่ผิวน้ำหมุนช้าแบบทุ่นลอยแบบหนึ่ง เป็นอุปกรณ์บำบัดน้ำเสียชนิดหนึ่ง มีลักษณะการทำงานคล้ายกังหันวิดน้ำขึ้นเหนือผิวน้ำเพื่อเติมอากาศหรือออกซิเจนในแหล่งน้ำ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงศึกษาและประดิษฐ์อุปกรณ์เติมอากาศขึ้นแล้วทรงมอบหมายมูลนิธิชัยพัฒนา ศึกษาวิจัยเพื่อทำต้นแบบพร้อมสนับสนุนงบประมาณให้กรมชลประทานสร้าง นำไปใช้งานตามแหล่งน้ำเสียทั่วประเทศ กรมทรัพย์สินทางปัญญาได้ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายการจดสิทธิบัตรการประดิษฐ์เลขที่ ๓๑๒๗ และองค์กรนักประดิษฐ์โลกจากประเทศเบลเยียมได้ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายรางวัลในฐานะที่ทรงสร้างนวัตกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อการรักษาสิ่งแวดล้อม.
คาร์โบไฮเดรต(-เดฺรด) น. ชื่อกลุ่มสารประกอบอินทรีย์ ซึ่งประกอบด้วยธาตุคาร์บอน ไฮโดรเจน และออกซิเจน ส่วนใหญ่มีสูตรเคมี Cx(H2O)y แบ่งออกเป็น ๒ ประเภทใหญ่ คือ นํ้าตาลและพอลิแซ็กคาไรด์ เป็นสารอาหารที่สำคัญมากประเภทหนึ่ง.
เตรียมทำให้เกิดสารเคมีที่ต้องการจากสารเคมีอื่นด้วยกระบวนการทางเคมี เช่น เตรียมแก๊สออกซิเจนจากดินประสิว.
ธาตุ ๓(ทาด) น. สารเนื้อเดียวล้วนซึ่งประกอบด้วยบรรดาอะตอมที่มีโปรตอนจำนวนเดียวกันในนิวเคลียส เช่น ธาตุออกซิเจน ธาตุคาร์บอน.
น้ำน. สารประกอบซึ่งมีองค์ประกอบเป็นธาตุไฮโดรเจนและออกซิเจนในอัตราส่วน ๑ : ๘ โดยนํ้าหนัก เมื่อบริสุทธิ์มีลักษณะเป็นของเหลว ใส ไม่มีสี กลิ่น รส มีประโยชน์มาก เช่นใช้ดื่ม ชำระล้างสิ่งสกปรก, โบราณถือว่าเป็น ธาตุ ๑ ในธาตุ ๔ คือ ดิน นํ้า ไฟ ลม, ใช้เรียกสิ่งอื่นที่มีลักษณะเป็นนํ้าหรือเหลวเหมือนนํ้า เช่น นํ้าตา นํ้าปลา นํ้าส้ม
ผายปอดก. ช่วยทำให้ปอดของผู้ป่วยได้รับออกซิเจนเพียงพอ โดยการกดหลัง การยกศอก เป็นต้น.
ฟอกโลหิตก. อาการที่แก๊สออกซิเจนซึ่งหายใจเข้าไปแล้วเปลี่ยนเลือดดำเป็นเลือดแดง.
เม็ดเลือด, เม็ดโลหิตน. เซลล์ซึ่งอยู่ในกระแสเลือด มี ๒ ชนิด คือ ชนิดที่มีหน้าที่นำออกซิเจนไปสู่เซลล์ในส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย เรียกว่า เม็ดเลือดแดง และชนิดที่มีหน้าที่เกี่ยวกับการป้องกันและทำลายเชื้อโรคในร่างกาย เรียกว่า เม็ดเลือดขาว.
รีดักชันน. ปฏิกิริยาเคมีที่ทำให้สารได้รับธาตุไฮโดรเจนมารวมตัวด้วย, ปฏิกิริยาเคมีที่ทำให้สารสูญเสียธาตุออกซิเจนไป, ปฏิกิริยาเคมีที่ทำให้อะตอมของธาตุได้รับอิเล็กตรอนเพิ่มขึ้น.
ละลายอาการที่สารอย่างหนึ่งแผ่กระจายในสารอีกอย่างหนึ่งอย่างสมํ่าเสมอโดยไม่มีปฏิกิริยาเคมีต่อกัน เช่น คาร์บอนละลายในเหล็ก แอลกอฮอล์ละลายในนํ้า แก๊สออกซิเจนละลายในแก๊สไนโตรเจน ผลที่ได้เรียกว่า สารละลาย.
เลือดดำน. เลือดที่เม็ดเลือดแดงมีออกซิเจนน้อยหรือขาดออกซิเจน มีสีแดงคล้ำ.
เลือดแดงน. เลือดที่เม็ดเลือดแดงมีออกซิเจนมาก มีสีแดงสด.
สมมูลเคมีน. จำนวนเลขที่บ่งแสดงนํ้าหนักของสารที่ทำปฏิกิริยาโดยทางตรงหรือทางอ้อมได้พอดีกับ ๑.๐๐๘ หน่วยนํ้าหนักเดียวกันของธาตุไฮโดรเจน หรือกับ ๘ หน่วยนํ้าหนักเดียวกันของธาตุออกซิเจน.
สารหนูขาวน. สารประกอบชนิดหนึ่ง ซึ่งมีธาตุสารหนูและออกซิเจนเป็นองค์ประกอบ มีสูตร As2O3 ลักษณะเป็นผงสีขาว มีพิษอย่างร้ายแรง ใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมทำสีบางประเภท และยาฆ่าแมลง, ชาวบ้าน เรียกว่า สารหนู.
สูตรเคมีน. หมู่สัญลักษณ์ของธาตุซึ่งเขียนขึ้นแทนสารใดสารหนึ่งเพื่อแสดงให้ทราบว่า ๑ โมเลกุลของสารนั้น ๆ ประกอบด้วยธาตุใดบ้าง และมีอย่างละกี่อะตอม เช่น H2O เป็นสูตรเคมีที่เขียนขึ้นแทนนํ้า เพื่อแสดงว่านํ้า ๑ โมเลกุล ประกอบด้วยธาตุไฮโดรเจน ๒ อะตอม และธาตุออกซิเจน ๑ อะตอม.
หิ่งห้อยน. ชื่อแมลงพวกด้วงหลายชนิดหลายสกุล ในวงศ์ Lampyridae ลำตัวเป็นรูปทรงกระบอก ด้านปลายของส่วนท้องมีปล้องทำแสง ๒ ปล้องในเพศผู้ และ ๑ ปล้องในเพศเมีย โดยแสงเกิดจากสารลูซิเฟอรินทำปฏิกิริยากับออกซิเจน ความถี่และช่วงของแสงนั้นแตกต่างกันแล้วแต่ชนิด บางชนิดตัวเมียไม่มีปีก ที่พบมากตามแหล่งน้ำจืด เช่น ชนิด Luciola aquatilis Thaneharoen ที่พบตามป่าชายเลน เช่น ชนิด Pteroptyx malaccae (Gorham), ทิ้งถ่วง แมลงแสง หรือ แมลงไฟ ก็เรียก.
อโลหะน. ธาตุซึ่งมีสมบัติไม่เป็นโลหะ เช่น ถ่าน ออกซิเจน กำมะถัน ฟอสฟอรัส พวกอโลหะเมื่ออยู่ในสภาพไอออนจะเป็นไอออนลบ.
ออกซิเดชันน. ปฏิกิริยาเคมีที่ทำให้สารได้รับธาตุออกซิเจนมารวมตัวด้วย หรือทำให้สารสูญเสียธาตุไฮโดรเจนไป, ปฏิกิริยาเคมีที่ทำให้อะตอมของธาตุสูญเสียอิเล็กตรอนไป.
ออกไซด์น. สารประกอบที่มีองค์ประกอบเป็นธาตุออกซิเจนกับธาตุอื่น.
อะเซทิลีนน. สารประกอบอินทรีย์ชนิดหนึ่ง มีสูตร C2H2 ลักษณะเป็นแก๊ส ไม่มีสี เป็นพิษ จุดไฟติด ใช้ประโยชน์ได้มากมาย เช่นนำไปจุดกับแก๊สออกซิเจนได้เปลวไฟออกซิอะเซทิลีนซึ่งร้อนจัดจนใช้เชื่อมและตัดโลหะได้ ใช้เป็นสารตั้งต้นเพื่อสังเคราะห์สารอื่นได้มากมาย.
อัญรูป(อันยะ-) น. ธาตุเดียวกันแต่มีสมบัติและรูปแบบต่างกัน เมื่อนำไปทำปฏิกิริยากับธาตุอื่นธาตุเดียวกัน จะให้ผลเป็นสารประกอบอันเดียวกัน เช่น ธาตุคาร์บอน มีอัญรูป คือ เพชร กับ แกรไฟต์ เมื่อนำอัญรูปทั้ง ๒ นี้ ไปเผาด้วยความร้อนสูงกับธาตุออกซิเจน จะได้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์เช่นเดียวกัน.
อากาศ, อากาศ-(อากาด, อากาดสะ-) น. แก๊สผสมที่ประกอบด้วยไนโตรเจนและออกซิเจนเป็นส่วนใหญ่ ใช้หายใจหรือช่วยในการเผาไหม้เป็นต้น
โอโซนน. แก๊สชนิดหนึ่ง สีนํ้าเงิน กลิ่นฉุน เป็นอัญรูปของธาตุออกซิเจน มีสูตร O3 ใช้ประโยชน์ฆ่าเชื้อโรคในนํ้าเพื่อใช้เป็นนํ้าดื่ม ใช้ฟอกจางสีของสารอินทรีย์บางอย่างเช่นเส้นใยที่ใช้ทอผ้า.
เฮโมโกลบิน(-โกฺล-) น. สารที่ให้สีแดงในเม็ดเลือดแดง ประกอบขึ้นด้วยโปรตีนที่เรียกว่า โกลบิน และ เฮม ซึ่งเป็นสารประกอบที่มีเหล็ก ไนโตรเจน คาร์บอน ไฮโดรเจน และออกซิเจน เป็นองค์ประกอบ มีหน้าที่นำออกซิเจน ซึ่งร่างกายสูดหายใจเข้าทางปอดไปยังส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย โดยออกซิเจนเกาะติดไปในรูปออกซิเฮโมโกลบิน และออกซิเจนแยกตัวออกได้ง่ายจากเฮโมโกลบินเมื่อไปถึงส่วนอื่นของร่างกายที่ต้องการใช้.

ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
packed lanceแลนซ์ออกซิเจนไส้ลวด [การเชื่อม ๒๐ ก.ย. ๒๕๔๔]
powder lanceแลนซ์ออกซิเจนไส้ผง [การเชื่อม ๒๐ ก.ย. ๒๕๔๔]
preheating oxygenออกซิเจนใช้อุ่น [การเชื่อม ๒๐ ก.ย. ๒๕๔๔]
reduzateตะกอนขาดออกซิเจน [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
oxygen tentกระโจมออกซิเจน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
oxygen-arc cuttingการตัดด้วยอาร์กออกซิเจน [การเชื่อม ๒๐ ก.ย. ๒๕๔๔]
oxygenateเติมออกซิเจน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
oxygenationการเติมออกซิเจน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
oxidizing flameเปลวออกซิเจนมาก, เปลวเพิ่ม [การเชื่อม ๒๐ ก.ย. ๒๕๔๔]
oxy-๑. แหลม, คมชัด๒. เร็ว๓. มีออกซิเจนเป็นองค์ประกอบ, เปรี้ยว [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
oxygen capacityความจุออกซิเจน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
oxygen cuttingการตัดด้วยออกซิเจน [การเชื่อม ๒๐ ก.ย. ๒๕๔๔]
oxygen lanceแลนซ์ออกซิเจน [การเชื่อม ๒๐ ก.ย. ๒๕๔๔]
oxygen lancingการตัดใช้แลนซ์ออกซิเจน [การเชื่อม ๒๐ ก.ย. ๒๕๔๔]
oxygen sensorตัวรับรู้ปริมาณออกซิเจน [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕]
aerobeอินทรีย์ใช้ออกซิเจน [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕]
aerobic-ใช้ออกซิเจน [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
aerobic respirationการหายใจแบบใช้ออกซิเจน [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕]
anoxaemia; anoxemiaภาวะเลือดขาดออกซิเจน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
anoxemia; anoxaemiaภาวะเลือดขาดออกซิเจน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
anoxiaภาวะขาดออกซิเจน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
anaerobicไม่ใช้ออกซิเจน [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
anaerobic respirationการหายใจแบบไม่ใช้ออกซิเจน [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕]
anaerobic sedimentตะกอนไร้ออกซิเจน [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
BOD (biochemical oxygen demand)บีโอดี (ความต้องการออกซิเจนทางชีวเคมี) [ มีความหมายเหมือนกับ biological oxygen demand ] [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕]
biological oxygen demandความต้องการออกซิเจนทางชีวภาพ [ มีความหมายเหมือนกับ biochemical oxygen demand (BOD) ] [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕]
biochemical oxygen demand (BOD)ความต้องการออกซิเจนทางชีวเคมี (บีโอดี) [ มีความหมายเหมือนกับ biological oxygen demand ] [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕]
COD (chemical oxygen demand)ซีโอดี (ความต้องการออกซิเจนทางเคมี) [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕]
chemical oxygen demand (COD)ความต้องการออกซิเจนทางเคมี (ซีโอดี) [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕]
cutting oxygenออกซิเจนตัด [การเชื่อม ๒๐ ก.ย. ๒๕๔๔]
cutting oxygen boreรูออกซิเจนตัด [การเชื่อม ๒๐ ก.ย. ๒๕๔๔]
capacity, oxygenความจุออกซิเจน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
tent, oxygenกระโจมออกซิเจน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
hypoxaemia; hypoxemia; hypoxiaภาวะเลือดมีออกซิเจนน้อย [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
hypoxemia; hypoxaemia; hypoxiaภาวะเลือดมีออกซิเจนน้อย [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
hypoxia; hypoxaemia; hypoxemiaภาวะเลือดมีออกซิเจนน้อย [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
hot croppingการตัดปลายขณะร้อน [ ด้วยออกซิเจน ] [การเชื่อม ๒๐ ก.ย. ๒๕๔๔]

คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Oxygen therapyการบำบัดด้วยออกซิเจน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Petroleumสารไฮโดรคาร์บอนที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ, สารไฮโดรคาร์บอนที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติโดยมีธาตุสองชนิดเป็นองค์ประกอบหลัก ได้แก่คาร์บอนและไฮโดรเจน โดยอาจมีหรือไม่มีธาตุอโลหะอื่นๆ เช่น กำมะถัน ออกซิเจน ไนโตรเจน ฯลฯ ปนอยู่ด้วยก็ได้, Example: ปิโตรเลียมเป็นได้ทั้งของแข็ง ของเหลว หรือก๊าซ ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบของปิโตรเลียมเอง และความร้อน ตลอดจนความกดดันตามสภาพแวดล้อมที่ปิโตรเลียมนั้นถูกกักเก็บไว้ แบ่งตามสถานะสำคัญทางธรรมชาติได้ 2 ชนิด คือ น้ำมันดิบ และ ก๊าซธรรมชาติ [ปิโตรเลี่ยม]
Radiosensitizerสารเพิ่มผลของรังสี, สารหรือยาเพิ่มประสิทธิภาพของรังสีในการทำลายเซลล์ เช่น ออกซิเจน สารไมโซนิดาโซล (misonidazole) และสาร 5-โบรโมดีออกซียูริดีน (5-bromodeoxyuridine) [นิวเคลียร์]
Radiolysisการแยกสลายด้วยรังสี, การแตกตัว หรือสลายตัว ของโมเลกุลด้วยรังสี เช่น ขณะเดินเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์จะมีน้ำส่วนหนึ่งที่อยู่ภายในแกนเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ เกิดการแตกตัวเป็นไฮโดรเจนและออกซิเจน [นิวเคลียร์]
Oxygen enhancement ratioอัตราส่วนการเสริมผลของออกซิเจน, โออีอาร์, อัตราส่วนเปรียบเทียบปริมาณรังสีที่มีผลต่อเซลล์หรือสิ่งมีชีวิตเมื่อไม่มีและมีออกซิเจน ที่ก่อให้เกิดผลทางชีววิทยาเหมือนกัน ภายใต้เงื่อนไขเดียวกัน <br> OER = ปริมาณรังสีเมื่อไม่มีออกซิเจน / ปริมาณรังสีเมื่อมีออกซิเจน </br> <br>(ดู radiosensitizer ประกอบ)</br>, Example: [นิวเคลียร์]
ICRU sphereทรงกลมไอซีอาร์ยู, ทรงกลมขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 30 เซนติเมตร ทำจากวัสดุที่มีการตอบสนองต่อรังสีเทียบเท่ากับเนื้อเยื่อมนุษย์ โดยมีความหนาแน่น 1 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร และมีองค์ประกอบของออกซิเจนร้อยละ 76.2 คาร์บอนร้อยละ 11.1 ไฮโดรเจนร้อยละ 10.1 และไนโตรเจนร้อยละ 2.6 เป็นทรงกลมที่ใช้อ้างอิงสำหรับการหาค่าปริมาณรังสีสมมูล [นิวเคลียร์]
คาร์โบไฮเดรตชื่อกลุ่มสารประกอบอินทรีย์ ซึ่งประกอบด้วยธาตุคาร์บอน ไฮโดรเจน และออกซิเจน, Example: คำที่มักเขียนผิด คือ คาร์โบไฮเดรท [คำที่มักเขียนผิด]
Biochemical oxygen demandความต้องการออกซิเจนทางชีวเคมี [TU Subject Heading]
Dissolved oxygenออกซิเจนละลาย [TU Subject Heading]
Oxygenออกซิเจน [TU Subject Heading]
Oxygen consumptionการใช้ออกซิเจน [TU Subject Heading]
Oxygen index of materialsดัชนีออกซิเจนของวัสดุ [TU Subject Heading]
Oxygen inhalation therapyการรักษาด้วยการสูดออกซิเจน [TU Subject Heading]
Oxygen-Sag Curveเส้นหย่อนออกซิเจน, เส้นตกท้องช้างออกซิเจน, Example: เส้นแสดงปริมาณออกซิเจนที่ละลายอยู่ในกระแสน้ำ ซึ่งลดลงจากการย่อยบีโอดี และเพิ่มขึ้นจากการสัมผัสอากาศที่ผิวน้ำ [สิ่งแวดล้อม]
Dissolved-Oxygen Sag Curveเส้นหย่อนออกซิเจนละลาย, เส้นตกท้องช้าง, Example: เส้นโค้งแสดงระดับออกซิเจนละลายตามความยาวของ ลำน้ำ ซึ่งจะลดลง เมื่อมีการระบายน้ำเสียลงลำน้ำนั้น และจะกลับเพิ่มขึ้นอีกเมื่อมีการเติมอากาศ จากการสังเคราะห์แสงและ/หรือจากการแทรกตัวลงน้ำของออกซิเจนจากอากาศ [สิ่งแวดล้อม]
Anaerobic Bacteriaแบคทีเรียไม่ใช้ออกซิเจน, แอนแอโรบิกแบคทีเรีย, Example: แบคทีเรียที่ไม่ใช้ออกซิเจนอิสระเป็นองค์ ประกอบในการเจริญเติบโต [สิ่งแวดล้อม]
Aerobicแอโรบิก, มีอากาศ, ใช้อากาศ, ใช้ออกซิเจน [สิ่งแวดล้อม]
Anaerobicแอนแอโรบิก, ไร้อากาศ, ไม่ใช้อากาศ, ไม่ใช้ออกซิเจน [สิ่งแวดล้อม]
Reaerationการเติมออกซิเจนซ้ำ, Example: การที่ออกซิเจนในอากาศซึมสู่น้ำในสภาวะการขาด แคลนออกซิเจน [สิ่งแวดล้อม]
Reoxygenationการเติมออกซิเจนซ้ำ, Example: การที่ปริมาณออกซิเจนในลำน้ำเพิ่มขึ้นจากการ เติมน้ำดีในน้ำเสีย หรือจาก การสังเคราะห์โดยใช้แสงของพืชและจากการสัมผัสอากาศผิวน้ำ [สิ่งแวดล้อม]
Oxygen Utilizationการใช้ออกซิเจน, Example: การใช้ออกซิเจนในกระบวนการบำบัดเพื่อให้คงสภาพ แอโรบิกอยู่ได้ [สิ่งแวดล้อม]
Oxygen Deficiencyการขาดออกซิเจน, Example: ปริมาณออกซิเจนที่ต้องการเพิ่ม เพื่อให้น้ำมีคุณภาพที่เหมาะสม [สิ่งแวดล้อม]
Deoxygenationการลดออกซิเจน, Example: การที่ออกซิเจนในน้ำลดลงตามสภาวการณ์ทาง ธรรมชาติ เช่น จากบีโอดี หรือโดยการเติมสารเคมีลงไป [สิ่งแวดล้อม]
Oxygen Depletionการลดออกซิเจน, Example: การลดลงของออกซิเจนที่ละลายอยู่ในน้ำ หรือน้ำเสียซึ่งเกิดจาก การย่อยบีโอดี [สิ่งแวดล้อม]
Oxygen Saturationการอิ่มตัวของออกซิเจน, Example: ปริมาณสูงสุดของออกซิเจนที่ละลายได้ในของเหลว ชนิดหนึ่ง ๆ ขึ้นอยู่กับปริมาณสารปะปน อุณหภูมิ และความดัน [สิ่งแวดล้อม]
Oxygenation Capacityขีดความสามารถให้ออกซิเจน, Example: ปริมาณออกซิเจนที่เครื่องเติมอากาศสามารถให้ ได้ [สิ่งแวดล้อม]
Chemical Oxygen Demand, CODความต้องการออกซิเจนเชิงเคมี, ซีโอดี, Example: ปริมาณออกซิเจนที่ใช้ในการย่อยสลายสารอินทรีย์ ด้วยวิธีการทางเคมี [สิ่งแวดล้อม]
Biochemical Oxygen Demand, BODความต้องการออกซิเจนทางชีวเคมี, บีโอดี, Example: เป็นค่าวัดความสกปรกของน้ำในรูปปริมาณอินทรีย์ สารอย่างหยาบ ๆ [สิ่งแวดล้อม]
Ultimate Biochemical Oxygen Demandความต้องการออกซิเจนทางชีวเคมีสูงสุด (บีโอดีสูงสุด), Example: โดยทั่วไปหมายถึงปริมาณออกซิเจนทั้งหมดเพื่อ ให้พบกับบีโอดีขั้นแรก โดยเฉพาะแล้ว หมายถึงปริมาณออกซิเจนที่ต้องการให้พอกับบีโอดีทั้งในขั้นแรกและขั้นสอง [สิ่งแวดล้อม]
Oxygen Balanceดุลยภาพออกซิเจน, Example: ระดับของออกซิเจนที่ละลายอยู่ ณ จุดใดจุดหนึ่งของกระแสน้ำ จากผลของ การถูกใช้ไปโดยน้ำเสียและการได้รับมาจากอากาศผิวน้ำ หรือความสัมพันธ์ ระหว่างความต้องการออกซิเจนเชิงชีวเคมีของน้ำทิ้งจากโรงบำบัดกับออกซิเจน ที่มีในน้ำที่เจือจาง [สิ่งแวดล้อม]
Residual Oxygenออกซิเจนคงเหลือ, Example: ปริมาณออกซิเจนที่ละลายอยู่ภายในน้ำ หลังจากกระบวนการลดออกซิเจนสิ้นสุดลง [สิ่งแวดล้อม]
Dissolved Oxygen, DOออกซิเจนละลาย, ดีโอ, Example: ปริมาณออกซิเจนที่ละลายอยู่ในน้ำ น้ำเสียหรือของเหลวอื่นๆ โดยปกติ จะวัดเป็นมิลลิกรัมต่อลิตร, ส่วนในล้าน (สนล)หรือเปอร์เซนต์ของการอิ่มตัว [สิ่งแวดล้อม]
Oxygen Uptake Rateอัตราการจับใช้ออกซิเจน, Example: อัตราที่ออกซิเจนถูกใช้ไปโดยจุลินทรีย์ในเวลา หนึ่งๆ มีหน่วยเป็น มก./ล.-วัน [สิ่งแวดล้อม]
Oxygen Demandอุปสงค์ออกซิเจน, ความต้องการออกซิเจน, Example: ปริมาณของออกซิเจนที่ใช้ในการย่อยบีโอดี ในเวลา อุณหภูมิ และสภาวะที่กำหนด, ดู BOD [สิ่งแวดล้อม]
Positron Emission Tomographyเป็นเทคนิคการถ่ายภาพอวัยวะในร่างกายที่ทันสมัยที่สุดในปัจจุบัน โดยการตรวจวัดสารกัมมันตรังสีบางชนิด ซึ่งให้แก่ร่างกายในรูปของสารเภสัชรังสี เพื่อใช้ในการตรวจวัดเชิงปริมาณของขบวนการทางชีวเคมีในร่างกายของสิ่งมีชีวิต ไอโซโทปรังสีที่ใช้จะเป็นชนิดที่ปลดปล่อยโพซิตรอนออกมา เช่น ออกซิเจน-15 ไนโตรเจน-13 และคาร์บอน-11 โพซิตรอนที่ปล่อยออกมานี้จะเข้าทำปฏิกิริยาประลัย (annihilation) เกือบจะทันทีทันใดกับอิเล็กตรอนที่โคจรอยู่รอบนิวเคลียสในอะตอมของสาร ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นสารเภสัชรังสีนั้น และมีรังสีแกมมาพลังงาน 511 กิโลอิเล็กตรอนโวลต์ ปลดปล่อยออกมาพร้อมกันในสองทิศทางตรงกันข้าม สามารถตรวจวัดได้ด้วยหัววัดรังสีที่อยู่ตรงข้ามกัน จากหัววัดหลายๆ หัวที่ล้อมรอบคนไข้ ทำให้ทราบตำแหน่งที่ผิดปกติในร่างกายได้ โดยการแปลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ เนื่องจากส่วนใหญ่ของไอโซโทปรังสีที่ใช้กับเทคนิคนี้ เป็นไอโซโทปของธาตุที่เป็นส่วนประกอบของอินทรีย์วัตถุ จึงทำให้ PET มีประโยชน์ในการศึกษากระบวนการทางสรีรวิทยาและชีวเคมีที่ผิดปกติด้วย ในทางปฏิบัติ PET จำเป็นต้องใช้ไอโซโทปรังสีที่ผลิตขึ้นจากการระดมยิงที่เป้า ด้วยโปรตรอนพลังงานสูงภายในเครื่องไซโคลตรอน การศึกษาโดยใช้ PET จะมุ่งเน้นไปยังระบบประสาทส่วนกลางเป็นหลัก ด้วยการวัดตัวแปรเสริมอื่นๆ ประกอบ เช่น การไหลเวียนของเลือด กระบวนการสร้างและสลายน้ำตาลกลูโคส และการเผาผลาญออกซิเจน จึงมีความเป็นไปได้ที่จะหาสมุฏฐานของโรคลมบ้าหมู หรือหาขนาดที่แน่นอนของบริเวณที่พิการในสมองได้ ในการศึกษาที่เกี่ยวกับหัวใจและหน้าที่ของหัวใจ การตรวจโดยใช้ PET จะเป็นวิธีที่เฉพาะเจาะจง และให้ผลดีกว่าการตรวจสอบโดยวิธีอื่นๆ [พลังงาน]
ออกซิเจนเนตสารประกอบที่มีออกซิเจนเป็นองค์ประกอบอยู่ในโมเลกุล ซึ่งอาจเป็นพวกอีเทอร์หรือแอลกฮอล์ สำหรับประเทศไทยใช้ MTBE (Methyl Tertiary Butyl Ether) เติมในน้ำมันเบนซิน เพื่อช่วยให้เกิดการเผาไหม้สมบูรณ์มากขึ้น [ปิโตรเลี่ยม]
Chemical Oxygen Demandซีโอดี, ซีโอดี คือปริมาณออกซิเจนที่จำเป็นสำหรับปฏิกิริยาเคมีที่ใช้ในการย่อยสลายสารประกอบอินทรีย์ในน้ำเสียค่าซีโอดีที่สูงกว่าแสดงว่า ปฏิกิริยาการย่อยสลายนั้นต้องการปริมาณออกซิเจนมากกว่า ค่าซีโอดีสามารถใช้เป็นตัววัดทางอ้อมของปริมาณสารประกอบอินทรีย์ในน้ำ [เทคโนโลยีชีวภาพ]
Acrylic rubber or Polyacrylate rubber (ACM)ยาง ACM เป็นยางสังเคราะห์ชนิดหนึ่งที่เกิดจากการทำปฏิกิริยาระหว่างมอนอเมอร์ของอะ ไครเลต (acrylic ester) และมอนอเมอร์ที่ว่องไวต่อปฏิกิริยาคงรูป (cure site monomer) มีหลายเกรดขึ้นกับชนิดของอะไครเลตที่ใช้ในการสังเคราะห์ สมบัติเชิงกลของยางชนิดนี้สูงเพียงพอสำหรับการใช้งานส่วนใหญ่โดยเฉพาะเมื่อ เติมสารเสริมแรง เช่น เขม่าดำ ซิลิกา ยางชนิดนี้ทนต่อการเสื่อมสภาพอันเนื่องมาจากออกซิเจน โอโซน และความร้อนได้เป็นอย่างดี ทนต่อน้ำมันส่วนใหญ่ได้ดี แต่ไม่ทนต่อน้ำมันเชื้อเพลิง ไม่ทนต่อน้ำและสารเคมีต่างๆ ยางชนิดนี้นำไปผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ที่ต้องการทั้งความทนทานต่อความร้อนและ น้ำมัน โดยเฉพาะชิ้นส่วนยานยนต์ เช่น ยางโอริง ปะเก็นท่อน้ำมัน วาวล์ เป็นต้น [เทคโนโลยียาง]
Aging or Ageingการอบเร่งยางในระยะเวลาสั้นๆ เพื่อดูการเสื่อมสภาพ หรือ การเปลี่ยนแปลงสมบัติทางกายภาพ และ สมบัติทางเคมีของยางอันเนื่องมาจากออกซิเจน ความร้อน และโอโซน สามารถนำไปทำนายอายุการใช้งานของยางนั้นๆ ได้ [เทคโนโลยียาง]
Antidegradantสารเคมีที่เติมลงไปในยางเพื่อลดอัตราเร็วในการเสื่อมสภาพของยางอัน เนื่องมาจากปัจจัยต่างๆ เช่น ออกซิเจน ความร้อน แสงแดด และโอโซน เป็นต้น [เทคโนโลยียาง]
Antioxidantสารเคมีที่เติมลงไปในยางเพื่อจับอนุมูลอิสระที่เกิดขึ้นจากปฏิกิริยา ของออกซิเจนในอากาศกับยาง (ที่มีพันธะคู่) หรือทำให้ไฮโดรเพอร์ออกไซด์ที่เกิดขึ้นจากปฏิกิริยาแตกตัวต่อไปเป็นส่วนที่ ไม่เป็นอันตรายต่อการเสื่อมสภาพของยาง ทำให้ยางมีอายุการใช้งานได้ยาวนานขึ้น [เทคโนโลยียาง]
Epoxidised or Epoxidized natural rubberยางธรรมชาติอิพ็อกซิไดซ์เป็นยางที่ได้จากการเติมออกซิเจนเข้าไปใน โมเลกุลของยางตรงบริเวณพันธะคู่เกิดเป็นวงแหวนอิพ็อกไซด์โดยผ่านปฏิกิริยาอิ พ็อกซิเดชัน (Epoxidation) โดยมีระดับของการเกิดอิพ็อกซิเดชันตั้งแต่ร้อยละ 10-50 ยาง ENR ที่ได้จึงมีความเป็นขั้วสูงกว่ายางธรรมชาติทั่วไป ทำให้ทนต่อความร้อนและน้ำมันได้ดีขึ้น โดยยาง ENR เกรดที่มีระดับอิพ็อกซิเดชันสูงถึงร้อยละ 50 จะมีความเป็นขั้วสูงเทียบเท่ากับยาง NBR ที่มีปริมาณอะไครโลไนไทรล์ปานกลาง นอกจากนี้ยังพบว่ายาง ENR ที่เสริมแรงด้วยซิลิกาจะมีสมบัติคล้ายกับยางธรรมชาติที่เสริมแรงด้วยเขม่าดำ อีกด้วย การเตรียมยาง ENR นี้สามารถเตรียมได้ทั้งในรูปของน้ำยางและยางแห้ง [เทคโนโลยียาง]
Ethylene propylene diene rubberยาง EPDM เป็นยางสังเคราะห์ที่พัฒนามาจากยาง EPM โดยเติมมอนอเมอร์ตัวที่สาม คือ ไดอีน ลงไปเล็กน้อยในระหว่างการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชัน ทำให้ยางที่ได้มีส่วนที่ไม่อิ่มตัว (พันธะคู่) อยู่ในสายโซ่โมเลกุล ยางชนิดนี้จึงสามารถคงรูปได้ด้วยกำมะถัน แต่ไดอีนที่เติมลงไปไม่ได้ไปแทรกอยู่ที่สายโซ่หลักของโมเลกุล ดังนั้นสายโซ่หลักก็ยังคงเหมือนเดิมหรือไม่มีผลต่อสายโซ่หลักมากนัก จึงทำให้ยาง EPDM ยังคงมีสมบัติเด่นในเรื่องการทนทานต่อการเสื่อมสภาพอันเนื่องมาจากความร้อน แสงแดด ออกซิเจน โอโซน สารเคมี กรด ด่างได้ดีมาก และมีความยืดหยุ่นตัวได้ดีที่อุณหภูมิต่ำเมื่อเทียบกับ ยางธรรมชาติ มักใช้ทำผลิตภัณฑ์ยางที่ใช้ภายนอกเนื่องจากทนต่อสภาพอากาศได้ดีและใช้ผลิต ชิ้นส่วนยานยนต์เป็นส่วนใหญ่ เช่น ยางขอบกระจก ยางปัดน้ำฝน ท่อยางของหม้อน้ำรถยนต์ เป็นต้น นอกจากนี้ยังใช้เป็นฉนวนหุ้มสายเคเบิล สายพานลำเลียง แผ่นยางกันน้ำ แผ่นยางมุงหลังคา [เทคโนโลยียาง]
Ethylene propylene rubberยาง EPM เป็นยางสังเคราะห์ที่ได้จากการทำปฏิกิริยาโคพอลิเมอไรเซชันระหว่างมอนอเมอร์ ของเอทิลีน (ethylene) กับโพรพิลีน (propylene) มีลักษณะการจัดเรียงตัวของโมเลกุลแบบอสัณฐานและมีสมบัติเป็นยาง แต่ไม่มีส่วนที่ไม่อิ่มตัว (ไม่มีพันธะคู่) จึงทำให้มีสมบัติเด่นในเรื่องความทนทานต่อการเสื่อมสภาพอันเนื่องมาจากแสง แดด ออกซิเจน ความร้อน โอโซน และสารเคมี แต่ยางชนิดนี้มีข้อเสีย คือ ไม่สามารถใช้กำมะถันในการคงรูปได้ (เนื่องจากไม่มีพันธะคู่อยู่ในโมเลกุล) ดังนั้นการทำให้ยางคงรูปจึงต้องใช้เพอร์ออกไซด์เท่านั้น การใช้งานนิยมใช้ทำผลิตภัณฑ์ที่ใช้งานภายนอก เช่น ยางขอบประตู ยางขอบหน้าต่าง โอริง ฉนวนหุ้มสายเคเบิล เป็นต้น [เทคโนโลยียาง]
Masticationขั้นตอนการบดให้ยางนิ่ม มักใช้กับยางธรรมชาติเนื่องจากยางธรรมชาติมีน้ำหนักโมเลกุลสูงมาก (ความหนืดสูงมาก) การบดยางให้นิ่มเป็นการทำให้โมเลกุลฉีกขาด น้ำหนักโมเลกุลของยางลดลง (ใช้แรงเฉือน และออกซิเจนในอากาศ) สามารถทำได้โดยการบดยางล้วนๆ หรืออาจเพิ่มประสิทธิภาพในการบดยางได้โดยการเติมเพปไทเซอร์ลงไปเล็กน้อยและ การใช้อุณหภูมิสูง ผลที่ได้ทำให้ยางนิ่มลง เมื่อผสมสารเคมีลงไปจะทำให้สารเคมีนั้นให้เข้าเป็นเนื้อเดียวกับยางได้ง่าย ขึ้น ส่วนยางสังเคราะห์ที่มีการควบคุมน้ำหนักโมเลกุลตั้งแต่ขั้นตอนการสังเคราะห์ ทำให้ความหนืดเริ่มต้นไม่สูงมาก จึงไม่จำเป็นต้องนำมาบดให้นิ่มก่อน [เทคโนโลยียาง]
Peroxideสารเคมีที่มี –O-O- ในโมเลกุล เช่น H2O2, Na2O2, benzoyl peroxide [ (C6H5CO)2O2 ] ออกซิเจนในเพอร์ออกไซด์มีเลขออกซิเดชัน -1 ทำให้เพอร์ออกไซด์โดยทั่วไปไม่เสถียร เมื่อให้ความร้อนจะสลายตัวให้อนุมูลอิสระ ทำให้เกิดการเชื่อมโยงของโมเลกุลขึ้นได้ด้วยพันธะคาร์บอน-คาร์บอน นิยมใช้เพอร์ออกไซด์เป็นสารทำให้ยางคงรูปในยางที่ไม่มีพันธะคู่ เช่น EPM, EVA, CPE, Q หรือยางที่มีปริมาณพันธะคู่ในโมเลกุลต่ำมากเท่านั้น เช่น HNBR, EPDM [เทคโนโลยียาง]
Polyurethane rubberยางพอลิยูรีเทนได้จากการทำปฏิกิริยาระหว่างหมู่ไอโซไซยาเนต (isocyanate, -N-C=O) และหมู่ไฮดรอกซิล (hydroxyl, -OH) เกิดเป็นพันธะยูรีเทน (-NH-CO-O-) ขึ้น ถ้าหมู่ R ในพอลิออลเป็นพอลิเอสเทอร์ จะเรียกว่า พอลิเอสเทอร์ยูรีเทน (AU) และถ้าหมู่ R เป็นพอลิอีเทอร์ จะเรียกว่า พอลิอีเทอร์ยูรีเทน (EU) สมบัติทั่วไปของยางพอลิยูรีเทน คือ มีความทนต่อแรงดึง ความทนต่อการฉีกขาด ความแข็ง ความต้านทานต่อการขัดถู รวมทั้งมีความทนทานต่อการเสื่อมสภาพเนื่องจากสภาพอากาศ ออกซิเจน ความร้อน และโอโซนดีมาก แต่จะเสื่อมสภาพได้ง่ายถ้าใช้งานในที่ร้อนชื้นหรือในสภาวะที่ต้องสัมผัสกับ น้ำร้อน ไอน้ำ กรด หรือด่าง (เกิดการไฮโดรไลซิส) สามารถนำไปผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ เช่น ท่อยาง ข้อต่อยาง ปลอกหุ้มสายเคเบิล สายพานลำเลียง ล้อสเก็ต ยางพื้นรองเท้า ยางซีล ปะเก็น เป็นต้น [เทคโนโลยียาง]
Silicone rubberยางซิลิโคนเป็นยางสังเคราะห์ชนิดหนึ่งซึ่งในแกนสายโซ่หลักของโมเลกุล ประกอบด้วยอะตอมของซิลิกอน (Si) และออกซิเจน (O) มีสูตรโครงสร้างทางเคมีเป็นพอลิไซลอกเซน (polysiloxane) ยางซิลิโคนมีหลายเกรด แต่ละเกรดจะแตกต่างกันที่หมู่ R ที่เกาะอยู่บนสายโซ่หลัก ดังนี้ MQ หมู่ R เป็นหมู่เมทิล (CH 3 ) VMQ หมู่ R เป็นหมู่ไวนิล (CH 2 = CH 2) PMQ หมู่ R เป็นหมู่ฟีนิล (C 6 H 5 ) PVMQ หมู่ R มีทั้งหมู่ฟีนิล หมู่ไวนิล และหมู่เมทิล FVMQ หมู่ R มีทั้งหมู่ไตรฟลูออโรโพรพิล หมู่ไวนิล และหมู่เมทิล แต่เกรดที่ใช้กันมากที่สุดจะเป็นพอลิเมอร์ของไดเมทิลไซลอกเซน (หมู่ R คือ CH 3) หรือที่มีชื่อย่อว่า MQ สมบัติโดยทั่วไปมีค่าความทนต่อแรงดึง ความต้านทานต่อการขัดถู และความต้านทานต่อแรงกระแทกต่ำมาก ดังนั้นจึงต้องมีการเติมสารตัวเติมเสริมแรงเช่น ซิลิกาเข้าช่วย แต่ยางซิลิโคนทนต่อสภาพอากาศ ออกซิเจน โอโซน แสงแดด และความร้อนได้ดี นอกจากนี้ยังสามารถใช้งานได้ที่อุณหภูมิสูงหรือต่ำมากๆ ได้ เนื่องจากยางชนิดนี้มีราคาสูงมาก ดังนั้นการใช้งานจึงจำกัดอยู่ในผลิตภัณฑ์ที่ไม่สามารถใช้ยางชนิดอื่นๆ ได้ เช่น การผลิตชิ้นส่วนของยานอวกาศ เครื่องบิน รถยนต์ ยางโอริง หน้ากากออกซิเจน แป้นกดของโทรศัพท์มือถือ งานทางการแพทย์และเภสัชกรรม เป็นต้น [เทคโนโลยียาง]
Aerationการพ่นอากาศลงไป, ฟองอากาศ, การให้ออกซิเจน, อากาศที่มีออกซิเจน [การแพทย์]
Aerobeแบคทีเรียที่ต้องการออกซิเจน, ต้องการออกซิเจน, ที่มีออกซิเจน [การแพทย์]

Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
อะตอมออกซิเจน[atǿm ǿksijēn] (n, exp) FR: atome d'oxygène [ m ]
การหล่อเลี้ยงด้วยออกซิเจน[kān lølīeng dūay ǿksijēn] (n, exp) EN: oxygenation  FR: oxygénation [ f ]
หล่อเลี้ยงด้วยออกซิเจน[lølīeng dūay ǿksijēn] (v, exp) EN: oxygenate  FR: oxygéner
หน้ากากออกซิเจน[nākāk ǿksijēn] (n, exp) EN: oxygen mask  FR: masque à oxygène [ m ]
ออกซิเจน[ǿksijēn] (n) EN: oxygen  FR: oxygène [ m ]
ออกซิเจนละลายในน้ำ[ǿksijēn lalāi nai nām] (n, exp) EN: dissolved oxygen (DO)  FR: oxygène dissous [ m ]
เต็นท์ออกซิเจน[ten ǿksijēn] (n, exp) EN: oxygen tent  FR: tente à oxygène [ f ]

Longdo Approved EN-TH
fuel cell(n) เซลกำเนิดไฟฟ้า โดยอาศัยปฏิกิริยาเคมี ระหว่างออกซิเจน กับ ไฮโดรเจน ซึ่งเมื่อรวมตัวกันแล้วจะได้น้ำ และพลังงานออกมา คาดกันว่าจะนำมาใช้อย่างแพร่หลาย สำหรับเป็นแหล่งพลังงานของรถยนต์ไฟฟ้า และเครื่องคอมพิวเตอร์กระเป๋าหิ้ว หรืออุปกรณ์อิเลคโทรนิกส์ต่างๆ โดยสามารถเติมพลังงานในรูปแบบของการเติมไฮโดรเจนที่ปั้ม หรือซื้อไฮโดรเจนกระป๋องสำหรับอุปกรณ์นั้นๆมาเปลี่ยน (สิงหาคม 2546)
oxidizing agent(n) ตัวเติมออกซิเจน(ในปฺฏิกิริยาที่มีออกซิเจนเกี่ยวข้อง), สารในปฏิกิริยารีดอกซ์ที่ได้รับอิเล็กตรอนและตัวมันเองมีเลขออกซิเดชันลดลง, See also: A. reducing agent
reducing agent(n) ตัวลดออกซิเจน(ในปฺฏิกิริยาที่มีออกซิเจนเกี่ยวข้อง), สารในปฏิกิริยารีดอกซ์ที่ให้อิเล็กตรอนและตัวมันเองมีเลขออกซิเดชันเพิ่มขึ้น, See also: A. oxidizing agent
COD(abbrev) ความต้องการออกซิเจนทางเคมี chemical oxygen demand

NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
aerobe(n) สิ่งมีชีวิต, See also: สิ่งที่มีชีวิตอยู่ได้โดยต้องอาศัยออกซิเจน
aerobic(adj) ซึ่งต้องการอากาศหรือออกซิเจนในการดำรงชีวิต
aerobics(n) การออกกำลังที่ช่วยให้หายใจเอาออกซิเจนเข้าสู่ร่างกายได้มากขึ้น
anoxemia(n) ภาวะออกซิเจนในเลือดลดลง
lox(n) ออกซิเจนเหลว
oxidation(n) ปฎิกิริยาเคมีที่เกิดจากการรวมตัวของออกซิเจนกับสารอื่น, See also: ออกซิเดชัน
oxide(n) ์สารประกอบออกซิเจนกับธาตุอื่น, See also: ออกไซด์
oxidisation(n) ปฎิกิริยาเคมีที่เกิดจากการรวมตัวของออกซิเจนกับสารอื่น
oxidization(n) ปฎิกิริยาเคมีที่เกิดจากการรวมตัวของออกซิเจนกับสารอื่น, Syn. combustion
oxygen(n) ออกซิเจน
oxygen(n) ก๊าซออกซิเจน
peroxide(n) ออกไซด์ที่มีออกซิเจน 2 อะตอมเช่น ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์, Syn. bleacher, decorant

Hope Dictionary
aerate(แอ' เรท) vt. เผยให้ปรากฎในอากาศ, ทำให้โล่ง, อัดอากาศเข้า, ให้ออกซิเจน.
aerobe(แอ' โรบ) n. สิ่งมีชีวิต (โดยเฉพาะแบคทีเรีย) ที่ต้องอาศัยออกซิเจนในการดำรงชีพ
aerobic(แอโร' บิค) adj. ซึ่งต้องการอากาศหรือออกซิเจนในการดำรงชีพ
anaerobe(แอนแอ' โรบ , แอน' นะโรบ) n. สิ่งมีชีวิต (โดยเฉพาะแบคทีเรีย) ที่ไม่ต้องการอากาศหรือออกซิเจนในการหายใจ (not requiring air)
anaerobic(แอนแอโร' บิค) adj. ซึ่งดำรงชีพได้โดยปราศจากอากาศหรือออกซิเจน
blackdampn. เหมืองที่ขาดอากาศออกซิเจน, Syn. chokedamp
chokedampn. บรรยากาศในเหมืองซึ่งมีปริมาณแก๊สออกซิเจนน้อย แต่มีปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์สูง
cyanosis(ไซ'อะโนซิส) n. ภาวะผิวหนังเป็นสีเขียว (น้ำเงิน) เนื่องจากการขาดออกซิเจน
hypoxemiaภาวะเลือดขาดออกซิเจน
mitochondriaเป็นแหล่งสร้างพลังงานของอเซลล์มีโครงสร้างเป็นรูปยาวรีประกอบด้วยผนัง 2 ชั้นคล้ายเซลล์ภายในมีเอนไซม์ที่จำเป็นต่อขบวนการสันดาบ โดยนำสารอาหารมาทำปฏิกริยากับออกซิเจน ได้เป็นพลังซึ่งเก็บสะสมไว้ในรูปพลังงานสูง (ATB) ซึ่งจะถูกใช้ไปในการทำงานของเซลล์
oxide(ออค'ไซดฺ) n. สารประกอบออกซิเจนกับธาตุอื่นหรือกลุ่มของธาตุ, See also: oxidic adj.
oxidise(ออค'ซิไดซ) vt. เปลี่ยนธาตุให้เป็นoxide, รวมตัวกับออกซิเจน
oxidize(ออค'ซิไดซ) vt. เปลี่ยนธาตุให้เป็นoxide, รวมตัวกับออกซิเจน
oxygen(ออค'ซิเจน) n. ธาตุออกซิเจน
pump(พัมพฺ) n. เครื่องสูบ, เครื่องสูบลม, โรงสูบ, การสูบ, การชักขึ้นชักลง -v. สูบ, ใช้เครื่องสูบ, ชักขึ้นชักลง, สูบลม, สูบน้ำ, อัดออกซิเจนเข้าในปอด, ซักไซ้ไล่เลียง, สอบถาม, ล้วงเอาความลับ., See also: pumper n., Syn. interrogate, probe
reduction(รีดัค'เชิน) n. การลดลง, การย่อ, การทำให้หด, การทด, การทอน, การทำให้เจือจาง, การเอาออกซิเจนออกจากออกไซด์, การเพิ่มไฮโดรเจนแก่สาร, การได้อิเล็กตรอนของสาร, การลดวาเลนซีของธาตุที่มีประจุบวกในสารประกอบ, See also: reductional adj. -S...

Nontri Dictionary
oxidation(n) การผสมกับก๊าซออกซิเจน
oxide(n) สารประกอบก๊าซออกซิเจนกับธาตุอื่น
oxidize(vt) ผสมกับก๊าซออกซิเจน
oxygen(n) ก๊าซออกซิเจน

Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
cyanosisภาวะผิวคล้ำเขียวเนื่องจากขาดออกซิเจน
flesh eating bacteria(n) แบคทีเรียกินเนื้อมนุษย์ เป็นแบคทีเรียเติบโตในบริเวณที่มีออกซิเจนน้อย จะเป็นจุดที่แบคทีเรียเจริญเติบโตได้ดี หรือ เมื่อติดเชื้อแบคทีเรียนี้แล้วออกซิเจนและการหมุนเวียนของเลือดจะชลอการแบ่งตัวของแบคทีเรีย
Oximetryเครื่องมือสำหรับการวัดระดับของความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือดไหลเวียนอย่างต่อเนื่อง
RSV(abbrev) ไวรัส RSV หรือ Respiratory Syncytial Virus เป็นสาเหตุของการติดเชื้อระบบทางเดินหายใจตั้งแต่ส่วนบนจนถึงส่วนล่าง ส่งผลให้ผู้ป่วยมีอาการหลอดลมฝอยอักเสบ (Acute bronchiolitis) และอาจทำให้ปอดอักเสบติดเชื้อได้ (Pneumonia) โดยเฉพาะผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยง เช่น เด็กที่มีโรคประจำตัว คลอดก่อนกำหนด ฯลฯ อาการเริ่มแรกเหมือนไข้หวัด คือ มีไข้ ไอ น้ำมูกไหล แต่จะมีไอมาก เสมหะเยอะและเหนียวข้น หายใจหอบเหนื่อย หน้าอกบุ๋ม อาจมีเสียหงายใจดังวี๊ดๆ ซึม ไม่กินน้ำ หงุดหงิด กระวุนกระวาย มีสีเขียวคล้ำบริเวณริมฝีปาก หรือ ปลายมือปลายเท้า เนื่องจากร่างกายขาดออกซิเจน หากมีอาการดังกล่าว ควรไปพบแพทย์ ที่มา: เอกสารแผ่นพับจากโรงเรียนอนุบาลชนานันท์ เรียบเรียงโดยก้านแก้ว จากการสัมภาษณ์ เรืออากาศเอกแพทย์หญิงหฤทัย กมลาภรณ์ โรงพยาบาลรามาธิบดี
Sickle cell diseaseกลุ่มของความผิดปกติที่มีผลต่อฮีโมโกลโมเลกุลในเซลล์เม็ดเลือดแดงที่ให้ออกซิเจนไปยังเซลล์ทั่วร่างกาย คนที่มีความผิดปกตินี้มีโมเลกุลของโมโกลเศร้าที่เรียกว่าฮีโมโกล S ซึ่งสามารถบิดเบือนเซลล์เม็ดเลือดแดงเป็นเคียวหรือเสี้ยว, รูปร่าง

Longdo Unapproved JP-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
酸化[さんか, sanka] (n) ปฏิกิริยาเคมีที่เกิดจากการรวมตัวของออกซิเจนกับสารอื่น, See also: R. oxidation

Longdo Approved DE-TH
Sauerstoff(techn) |der, nur Sg.| ธาตุออกซิเจน (เคมี)
reagieren(vi) |reagierte, hat reagiert| ทำปฏิกิริยา เช่น Wasser reagiert nicht mit Sauerstoff. น้ำไม่ทำปฏิกิริยากับออกซิเจน

Time: 0.5684 secondsLongdo Dict -- https://dict.longdo.com/