อสภะ | (อะสะพะ) ดู อสุภ, อสุภ-. |
กรรมาธิการ | (กำ-, กัน-) น. บุคคลที่สภาผู้แทนราษฎรหรือวุฒิสภาเลือกและตั้งเป็นคณะกรรมาธิการ เพื่อกระทำกิจการ พิจารณาสอบสวน หรือศึกษาเรื่องใด ๆ อันอยู่ในอำนาจหน้าที่ของแต่ละสภา แล้วรายงานต่อสภา คณะกรรมาธิการมี ๒ ประเภท คือ คณะกรรมาธิการสามัญ และคณะกรรมาธิการวิสามัญ คณะกรรมาธิการสามัญประกอบด้วยบุคคลซึ่งเป็นสมาชิกของสภาล้วน ๆ คณะกรรมาธิการวิสามัญประกอบด้วยบุคคลผู้เป็นสมาชิกและบุคคลที่มิได้เป็นสมาชิกของสภารวมกัน หรือบุคคลที่มิได้เป็นสมาชิกของสภาทั้งหมดที่สภาเลือกและตั้งเป็นคณะกรรมาธิการวิสามัญ. |
คณะกรรมาธิการ | น. คณะบุคคลที่สภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา หรือที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภา แต่งตั้งเพื่อกระทำกิจการ พิจารณาสอบสวน หรือศึกษาเรื่องใด ๆ อันอยู่ในอำนาจหน้าที่ของสภา แล้วรายงานต่อสภา. |
จุดหมาย, จุดหมายปลายทาง | น. จุดหรือสภาวะที่ต้องพยายามไปให้ถึง, จุดหรือสภาวะที่ตั้งใจจะให้บรรลุถึง, เช่น การเดินทางครั้งนี้มีจุดหมายที่จังหวัดสุโขทัย คนเรามีความสุขเป็นจุดหมายในชีวิต. |
ประชากรศาสตร์ | น. การศึกษาทางสถิติเกี่ยวกับประชากรในแง่อัตราการเกิด การตาย การย้ายถิ่น และการกระจาย เป็นต้น รวมทั้งผลกระทบที่มีต่อสภาวะทางสังคมและเศรษฐกิจ. |
แปรรูป | ก. กระทำอย่างใดอย่างหนึ่งแก่ไม้ให้เปลี่ยนรูป ขนาด หรือสภาพ ไปจากเดิม เช่น เลื่อย ผ่า ถาก เผา. |
ส่วนควบ | น. ส่วนของทรัพย์ซึ่งโดยสภาพแห่งทรัพย์หรือโดยจารีตประเพณีแห่งท้องถิ่นเป็นสาระสำคัญในความเป็นอยู่ของทรัพย์นั้น และไม่อาจแยกจากกันได้นอกจากจะทำลาย ทำให้บุบสลาย หรือทำให้ทรัพย์นั้นเปลี่ยนแปลงรูปทรงหรือสภาพไป. |
อนุสภากาชาด | น. ชื่อสมาคมสำหรับเด็กเพื่ออบรมตนให้เป็นประโยชน์แก่ผู้อื่น ขึ้นต่อสภากาชาด. |
อสุภ, อสุภ- | (อะสุบ, อะสุบพะ-) น. เรียกซากศพ ว่า อสุภ และเลือนไปเป็น อสภ และ อาสภ ก็มี. |
Drought tolerance | ความทนทานต่อสภาพแล้ง [TU Subject Heading] |
Conductivity | สภาพนำ หรือสภาพนำไฟฟ้า [สิ่งแวดล้อม] |
Heads of State | ผู้แทนที่สำคัญที่สุดของรัฐ หรือประมุขของรัฐ ในบางกรณีอาจทำหน้าที่เป็นตัวแทนของรัฐ ในการเจริญความสัมพันธ์กับประเทศต่างๆ โดยมีอำนาจเต็มที่จะประกอบการใด ๆ ได้ ประมุขของรัฐนั้นอาจได้แก่ พระจักรพรรดิ (Emperor) พระเจ้าแผ่นดิน (King) พระราชินี (Queen) และประธานาธิบดี (President)ประมุขของรัฐย่อมมีสิทธิที่จะได้รับการเคารพ และการยอมรับนับถือจากประเทศอื่นๆ ในสังคมนานาประเทศ ในแง่พิธีการทูต ผู้ที่เป็นกษัตริย์อาจได้รับเกียรติแตกต่างกับผู้ที่เป็นประธานาธิบดี แต่ความแตกต่างเช่นนี้หามีความสำคัญในแง่กฎหมายอย่างใดไม่ เมื่อประมุขของรัฐเดินทางไปเยือนต่างประเทศ ตัวประมุขพร้อมด้วยบุคคลในครอบครัวและบริวารทั้งหลาย ตลอดจนถึงทรัพย์สินของประมุขจะไดรับความคุ้มกัน (Immunity) ทั้งในทางแพ่งและอาญาคำว่าประมุขของรัฐอาจหมายถึงหัวหน้าของรัฐบาลก็ได้ เช่น ในกรณีสหรัฐอเมริกา แต่ในบางประเทศ เช่น อังกฤษ ประมุขของรัฐมิได้เป็นหัวหน้าของรัฐบาล ผู้ที่เป็นหัวหน้าของรัฐบาลได้แก่ นายกรัฐมนตรี (Prime Minister) ในประเทศที่มีการปกครองในรูปสาธารณรัฐ (Republic) ถือว่าอำนาจอธิปไตยตกอยู่กับประชาชน แม้แต่ตัวประธานาธิบดีของประเทศก็ไม่มีอำนาจอธิปไตย หากแต่เป็นประชาชนพลเมืองคนหนึ่ง ซึ่งได้รับการเลือกตั้งให้เข้าไปบริหารประเทศตามกำหนดระยะเวลาหนึ่งภายใต้ รัฐธรรมนูญ และตัวประธานาธิบดี เช่น ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา ก็อาจถูกฟ้องให้ขับออกจากตำแหน่งโดยรัฐสภา หรือสภานิติบัญญัติได้ เรียกว่า Impeachment [การทูต] |
Size of Staff of Diplomatic Mission | ขนาดของคณะผู้แทนทางการทูต โดยพฤตินัย จำนวนคณะผู้แทนทางการทูตจะมีตั้งแต่แห่งละหนึ่งหรือสองคนขึ้นไป จนถึงแห่งละ 100 กว่าคนได้ แต่โดยส่วนเฉลี่ย คณะผู้แทนทางการทูต จะมีจำนวนระหว่าง 12 ถึง 24 คน สำหรับคณะผู้แทนทางการทูตที่ประจำอยู่ในนครหลวงของประเทศใหญ่ๆ เช่น ที่กรุงวอชิงตันดีซี กรุงลอนดอน กรุงปารีส กรุงมอสโก กรุงปักกิ่ง และกรุงโตเกียว เป็นต้น จะมีเจ้าหน้าที่ทูตมากกว่าปกติอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทาง การทูตได้บัญญัติอยู่ในมาตรา 11 ว่า ?1. เมื่อไม่มีความตกลงเฉพาะในเรื่องขนาดของคณะผู้แทน รัฐผู้รับอาจเรียกร้องให้ขนาดของคณะผู้แทนอยู่ในจำนวนจำกัดตามที่ตนเห็นว่า เหมาะหรือเป็นปกติได้ ทั้งนี้ โดยคำนึงถึงพฤติการณ์หรือสภาวการณ์ในรัฐผู้รับ และความจำเป็นของคณะผู้แทนเฉพาะราย 2. ภายในสถานการณ์ที่คล้ายคลึงกัน และบนมูลฐานที่ไม่เลือกปฏิบัติ รัฐผู้รับอาจปฏิเสธได้เช่นเดียวกัน ที่จะยอมรับพนักงานเฉพาะรายประเภทหนึ่งประเภทใดก็ได้? [การทูต] |
Ethylene propylene diene rubber | ยาง EPDM เป็นยางสังเคราะห์ที่พัฒนามาจากยาง EPM โดยเติมมอนอเมอร์ตัวที่สาม คือ ไดอีน ลงไปเล็กน้อยในระหว่างการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชัน ทำให้ยางที่ได้มีส่วนที่ไม่อิ่มตัว (พันธะคู่) อยู่ในสายโซ่โมเลกุล ยางชนิดนี้จึงสามารถคงรูปได้ด้วยกำมะถัน แต่ไดอีนที่เติมลงไปไม่ได้ไปแทรกอยู่ที่สายโซ่หลักของโมเลกุล ดังนั้นสายโซ่หลักก็ยังคงเหมือนเดิมหรือไม่มีผลต่อสายโซ่หลักมากนัก จึงทำให้ยาง EPDM ยังคงมีสมบัติเด่นในเรื่องการทนทานต่อการเสื่อมสภาพอันเนื่องมาจากความร้อน แสงแดด ออกซิเจน โอโซน สารเคมี กรด ด่างได้ดีมาก และมีความยืดหยุ่นตัวได้ดีที่อุณหภูมิต่ำเมื่อเทียบกับ ยางธรรมชาติ มักใช้ทำผลิตภัณฑ์ยางที่ใช้ภายนอกเนื่องจากทนต่อสภาพอากาศได้ดีและใช้ผลิต ชิ้นส่วนยานยนต์เป็นส่วนใหญ่ เช่น ยางขอบกระจก ยางปัดน้ำฝน ท่อยางของหม้อน้ำรถยนต์ เป็นต้น นอกจากนี้ยังใช้เป็นฉนวนหุ้มสายเคเบิล สายพานลำเลียง แผ่นยางกันน้ำ แผ่นยางมุงหลังคา [เทคโนโลยียาง] |
Silicone rubber | ยางซิลิโคนเป็นยางสังเคราะห์ชนิดหนึ่งซึ่งในแกนสายโซ่หลักของโมเลกุล ประกอบด้วยอะตอมของซิลิกอน (Si) และออกซิเจน (O) มีสูตรโครงสร้างทางเคมีเป็นพอลิไซลอกเซน (polysiloxane) ยางซิลิโคนมีหลายเกรด แต่ละเกรดจะแตกต่างกันที่หมู่ R ที่เกาะอยู่บนสายโซ่หลัก ดังนี้ MQ หมู่ R เป็นหมู่เมทิล (CH 3 ) VMQ หมู่ R เป็นหมู่ไวนิล (CH 2 = CH 2) PMQ หมู่ R เป็นหมู่ฟีนิล (C 6 H 5 ) PVMQ หมู่ R มีทั้งหมู่ฟีนิล หมู่ไวนิล และหมู่เมทิล FVMQ หมู่ R มีทั้งหมู่ไตรฟลูออโรโพรพิล หมู่ไวนิล และหมู่เมทิล แต่เกรดที่ใช้กันมากที่สุดจะเป็นพอลิเมอร์ของไดเมทิลไซลอกเซน (หมู่ R คือ CH 3) หรือที่มีชื่อย่อว่า MQ สมบัติโดยทั่วไปมีค่าความทนต่อแรงดึง ความต้านทานต่อการขัดถู และความต้านทานต่อแรงกระแทกต่ำมาก ดังนั้นจึงต้องมีการเติมสารตัวเติมเสริมแรงเช่น ซิลิกาเข้าช่วย แต่ยางซิลิโคนทนต่อสภาพอากาศ ออกซิเจน โอโซน แสงแดด และความร้อนได้ดี นอกจากนี้ยังสามารถใช้งานได้ที่อุณหภูมิสูงหรือต่ำมากๆ ได้ เนื่องจากยางชนิดนี้มีราคาสูงมาก ดังนั้นการใช้งานจึงจำกัดอยู่ในผลิตภัณฑ์ที่ไม่สามารถใช้ยางชนิดอื่นๆ ได้ เช่น การผลิตชิ้นส่วนของยานอวกาศ เครื่องบิน รถยนต์ ยางโอริง หน้ากากออกซิเจน แป้นกดของโทรศัพท์มือถือ งานทางการแพทย์และเภสัชกรรม เป็นต้น [เทคโนโลยียาง] |
Acclimatization | การชินอากาศ; การปรับตัวเพื่อให้เกิดความเคยชินต่อสภาวะ; ภูมิอากาศ, การปรับตัวให้เข้ากับ [การแพทย์] |
Contraindication, Absolute | ข้อห้ามที่แน่นอน, โรคหรือสภาวะที่ห้ามใช้ [การแพทย์] |
Contraindications, Relative | โรคหรือสภาวะที่ไม่ควรใช้ [การแพทย์] |
natural selection | การคัดเลือกโดยธรรมชาติ, การที่ลูกหลานของสิ่งมีชีวิต ไม่ว่าจะเป็นพืชหรือสัตว์จะมีความแตกต่างไปจากพ่อแม่เล็กน้อย ซึ่งลูกหลานเหล่านี้ตัวที่มีความเหมาะสมต่อสภาพแวดล้อมมากกว่าก็จะมีชีวิตอยู่ และสืบพันธุ์ได้ ส่วนตัวที่มีความเหมาะสมน้อยจะตายไป จึงเป็นผลให้สิ่งมีชีวิตเปลี่ยนไปเพื่อให้เ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
succession | การเปลี่ยนแปลงแทนที่, กระบวนการที่สิ่งมีชีวิตกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งในระบบนิเวศ ถูกแทนที่โดยกลุ่มสิ่งมีชีวิตใหม่ เมื่อสภาวะแวดล้อมเดิมเปลี่ยนแปลงไป [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Newton's laws of motion | กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน, กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน กฎที่ว่าด้วยการเคลื่อนที่ของวัตถุซึ่งเป็นพื้นฐานของวิชากลศาสตร์มี 3 ข้อ คือ กฎข้อ 1 วัตถุจะรักษาสภาพอยู่นิ่งหรือสภาพเคลื่อนที่อย่างสม่ำเสมอในแนวตรง นอกจากจะมีแรงลัพธ์ซึ่งมีค่าไม่เป็นศูนย์มากระทำ(กฎนี้เรียกอีกชื่อหนึ่งว่ากฎความเฉื่อย [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Jamais Vecu | รู้สึกไม่รู้จักสถานที่หรือสภาพนั้นทั้งๆที่เคย [การแพทย์] |
back | (adv) กลับคืนไปที่เดิม (หรือสภาพเดิม) |
get back to | (phrv) กลับสู่ (หัวข้อหรือสภาพเดิม), Syn. come back to, get back |
harsh | (adj) ที่ไม่สามารถทนได้ (ต่อสภาพอากาศหรือสภาพความเป็นอยู่) |
keep till | (phrv) ยังอยู่ในสภาพที่ใช้การได้หรือสภาพดีจนกว่า, Syn. last for, last till |
keep until | (phrv) ยังอยู่ในสภาพที่ใช้การได้หรือสภาพดีจนกว่า, Syn. last for, last till |
pass into | (phrv) เข้าสู่สภาพหรือสภาวะ, Syn. get into |
stand up | (phrv) ทนต่อสภาพ (บางอย่าง), Syn. stand up to |
weatherproof | (vt) ทำให้สามารถทนแดดทนฝนได้, See also: ทำให้ทนต่อสภาพอากาศทุกชนิด |
weatherproof | (adj) ซึ่งสามารถทนแดดทนฝนได้, See also: ซึ่งทนต่อสภาพอากาศทุกชนิด |
weatherproofness | (n) การทนต่อสภาพอากาศ |
weatherworn | (adj) สึกกร่อน, See also: เสื่อมหรือเสียเนื่องจากถูกแดดถูกฝนหรือสภาพอากาศอื่นๆ, Syn. weather-beaten |
work up into | (phrv) ทำให้ตื่นเต้น, See also: กระตุ้นให้เข้าสู่สภาวะหรือสภาพ บางอย่าง |
work up to | (phrv) ทำให้ตื่นเต้น, See also: กระตุ้นให้เข้าสู่สภาวะหรือสภาพ บางอย่าง |
impeachment | (อิมพีช' เมินทฺ) n. การกล่าวโทษ, การฟ้องร้อง, การกล่าวโทษเจ้าหน้าที่ฝ่ายบริหารชั้นสูงของรัฐบาลโดยสภาผู้แทนราษฎรต่อสภาสูง (senate) ของสหรัฐอเมริกา, การไม่เชื่อถือ, ภาวะที่ถูกกล่าวโทษดังกล่าว |
improvement | (อิมพรูฟว' เมินทฺ) n. การทำให้ดีขึ้น, การปรับปรุง, การแก้ไข, ภาวะหรือสภาพที่ดีขึ้น, สิ่งที่ถูกปรับปรุงให้ดีขึ้น, สิ่งที่ช่วยทำให้ดีขึ้น, Syn. betterment |
legislatorial | (เลจจิสละทอ'เรียล) adj. เกี่ยวกับกฎหมาย, เกี่ยวกับสมาชิกหรือสภานิติบัญญัติ, นิตินัย |
martyrdom | (มาร์'เทอะดัม) n. ความทุกข์ทรมานความตาย หรือสภาวะของmartyr (ดู) , ความทุกข์ทรมานอย่างแสนสาหัส |
paradoxy | n. ลักษณะหรือสภาพที่ดีเหมือนไม่ถูกต้องแต่ความจริงอาจถูก |
press | (เพรส) vt., vi., n. (การ) กด, ทับ, อัด, บีบ, รัด, กอดรัด, แนบ, คั้น, ดัน, รบกวน, บีบคั้น, กระตุ้น, ผลักดัน, เน้น, เร่ง, บังคับ, รุกเร้า, เบียดไปข้างหน้า, เครื่องบด (เครื่องอัด....) , เครื่องพิมพ์, แท่นพิมพ์, โรงพิมพ์, สิ่งตีพิมพ์, กระบวนการพิมพ์ความแออัดของฝูงชน, ฝูงชน, ภาวะ หรือสภาพที่ถูกบีบ, ข่าวหนังสือพิมพ์ |
reductor | (รีดัค'เทอะ) n. เครื่องลดความกดดันหรืออัตราความเร็ว, ตัวทำให้คืนสู่รูปหรือสภาพเดิม, =reducer (ดู) |
weather | (เวธ'เธอะ) n. สภาพบรรยากาศ (ลม, ผน, ฟ้า, อุณหภูมิ, ความชื้น, เมฆ, หมอก, ความกดดันเป็นต้น) , อากาศ, ลมแรง, พายุ vi. มีการเปลี่ยนแปลง (เมื่อปล่อยให้ถูกอากาศ) , ทนต่อสภาวะการเปลี่ยนแปลงของอากาศ. adj. ต้านลม, under the weather ไม่สบาย, ป่วย, สถานการณ์, สภาวะ, สภาพ |
weatherproof | (เวธ'เธอะพรูฟ) adj. vt. (ทำให้) ทนต่อสภาพลมฟ้า อากาศทุกชนิด, See also: weatherproofness n. |
weatherworn | (เวธ'เธอะวอร์น) adj. สึกกร่อน, เสื่อมเสียเนื่องจากถูกแดดถูกฝนหรือสภาพอากาศอื่น ๆ |
Anthropocene | [อันโธรพะซีน] (adv) เกี่ยวกับหรือหมายถึงยุคสมัยในทางธรณีวิทยาที่ซึ่งการกระทำของมนุษย์มีอิทธิพลมากที่สุดต่อสภาพอากาศและสิ่งแวดล้อม |
post-truth | [โพสต์-ทรูธ] "เรื่องจริงไว้ทีหลังก็ได้" เป็นคำศัพท์ใหม่สุดของ Oxford ที่บัญญัติไว้ในอาทิตย์นี้เอง หลังจากเหตุการณ์ Brexit ของอังกฤษ และการเลือกตั้งของอเมริกา.....พจนานุกรมอ๊อกซเฝิด บัญญัติไว้ว่าคือ "ภาวะหรือสภาพซึ่ง...ข้อเท็จจริงที่เป็นรูปธรรมจริง.. จะมีน้ำหนักโน้มน้าวทัศนคติผู้คนทั่วไปได้น้อยกว่า การโน้มน้าวให้แต่ละคน มีความเชื่อหรืออารมณ์คล้อยตาม" "relating to or denoting circumstances in which objective facts are less influential in shaping public opinion than appeals to emotion and personal belief."//Oxford Dict. |
post-truth | [โพสต์-ทรูธ] "เรื่องจริงไว้ทีหลังก็ได้" เป็นคำศัพท์ใหม่สุดของ Oxford ที่บัญญัติไว้ในอาทิตย์นี้เอง หลังจากเหตุการณ์ Brexit ของอังกฤษ และการเลือกตั้งของอเมริกา.....พจนานุกรมอ๊อกซเฝิด บัญญัติไว้ว่าคือ "ภาวะหรือสภาพซึ่ง...ข้อเท็จจริงที่เป็นรูปธรรมจริง.. จะมีน้ำหนักโน้มน้าวทัศนคติผู้คนทั่วไปได้น้อยกว่า การโน้มน้าวให้แต่ละคน มีความเชื่อหรืออารมณ์คล้อยตาม" "relating to or denoting circumstances in which objective facts are less influential in shaping public opinion than appeals to emotion and personal belief."//Oxford Dict. |
post-truth | [โพสต์-ทรูธ] "เรื่องจริงไว้ทีหลังก็ได้" เป็นคำศัพท์ใหม่สุดของ Oxford ที่บัญญัติไว้ในอาทิตย์นี้เอง หลังจากเหตุการณ์ Brexit ของอังกฤษ และการเลือกตั้งของอเมริกา.....พจนานุกรมอ๊อกซเฝิด บัญญัติไว้ว่าคือ "ภาวะหรือสภาพซึ่ง...ข้อเท็จจริงที่เป็นรูปธรรมจริง.. จะมีน้ำหนักโน้มน้าวทัศนคติผู้คนทั่วไปได้น้อยกว่า การโน้มน้าวให้แต่ละคน มีความเชื่อหรืออารมณ์คล้อยตาม" "relating to or denoting circumstances in which objective facts are less influential in shaping public opinion than appeals to emotion and personal belief."//Oxford Dict. |
post-truth | [โพสต์-ทรูธ] "เรื่องจริงไว้ทีหลังก็ได้" เป็นคำศัพท์ใหม่สุดของ Oxford ที่บัญญัติไว้ในอาทิตย์นี้เอง หลังจากเหตุการณ์ Brexit ของอังกฤษ และการเลือกตั้งของอเมริกา.....พจนานุกรมอ๊อกซเฝิด บัญญัติไว้ว่าคือ "ภาวะหรือสภาพซึ่ง...ข้อเท็จจริงที่เป็นรูปธรรมจริง.. จะมีน้ำหนักโน้มน้าวทัศนคติผู้คนทั่วไปได้น้อยกว่า การโน้มน้าวให้แต่ละคน มีความเชื่อหรืออารมณ์คล้อยตาม" "relating to or denoting circumstances in which objective facts are less influential in shaping public opinion than appeals to emotion and personal belief."//Oxford Dict. |
กุศล | (n, adj) กุศล ควรจะหมายถึง การกระทำที่เกี่ยวข้องกับการยกระดับจิตใจให้ดีขึ้น ปรับปรุงจิตใจให้ดีขึ้น มากกว่าทำความดีเฉย ๆ การกระทำใด ๆ หากทำแล้วมีผลต่อสภาวะจิตใจของตนเปลี่ยนไปในทางที่สูงขึ้น จึงเรียกว่ากุศล หากการกระทำดีนั้น ๆ ไม่ได้มีผลเปลี่ยนแปลงจิตใจตนเองเลย ไม่เรียกว่ากุศล แต่เรียกว่า กรรมดี โดยทั่วไป มักจะใช้คู่กันกับคำว่า บุญกุศล แต่คำว่า บุญ กับ กุศล ความหมายต่างกัน (เขียนก็ไม่เหมือนกันแล้วจะให้ความหมายเหมือนกันได้อย่างไร) ตัวอย่าง 1. นาย กอ เป็นคนรวย ชอบที่จะให้ทาน เพราะเขาหวังว่า การให้ทานของเขาจะส่งผลทำให้เขารวย ยิ่ง ๆ ขึ้นไป และอาจจะได้ไปสวรรค์ หลังจากที่เขาตายไป - อันนี้นาย กอ ทำกรรมดี หรือทำบุญ แต่ไม่ได้เกิดกุศลในจิต หรือเกิดขึ้นน้อยมาก เพราะเขาทำทานก็จริง แต่ไม่มีผลทำให้จิตใจของเขาวางลงจากความโลภ หรืออยากเลย 2. นาย ขอ เป็นคนชั้นกลาง เขาเห็นเด็กกำพร้ามากมายเกิดขึ้น เขาจึงรู้สึกอยากที่จะช่วยเหลือเด็กเหล่านั้น จึงประหยัดค่าใช้จ่ายของตัวเองมากขึ้น เพื่อที่จะให้ตัวเองมีเงินเหลือมากขึ้น เพื่อที่จะแบ่งไปบริจาคเด็กเหล่านั้น เพื่อที่เด็กเหล่านั้นจะได้โตขึ้นเป็นผู้ใหญ่ที่ดีต่อไป - อันนี้ นาย ขอ ทำทั้งกุศล และบุญ เพราะมีผลที่ทำให้เขาต้องประหยัด อดออมมากขึ้น และการประหยัดอดออมนี้เอง จะทำได้ก็คือต้องปล่อยวางความอยากของตนเอง และทำเพราะในใจเกิดจิตเมตตากรุณา |