423 ผลลัพธ์ สำหรับ *หลวง*
หรือค้นหา: หลวง, -หลวง-

Longdo TH - TH
แกงหม้อใหญ่(n, slang) การหลอกหลวงครั้งใหญ่ การตุ้มตุ๋นที่มีคนถูกหลอกเป็นจำนวนมาก, See also: R. แกง

Longdo Unapproved TH - EN
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
One day, Father Khwan Khao brought Khwan Khao to leave with Grandpa.วันหนึ่งคุณพ่อของขวัญข้าวพาขวัญข้าวมาฝากไว้กับคุณปู่ เพราะคุณพ่อต้องไปขับรถส่งผู้โดยสารที่กรุงเทพมหานคร วันนี้คุณปู่พาขวัญข้าว มาดูข้าวที่คุณปู่ได้ปลูกไว้ จนถึงเย็นฝนก็ตกลงมา ขวัญข้าวจึงพูดว่าคุณปู่ตะรีบเข้าบ้านเดี๋ยวไม่สบาย คุณปู่จึงพูดว่าฝนไม่ได้ทำให้ไม่สบายหรอก แต่ต้องไปอาบน้ำ ตอนกลางคืนฝนก็ตกหนักมาก จนขวัญข้าวนอนไม่หลับ ขวัญข้าวตื่นมาให้คุณปู่เล่านิทานให้ฟังปู่เล่านิทานให้ฟังก็ได้ปู่ตอบ มีอยู่วันหนึ่งในดินเเดนแห้งเเร้งทุกคนไม่มีน้ำดื่ม จนกระทั่งวันหนึ่งมีจอบตกลงมาจากบนท้องฟ้า ทุกคนจึงหยิบจอบมาเพื่อขุด แต่ในดินแดนก็ไม่มีอะไรเกิดขึ้น ทุกคนจึงเลิกขุด เเต่มีเด็กผู้ชายคนหนึ่งขุดไปเรื่อยๆจากที่ขุด1ไร่กลายเป็น2ไร่จากที่ขุด2ไร่กลายเป็น4ไร่ จนเด็กผู้ชายคนนั้นก็ล้มลง จากนั้นฝนก็ได้ตกลงมา ทุกคนจึงมีชีวิตอยู่ พอคูณปู่เล่าเสร็จคุณปู่หันไปไหว้รูปในหลวงรัชกาลที่่9 วันต่อมาโรงเรียนของขวัญข้าวมีกิจกรรมขายของ ขวัญข้าวจึงทำวุ้นมะพร้าวจากสีธรรมชาติ จอมขายมะม่วงกวน วันต่อมาคุณพ่อของขวัญข้าวมาหาขวัญข้าว แล้วทุกคนจึงเปิดโครงการ"ของขวัญจากดิน" เพราะทุกอย่างที่นำมาขายล้วนแต่ปลูกมาจากดbo
พิธีพระราชทานน้ำหลวงอาบศพ(phrase) royally-sponsored bathing rite
เสรีภาพแห่งการพอเพียง[พอเพียงเพื่อเสรีภาพ] (n, vi, vt, modal, verb, aux, verb, adj, adv, prep, pron, phrase, colloq, abbrev, name, org, uniq) เสรีภาพกระผมอย่างยกตัวอย่างที่ในหลวงร9และร10พยายามทำอยู่และส่งเสริมอย่างยิ่งมันคือสิ่งที่เป็นพื้นฐานแห่งชีวิตของทุกคนไม่ว่าคุณจะอดอยากประเทศยากจนในดินแดนต่างๆทั่วโลกไทยคือครัวโลกเรายินดีแบ่งปันความรู้เศรฐกิจพอเพียงนี้ด้วยพืชและสูตรการทำอาหารของไทยที่มีมากมายใข่2ฟองก็สามารถสร้างเมนูเพื่อยังชีพได้เกิน10อย่างผัดทอดนึ่งต้ม

NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
หลวง(adj) public, See also: official, Syn. สาธารณะ, Example: คนขับรถบรรทุกประลองความเร็วกันบนถนนหลวง
หลวง(adj) royal, See also: of the court or crown, Example: วัดบวรนิเวศวิหารเป็นพระอารามหลวงชั้นเอกชนิดราชวรวิหารตั้งอยู่บนถนนพระสุเมรุ บางลำพู, Thai Definition: ของผู้เป็นใหญ่ คือ พระเจ้าแผ่นดิน
หลวง(n) title of respect shown to elderly relatives while in the Buddhist monkhood, Example: หลวงพี่นุ่งเหลืองห่มเหลืองกำลังเดินอุ้มบาตรมาจวนจะถึงหน้าบ้าน, Thai Definition: คำเรียกพระภิกษุโดยความเคารพ เช่น หลวงพี่ หลวงน้า, เป็นคำเรียกพระจีน พระญวน ว่า หลวงจีน หลวงญวน
หลวง(adj) great, See also: big, superior, chief, Syn. เป็นใหญ่, ใหญ่
คำหลวง(n) a kind of Thai literature, Example: เรื่องพระนลเป็นวรรณคดีประเภทคำหลวง, Thai Definition: คำประพันธ์ซึ่งเป็นชื่อพระราชนิพนธ์ มีโคลงฉันท์กาพย์กลอนปนกัน
ฝนหลวง(n) artificial rain, Syn. ฝนเทียม, Example: ปีนี้คงต้องมีฝนหลวงให้ชาวนา เพราะปีนี้แล้งเหลือเกิน, Thai Definition: ฝนเทียมพระราชทาน
หลวงตา(n) one's grandfather all of whom are in the monkhood, Example: แม่ฝากฝังเขาไว้กับหลวงตาที่วัด เพื่อให้เล่าเรียนหนังสือ, Thai Definition: คำเรียกพระที่มีอายุมาก
ในหลวง(n) king, Syn. พระมหากษัตริย์, Example: เงินที่ประชาชนบริจาคทั้งหมดจะนำขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายในหลวงเพื่อนำไปพัฒนาโครงการแหล่งน้ำพระราชดำริ, Thai Definition: สรรพนามบุรุษที่ 3 หมายถึง พระมหากษัตริย์, Notes: (ปาก)
กรมหลวง(n) Krom Luang, See also: Prince of the third class, Example: ทางกองทัพเรือได้จัดสร้างเหรียญเสด็จเตี่ยหรือพลเรือเอกพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมหลวงชุมพรเขตรอุดมศักดิ์, Thai Definition: ยศของเชื้อพระวงศ์ที่พระเจ้าแผ่นดินทรงแต่งตั้ง
ของหลวง(n) crown property, See also: government property, public property, state property, Example: คณะกรรมการกฤษฎีกาตีความเอาที่วัดและตึกดังกล่าวเป็นของหลวง, Thai Definition: ของที่เป็นของพระมหากษัตริย์, ของที่เป็นของแผ่นดินหรือรัฐ
ข้าหลวง(n) governor, Syn. ข้าราชบริพาร, บริวาร, Example: คุณย่าของดวงใจเคยเป็นข้าหลวงในวังมาก่อน, Count Unit: คน, Thai Definition: คนที่ถวายตัวเป็นผู้รับใช้ของในหลวงและเจ้านาย
งานหลวง(n) state function, Example: นิภาทำงานหนักมากต้องรับผิดชอบทั้งงานราษฏร์และงานหลวง, Count Unit: งาน
ถนนหลวง(n) public highway, Example: เด็กที่เขาเคยเห็นวิ่งขายดอกไม้ พวงมาลัย หนังสือพิมพ์ตามสี่แยกกลางถนนหลวงกำลังสะอื้นไห้, Count Unit: สาย, Thai Definition: ถนนซึ่งถือเป็นทางสาธารณะ
ทางหลวง(n) highway, See also: state highway, public road, Syn. ถนนหลวง, Example: เราจะต้องช่วยกันรักษากฎจราจรบนทางหลวง, Count Unit: สาย, Thai Definition: ทางหรือถนนซึ่งจัดไว้เพื่อประโยชน์ในการจราจรสาธารณะทางบก ไม่ว่าในระดับพื้นดิน ใต้หรือเหนือพื้นดิน หรือใต้หรือเหนืออสังหาริมทรัพย์อย่างอื่นนอกจากทางรถไฟ
นครหลวง(n) capital, Syn. เมืองหลวง, Example: กรุงเทพมหานครเป็นนครหลวงของประเทศไทย
บัวหลวง(n) Nelumbo nucifera, Example: บัวหลวงเป็นบัวที่พบเห็นอยู่บ่อยๆ ในบึงทั่วไป, Count Unit: ดอก, Thai Definition: พรรณบัวน้ำชนิดหนึ่ง มีอยู่ทั่วในเมืองไทย มีเหง้าอยู่ในโคลนเลน ใบกลมหนาแข็งก้านใบเป็นหนาม
บาทหลวง(n) priest, See also: minister, Syn. นักบวช, หลวงพ่อ, Example: บาทหลวงในศาสนาคริสต์นิกายคาทอลิกจะเป็นตัวแทนในการติดต่อกับพระเจ้า, Count Unit: รูป, Thai Definition: นักบวชหรือผู้สอนศาสนาในศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก
พัดหลวง(n) monsoon, Syn. ลมตะโก้, ลมพัดหลวง, Example: ในช่วงเดือนตุลาคมลมพัดหลวงจะพัดผ่านเข้ามา, Thai Definition: ชื่อลมทะเลพัดจากทิศตะวันตกเฉียงเหนือมาทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ มักมีในปลายฤดูฝน
หลวงจีน(n) Chinese monk, See also: Chinese Buddhist priest, Syn. พระจีน, Example: หลวงจีนรูปนี้มาจากวัดเส้าหลิน
หลวงพ่อ(n) venerable monk, See also: priest, Example: ถ้าคืนใดหลวงพ่อไม่ได้ยินเสียงกลองแล้วท่านนอนไม่หลับ
ไทยหลวง(n) Shans, See also: Greater Thai race, a race of ancient Siamese, inhabiting the north and north western parts, Syn. ไทยใหญ่
กุ้งหลวง(n) giant freshwater prawn, See also: big-head prawn, big-head shrimp, Syn. กุ้งก้ามกราม, Example: กุ้งหลวงเป็นสัตว์น้ำที่กินอาหารทุกชนิดแต่ที่ชอบคือ อาหารจำพวกเนื้อสัตว์, Count Unit: ตัว, Thai Definition: ชื่อกุ้งน้ำจืดชนิด Macrobrachium rosenbergii ในวงศ์ Palaemonidae ตัวโต เปลือกสีครามปนเขียว ก้ามสีฟ้า มีหนาม วางไข่ในน้ำกร่อย
ทะเลหลวง(n) high sea, See also: ocean, Example: เรือกำลังปะทะกับคลื่นลมในทะเลหลวง, Count Unit: แห่ง, Thai Definition: ทะเลหรือมหาสมุทรที่อยู่นอกน่านน้ำอาณาเขตของประเทศที่เป็นเจ้าของ
สนามหลวง(n) Royal Plaza; Sanam Luang, See also: the Pramane Ground, Example: สนามหลวงเป็นสถานที่เกิดเหตุการณ์สำคัญทางการเมืองหลายครั้งแล้ว
สนามหลวง(n) Royal Plaza; Sanam Luang, See also: the Pramane Ground, Example: สนามหลวงเป็นสถานที่เกิดเหตุการณ์สำคัญทางการเมืองหลายครั้งแล้ว
ฮ่างหลวง(n) Ficus altissima Bl., Syn. กร่าง, ไทรทอง, ลุง, Count Unit: ต้น, Thai Definition: ชื่อไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ชนิด Ficus altissima Bl. ในวงศ์ Moraceae เปลือกเรียบสีเทา ใบกว้างหนารูปไข่ ปลายมน ไม่มีขน ผลกลม เมื่อสุกสีส้มออกแดง, ลุง ฮ่างหลวง หรือ ไทรทอง ก็เรียก
เงินหลวง(n) government fund, Syn. เงินแผ่นดิน, เงินรัฐบาล, เงินของรัฐ, เงินของแผ่นดิน, Ant. เงินราษฎร์, เงินส่วนตัว, Example: เงินวิจัยโครงการนี้เป็นเงินหลวงเพราะฉะนั้นจะต้องใช้ให้คุ้มค่าที่สุด, Thai Definition: เงินที่เป็นของแผ่นดินหรือรัฐ
เจ้าหลวง(n) vassal prince, See also: ruler of a colony/protectorate, Example: ผู้ชายชุดดำที่ยืนอยู่หน้าประตูเป็นเจ้าหลวงของเมืองทางเหนือ, Thai Definition: เจ้าผู้ครองประเทศราช
ใหญ่หลวง(v) be great, See also: be enormous, Syn. ยิ่งใหญ่
ใหญ่หลวง(adv) hugely, See also: gigantically, enormously, colossally, vastly, Syn. มาก, มหาศาล, Example: คนในหมู่บ้านต้องเผชิญกับหายนะอย่างใหญ่หลวงกับภัยน้ำท่วม
ใหญ่หลวง(v) be huge, See also: be gigantic, be enormous, be colosal, be massive, be tremendous, Syn. หนักหนา, ยาก, Example: ปัญหาของเราใหญ่หลวงนัก
ไพร่หลวง(n) king's soldiers, See also: men who are serving their military obligation, Example: เขาเปลี่ยนฐานะเป็นไพร่หลวงและรับราชการไปจนถึงอาย ุ60 ปี, Count Unit: คน, กอง, Thai Definition: พลที่เข้าประจำการแล้ว, Notes: (โบราณ)
กะรัตหลวง(n) a Thai weight unit for precious stones equal to 20 centigrams, Thai Definition: มาตรน้ำหนักตามวิธีประเพณี ใช้สำหรับชั่งเพชรพลอย
ตำรวจหลวง(n) palace police, See also: palace guard, sergeants at arms in the royal palace, Example: ตอนน้องชายเขาเกิด คุณพ่อของเขาได้เลื่อนยศเป็นตำรวจหลวงรักษาพระองค์, Count Unit: คน, นาย, Thai Definition: ข้าราชการในพระองค์ มีหน้าที่พิทักษ์รักษาองค์พระมหากษัตริย์และพระราชินีในงานพระราชพิธี
ทะนานหลวง(clas) capacity measure equivalent litre, See also: unit of capacity for rice, the official unit being equivalent to one litre, Example: เขาต้องส่งข้าวหนึ่งพันทะนานหลวงต่อปี, Thai Definition: ชื่อมาตราตวงตามวิธีประเพณี มีอัตราเท่ากับ 1 ลิตร
หม่อมหลวง(n) great-great-grandchild of a king, Syn. ม.ล., Example: พลโท หม่อมหลวงขาบ กุญชร เป็นอธิบดีที่มีความรอบรู้ในเรื่องเพลงต่างๆ อย่างกว้างขวาง, Count Unit: คน, Thai Definition: คำนำหน้าชื่อบุตรของหม่อมราชวงศ์
เมืองหลวง(n) capital, See also: center, Example: ผู้คนในเมืองหลวงนับวันจะยิ่งมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นจนน่าเป็นห่วง, Thai Definition: เมืองซึ่งเป็นที่ตั้งของรัฐบาลและเป็นศูนย์กลางสำคัญในการบริหารประเทศ
กรมทางหลวง(n) Department of Highways, See also: Departments of State Highways, Example: ิกรมทางหลวงรับผิดชอบในการสร้างถนนเพื่อใช้เป็นเส้นทางคมนาคมทั่วประเทศ, Count Unit: กรม
ค่าภาคหลวง(n) royalty, See also: fee for the government, Example: ผู้รับสัมปทานป่าไม้จะต้องชำระค่าภาคหลวง ค่าธรรมเนียมและผลประโยชน์ตอบแทนอื่นๆ แก่ภาครัฐ, Thai Definition: ค่าสิทธิซึ่งกฎหมายกำหนดให้ผู้ได้รับอนุญาตให้ทำการหาประโยชน์จากทรัพยากรของชาติต้องชำระให้แก่รัฐ, Notes: (กฎหมาย)
ข้าหลวงน้อย(n) a personal attendant of princes or nobles, Syn. ข้ารับใช้, ข้าหลวง, Example: หล่อนได้มารยาทงามมาจากข้าหลวงน้อยในวัง, Count Unit: คน, Thai Definition: คนใช้ของเจ้านาย
ข้าหลวงใหญ่(n) governor-general, See also: High Commissioner, Example: บรรดาข้าหลวงใหญ่มักมีทรัพย์สินร่ำรวยกันทั้งนั้น, Count Unit: คน, Thai Definition: ตัวแทนพระเจ้าแผ่นดินที่มีอำนาจเหนือข้าหลวง
ตำรวจทางหลวง(n) highway police, See also: highway policeman, Count Unit: คน
ทางหลวงพิเศษ(n) motorway, Example: รถยนต์4 ล้อที่จะใช้ทางหลวงพิเศษต้องจ่ายค่าธรรมเนียมด่านละ 30 บาท, Count Unit: สาย, Thai Definition: เส้นทางหลักสำหรับรถที่วิ่งเร็วซึ่งจำกัดจำนวนทางเข้าร่วมโดยมีเส้นทางคู่ขนานแยกต่างหาก ตามปกติจะมีช่องทางจราจร 6 ช่อง
ทางหลวงพิเศษ(n) motorway, Thai Definition: เส้นทางหลักสำหรับรถที่วิ่งเร็วซึ่งจำกัดจำนวนทางเข้าร่วมโดยมีเส้นทางคู่ขนานแยกต่างหาก ตามปกติจะมีช่องทางจราจร 6 ช่อง
ท้องสนามหลวง(n) Phra Men Ground, Syn. ทุ่งพระเมรุ, สนามหลวง, Example: พระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญจัดขึ้นที่ท้องสนามหลวง
พระอารามหลวง(n) royal temple, See also: royal monastery, Syn. วัดหลวง, Example: วัดชนะสงครามเป็นพระอารามหลวงชั้นโท ชนิดราชวรมหาวิหาร, Thai Definition: วัดที่พระเจ้าแผ่นดินทรงสร้าง หรือทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เข้าจำนวนในบัญชีเป็นพระอารามหลวง
อย่างใหญ่หลวง(adv) largely, See also: enormously, hugely, colossally, gigantically, immensely, tremendously, mightily, Syn. อย่างมากมายมหาศาล, Example: คอมพิวเตอร์กลายเป็นเครื่องมือที่มีคุณค่า และมีคุณประโยชน์อย่างใหญ่หลวงสำหรับทางการแพทย์ของโลก
อย่างใหญ่หลวง(adv) largely, See also: enormously, hugely, colossally, gigantically, immensely, tremendously, mightily, Syn. อย่างมากมายมหาศาล, Example: คอมพิวเตอร์กลายเป็นเครื่องมือที่มีคุณค่า และมีคุณประโยชน์อย่างใหญ่หลวงสำหรับทางการแพทย์ของโลก
การไฟฟ้านครหลวง(n) The Metropolitan Electricity Authority, See also: MEA, Syn. กฟน., Example: สำนักงานใหญ่ของการไฟฟ้านครหลวงตั้งอยู่ถนนเพลินจิต
พระพุทธเจ้าหลวง(n) late King, See also: dead king, Example: กิจกรรมในเส้นทางล่องเรือ, udkiตามเส้นทางเสด็จประพาสต้น พระพุทธเจ้าหลวง รัชกาลที่ 5, Count Unit: พระองค์, Thai Definition: คำเรียกพระเจ้าแผ่นดินที่เสด็จสวรรคตแล้ว, Notes: (ราชา)

พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
กะรัตหลวงน. มาตรานํ้าหนักตามวิธีประเพณี ใช้สำหรับชั่งเพชรพลอยเท่านั้น เป็นเมตริกกะรัต เท่ากับ ๒๐ เซนติกรัม, อักษรย่อว่า กต.
กุ้งหลวงดู ก้ามกราม.
เกวียนหลวงน. มาตราตวงตามแบบราชการ มีอัตราเท่ากับ ๒, ๐๐๐ ลิตร หรือ ๒ กิโลลิตร, อักษรย่อว่า กว.
ของหลวงน. ของของสถาบันพระมหากษัตริย์, ของที่เป็นของแผ่นดินหรือรัฐ.
ขัดมอนหลวงดู หญ้าขัดหลวง ที่ หญ้าขัด.
ข้าหลวง ๑น. คนที่ถวายตัวเป็นข้าของพระมหากษัตริย์หรือเจ้านาย, คนรับใช้ของพระมหากษัตริย์หรือเจ้านาย ปัจจุบันมีเฉพาะผู้หญิง เรียกว่า คุณข้าหลวง.
ข้าหลวง ๒น. ตำแหน่งผู้ปกครองในหัวเมืองแต่ก่อนในลักษณะผู้รั้งเมืองหรือผู้รักษาเมืองเอก โท ตรี จัตวา ถ้าปกครองหลายหัวเมือง เรียกว่า ข้าหลวงใหญ่ ถ้าปกครองเมืองประเทศราช เรียกว่า ข้าหลวงรักษาราชการ
ข้าหลวง ๒ผู้ได้รับมอบหมายให้ทำหน้าที่ราชการเฉพาะกิจ
ข้าหลวง ๒เรียกผู้ว่าราชการเมืองหรือข้าหลวงประจำจังหวัด.
ข้าหลวงเดิมน. คนที่พระเจ้าแผ่นดินเคยใช้สอยมาตั้งแต่ก่อนขึ้นครองราชย์, คนรับใช้เก่าแก่ของเจ้านาย, (ปาก) คนหรือสิ่งของที่ใช้สอยถูกใจมาเป็นเวลานาน ๆ.
ข้าหลวง ๑ดูใน ข้า ๑.
ข้าหลวง ๒ดูใน ข้า ๑.
ข้าหลวง ๓น. ชื่อปลาทะเลขนาดเล็กชนิด Scolopsis ciliatus (Lacepéde) ในวงศ์ Nemipteridae ลำตัวป้อม แบนข้างปานกลาง พื้นลำตัวสีเขียวหม่น มีแถบสีขาวเด่นพาดตามยาวใกล้แนวสันหลังข้างละเส้น ระหว่างตาและแผ่นกระดูกใต้ตามีหนามแหลม ๑ อัน ชี้ไปทางด้านหน้า ขอบด้านนอกของขากรรไกรบนจักเป็นฟันเลื่อย พบอาศัยอยู่ตามแนวหินปะการัง ขนาดยาวได้ถึง ๑๓ เซนติเมตร.
ข้าหลวงหลังลายน. ชื่อเฟินอิงอาศัยชนิด Asplenium nidus L. ในวงศ์ Aspleniaceae ใบเรียงเป็นวง รูปทรงคล้ายชาม แตกใบอ่อนตรงกลาง.
ขุนหลวงน. คำเรียกพระเจ้าแผ่นดิน เช่น ขุนหลวงพะงั่ว ขุนหลวงหาวัด ขุนหลวงตาก ภายหลังใช้เป็นบรรดาศักดิ์ของขุนนางด้วย เช่น ขุนหลวงพระไกรศรี.
ค่าภาคหลวงน. ค่าสิทธิซึ่งกฎหมายกำหนดให้ผู้ได้รับอนุญาตให้ทำการหาประโยชน์จากทรัพยากรของชาติต้องชำระให้แก่รัฐ เช่น ค่าภาคหลวงแร่ ค่าภาคหลวงไม้หวงห้าม.
คำหลวงน. คำประพันธ์ซึ่งเป็นพระราชนิพนธ์ มีโคลงฉันท์กาพย์ร่าย คือ มหาชาติคำหลวงและพระนลคำหลวง, คำประพันธ์ที่แต่งมีลักษณะอย่างมหาชาติคำหลวง คือ นันโทปนันท-สูตรคำหลวง และพระมาลัยคำหลวง.
เค้าสนามหลวงน. สำนักผู้ปกครองบ้านเมือง, ที่ว่าราชการเมือง, คณะผู้ว่าการบ้านเมืองซึ่งประกอบด้วยเจ้าผู้ครองเมืองหรือผู้ครองเมืองข้าหลวงประจำนครหรือเมืองซึ่งต่อมาเรียกว่า ปลัดมณฑลประจำจังหวัด และข้าหลวงผู้ช่วย มีหน้าที่บังคับบัญชารับผิดชอบในกิจการทั่วไปของเมือง, เค้าสนาม ก็ว่า.
โครงการหลวงน. โครงการที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานอาชีพทางเลือกใหม่แก่ชาวไทยภูเขาในภาคเหนือ ซึ่งเดิมปลูกฝิ่นและทำไร่เลื่อนลอย ให้หันมาปลูกไม้ดอก ไม้ผล พืชผักเมืองหนาว และเลี้ยงปศุสัตว์เพื่อบริโภคและจำหน่าย สร้างรายได้ทดแทนการปลูกฝิ่น ทำให้ลดปัญหายาเสพติด ช่วยพิทักษ์รักษาป่าต้นน้ำ และสามารถพึ่งตนเองได้อย่างยั่งยืน.
งานหลวงไม่ให้ขาด งานราษฎร์ไม่ให้เสียทำงานไม่บกพร่องทั้งงานส่วนรวมและส่วนตัว, ใช้เพี้ยนว่า งานหลวงไม่ขาด งานราษฎร์ไม่เสีย ก็มี.
เงินหลวงน. เงินที่เป็นของแผ่นดินหรือรัฐ.
เจ้าพ่อหลวงน. คำที่ชาวไทยภูเขาใช้เรียกพระมหากษัตริย์.
เจ้าแม่หลวงน. คำที่ชาวไทยภูเขาใช้เรียกสมเด็จพระบรมราชินีนาถ.
เจ้าหลวงน. เจ้าผู้ครองประเทศราชฝ่ายเหนือ.
ฉ้อราษฎร์บังหลวงก. การที่พนักงานเจ้าหน้าที่เก็บเงินจากราษฎรแล้วไม่ส่งหลวงหรือเบียดบังเงินหลวง.
ชั่งหลวงน. ชื่อมาตราชั่งของหลวง มีนํ้าหนักเท่ากับ ๖๐๐ กรัม.
ช้าลูกหลวงน. การขับกล่อมพระราชโอรสพระราชธิดาในพระราชพิธีสมโภชขึ้นพระอู่.
ตำรวจหลวงน. ข้าราชการในพระองค์ แต่งเครื่องแบบ สวมเสื้อนอก คอปิด กระดุม ๕ เม็ด นุ่งผ้าม่วงสีน้ำเงิน (หากแต่งเครื่องเต็มยศนุ่งผ้าม่วงเชิงมีลายดิ้นเงิน สวมเสื้อนอกคอตั้งสีม่วงเทา) สะพายกระบี่ สวมหมวกทรงประพาส มีหน้าที่รักษาพระองค์พระมหากษัตริย์และพระราชินี ณ ที่ประทับ และนำเสด็จเป็นชุดตามพระเกียรติยศในงานพระราชพิธีและพิธีด้วย เดิมเรียกว่า พระตำรวจหลวง.
ทะนานหลวงน. ชื่อหน่วยในมาตราตวง มีอัตราเท่ากับ ๑ ลิตร, อักษรย่อว่า ท.
ทะเลหลวงน. ทะเลใหญ่, มหาสมุทร, ทะเลหรือมหาสมุทรที่อยู่นอกน่านนํ้าอาณาเขตของประเทศที่เป็นเจ้าของ.
ไทหลวงน. ไทใหญ่.
ในหลวงน. พระมหากษัตริย์.
บั้นหลวงน. ชื่อมาตราตวงตามวิธีประเพณี มีอัตราเท่ากับ ๑, ๐๐๐ ลิตร.
บาทหลวง(บาดหฺลวง) น. นักบวชในศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก.
ฝนหลวงน. ฝนที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ทำขึ้นเพื่อบรรเทาความแห้งแล้ง.
พระพุทธเจ้าหลวงน. คำเรียกพระมหากษัตริย์ที่เสด็จสวรรคตแล้ว, คำเต็มว่า สมเด็จพระพุทธเจ้าหลวง.
พ่อหลวงน. ผู้ใหญ่บ้าน
พ่อหลวงสมภาร, เจ้าอาวาส.
พัดหลวงน. ลมตะโก้. (ดู ตะโก้ ๒).
พินัยหลวงน. เงินค่าปรับเป็นของหลวง เช่น ปรับเป็นพินัยหลวง.
ไพร่หลวงน. ชายฉกรรจ์อายุ ๑๘ ปีขึ้นไปซึ่งเป็นราษฎรสามัญผ่านการสักขึ้นทะเบียนสังกัดกรมกองต่าง ๆ เพื่อรับราชการหรือเข้าเดือน. (ดู เลกสมสัก ประกอบ).
ไพร่หลวงส่วยดู ไพร่ส่วย.
มูกหลวงดู โมกใหญ่ ที่ โมก.
เมียหลวงน. เมียที่ยกย่องว่าเป็นใหญ่.
เมืองหลวงน. เมืองเป็นที่ตั้งรัฐบาล.
แม่กองธรรมสนามหลวงน. พระเถระผู้มีหน้าที่รับผิดชอบในการสอบไล่พระปริยัติธรรม แผนกนักธรรมและธรรมศึกษาของคณะสงฆ์.
แม่กองบาลีสนามหลวงน. พระเถระผู้มีหน้าที่รับผิดชอบในการสอบไล่พระปริยัติธรรม แผนกบาลีของคณะสงฆ์.
แม่ฟ้าหลวง ๑น. คำที่ชาวไทยภูเขาใช้เรียกสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี.
แม่ฟ้าหลวง ๑ดูใน แม่.
แม่ฟ้าหลวง ๒น. ชื่อปูน้ำจืดชนิดDromothelphusa sangwan Naiyanetr ในวงศ์ Potamidae มีขอบตา ขอบปาก ปลายขาและปลายก้ามหนีบสีแดง ขุดรูอยู่บริเวณ ๒ ฝั่งริมลำธารตามภูเขา พบที่ดอยตุง จังหวัดเชียงราย.

ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
principal wifeภริยาหลวง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
royalty๑. ราชนิกุล๒. ค่าภาคหลวง, ค่าสิทธิ [ ดู severance tax ประกอบ ] [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
royalty๑. ราชนิกุล๒. ค่าภาคหลวง๓. ค่าสิทธิ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
sea, open; seas, highทะเลหลวง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
severance taxค่าภาคหลวง [ ดู royalty ๒ ประกอบ ] [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
seas, high; sea, openทะเลหลวง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
open seaทะเลหลวง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
obstruction of highwayการกีดขวางทางหลวง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
official drugยาตำราหลวง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
metropolitan area network (MAN)ข่ายงานบริเวณนครหลวง (แมน) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
metropolitan area network (MAN)ข่ายงานบริเวณนครหลวง (แมน) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
mineral royaltyค่าภาคหลวงแร่ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
MAN (metropolitan area network)แมน (ข่ายงานบริเวณนครหลวง) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
MAN (metropolitan area network)แมน (ข่ายงานบริเวณนครหลวง) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
cavernถ้ำหลวง [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
curia regis (L.)ศาลหลวง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
commission๑. ค่าป่วยการ, ค่าบำเหน็จ (ก. แพ่ง)๒. คณะกรรมการ, คณะข้าหลวง (ก. ปกครอง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
capital๑. เมืองหลวง๒. ทุน, เงินทุน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
capitalเมืองหลวง [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
capital๑. ทุน, เงินทุน (ก .แพ่ง)๒. เมืองหลวง (ก. ปกครอง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
commissioner๑. ข้าหลวง๒. กรรมาธิการ๓. เทศมนตรี [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
commissioner๑. ข้าหลวง (ก. ปกครอง)๒. ตัวแทน (ก. แพ่ง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
commissioner, highข้าหลวงใหญ่ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
commissioner, highข้าหลวงใหญ่ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
corruptionการทุจริตในตำแหน่งหน้าที่, การฉ้อราษฎร์บังหลวง [ ดู graft ประกอบ ] [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
corruptionการทุจริต, การฉ้อราษฎร์บังหลวง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
drug, officialยาตำราหลวง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
Governor Generalผู้สำเร็จราชการ, ข้าหลวงใหญ่ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
tax, severanceค่าภาคหลวง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
high seasทะเลหลวง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
high seasทะเลหลวง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
high commissionerข้าหลวงใหญ่ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
high commissionerข้าหลวงใหญ่ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
highway, obstruction ofการกีดขวางทางหลวง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
highwayทางหลวง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
highway codeประมวลกฎหมายว่าด้วยทางหลวง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
highway, nuisance in relation toเหตุรำคาญบนทางหลวง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
nuisance in relation to highwayเหตุรำคาญบนทางหลวง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]

คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
ราชยานยานชนิดคานหามของหลวง, เรียกว่า พระยานก็มี เช่น พระยานมาศ, เรียกว่า พระราชยาน ก็มี เช่น พระราชยานกงพระราชยานถม, เรียกว่า พระที่นั่งราชยาน ก็มี เช่น พระที่นั่งราชยานพุดตานทอง, หรือเรียกเป็นอย่างอื่นก็มีคือ พระที่นั่งราเชนทรยาน [ศัพท์พระราชพิธี]
พระพิธีธรรมพระพิธีธรรมไม่ใช่ชื่อของพิธีกรรม แต่เป็นชื่อตำแหน่งของพระสงฆ์ที่มาสวดพระอภิธรรมในพิธีหลวง [ศัพท์พระราชพิธี]
แตรงอนชื่อแตรชนิดหนึ่งใช้ในพิธีหลวง; ชื่อดาวฤกษ์อุตราษาฒ [ศัพท์พระราชพิธี]
ข้าหลวงคนที่ถวายตัวเป็นข้าของพระเจ้าแผ่นดินหรือเจ้านาย, คนใช้ของพระเจ้าแผ่นดินหรือเจ้านาย [ศัพท์พระราชพิธี]
กงเต๊กหลวงเป็นพิธีบำเพ็ญพระราชกุศลอุทิศถวายในงานพระบรมศพเจ้านายที่เพิ่มเติมเข้ามาจากแบบแผนราชสำนัก เป็นการผสานทางศาสนาพุทธนิกายมหายานและวัฒนธรรมญวน-จีน กับความเชื่อของไทย โดยมีจุดมุ่งหมายเดียวกันคือการส่งเสด็จเจ้านายที่ล่วงลับสู่สวรรคาลัย [ศัพท์พระราชพิธี]
สังฆการีเจ้าพนักงานผู้มีหน้าที่เกี่ยวกับสงฆ์ในงานหลวง [ศัพท์พระราชพิธี]
บังแทรกเครื่องสูงอย่างหนึ่งมีด้ามถือรูปคล้ายบังสูรย์แต่เล็กกว่า ใช้ในขบวนแห่ของหลวงสำหรับบังแดด [ศัพท์พระราชพิธี]
ทิมอาคารจำนวน ๖ หลังสร้างติดรั้วราชวัติทั้ง ๔ ทิศ ด้านทิศเหนือ ใต้ ด้านละ ๑ หลัง ด้านทิศตะวันตกและทิศตะวันออกด้านละ ๒ หลัง ด้านหน้าเปิดโล่งหลังคาเป็นลักษณะหลังคาปะรำ (หลังคาแบน) ใช้สำหรับเจ้าพนักงาน พระสงฆ์ แพทย์หลวงพัก และใช้เป็นที่ตั้งเครื่องประโคมพระศพ [ศัพท์พระราชพิธี]
พลับพลายกมี ๓ หลัง ตั้งที่ท้องสนามหลวง นอกรั้วราชวัติ ด้านทิศเหนือ ๑ หลัง ใช้สำหรับเสร็จรับพระศพลงจากราชรถ ที่หน้าพระที่นั่งสุทไธสวรรย์ปราสาท ๑ หลัง ใช้สำหรับเจ้านายฝ่ายในและประทับทอดพระเนตรกระบวนและถวายบังคมพระศพ และที่หน้าวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามอีก ๑ หลัง ใช้สำหรับเสด็จส่งพระศพขึ้นราชรถ [ศัพท์พระราชพิธี]
พระวอสีวิกากาญจน์เป็นพระราชยานประทับราบสำหรับเจ้านายฝ่ายในและพระสงฆ์ทรงสมณศักดิ์ นอกจากใช้เสด็จพระราชดำเนินในงานพระราชพิธีแล้ว ยังใช้ในงานพระบรมศพสมเด็จพระบรมราชินีด้วย คือ เชิญพระราชสรีรางคารจากพระเมรุมาศท้องสนามหลวงกลับเ้ข้าพระบรมมหาราชวัง [ศัพท์พระราชพิธี]
สุสานหลวงสถานที่บรรจุพระสรีรางคาร (พระอังคาร), Example: <p><img src="http://stks.or.th/thaiglossary/sites/default/files/watrajabophit.jpg" alt="สุสานหลวง"> [ศัพท์พระราชพิธี]
หม่อมหลวงคำว่า หม่อมหลวง เมื่อเขียนเป็นตัวย่อ ให้เขียนเป็น ม.ล. [คำที่มักเขียนผิด]
Capitals (Cities)เมืองหลวง [TU Subject Heading]
Highway planningการวางแผนสร้างทางหลวง [TU Subject Heading]
Luang Phabang (Laos)หลวงพระบาง (ลาว) [TU Subject Heading]
Corruptionการฉ้อราษฎร์บังหลวง [เศรษฐศาสตร์]
Metropolitan area networks (Computer networks)เครือข่ายนครหลวง (ข่ายงานคอมพิวเตอร์) [TU Subject Heading]
Misconduct in officeการฉ้อราษฎร์บังหลวง [TU Subject Heading]
Road, Soil-cementทางหลวงดินซีเมนต์ [TU Subject Heading]
Roadsทางหลวง [TU Subject Heading]
Roads, Concreteทางหลวงคอนกรีต [TU Subject Heading]
Rural roadsทางหลวงชนบท [TU Subject Heading]
Toll roadsทางหลวงที่มีค่าผ่านทาง [TU Subject Heading]
Traffic policeตำรวจทางหลวง [TU Subject Heading]
Trials (Misconduct in office)การพิจารณาและตัดสินคดี (การฉ้อราษฎร์บังหลวง) [TU Subject Heading]
County Seatเมืองซึ่งเป็นเมืองหลวงของมลรัฐ, Example: เมืองซึ่งเป็นเมืองหลวงของมลรัฐ [สิ่งแวดล้อม]
ASEAN Transport Ministers Meetingการประชุมรัฐมนตรีขนส่งอาเซียน " จัดขึ้นปีละครั้ง เพื่อหารือและกำหนดแนวทางความร่วมมือด้านการ ขนส่งในอาเซียน อาทิ เส้นทาง ประเภท/ขนาดรถยนต์ การประกันภัยรถยนต์ ใบอนุญาตขับขี่รถยนต์ การตรวจทางศุลกากร การขนส่งสินค้าผ่านแดน การขนส่งสินค้าข้ามแดน และการพัฒนาโครงข่ายทางหลวงอาเซียน" [การทูต]
ASEAN Committees in Third Countriesคณะกรรมการอาเซียนในประเทศที่สาม เป็นกลไกประสานงานของอาเซียนที่จัดตั้งขึ้นในเมืองหลวงของประเทศที่สาม ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นประเทศคู่เจรจาของอาเซียน คณะกรรมการดังกล่าว ประกอบด้วยเอกอัครราชทูตของประเทศสมาชิกอาเซียนประจำประเทศนั้น ๆ [การทูต]
Commencement of the Functions of the Head of Diplomatic Missionการเริ่มต้นรับหน้าที่ของหัวหน้าคณะผู้แทนทางการ ทูต กล่าวคือ เมื่อหัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตเดินทางไปถึงนครหลวงของประเทศผู้รับแล้ว ควรรีบแจ้งให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศทราบว่า ตนได้เดินทางมาถึงแล้วและขอนัดเยี่ยมคารวะ ตามปกติกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นหน้าที่ของอธิบดีกรมพิธีการทูตจะดำเนินการตระเตรียมให้หัวหน้าคณะ ผู้แทนทางการทูตได้เข้ายื่นสารตราตั้งต่อไประหว่างนั้น หัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตจะต้องไม่ไปพบเยี่ยมผู้ใดเป็นทางการ จนกว่าจะได้ยื่นสารตราตั้งเรียบร้อยแล้ว อย่างไรก็ดี หัวหน้าคณะผู้แทนอาจขอพบเป็นการภายในกับหัวหน้าของคณะทูตานุทูต (Dean หรือ Doyen of the Diplomatic Corps) ได้ เพื่อขอทราบพิธีการปฏิบัติในการเข้ายื่นสารตราตั้งต่อประมุขของประเทศผู้รับ เกี่ยวกับเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนา ได้บัญญัติไว้ในมาตรา 13 ว่า1. พึงถือได้ว่าหัวหน้าคณะผู้แทนได้เข้ารับภารกิจหน้าที่ของตนในรัฐผู้รับ เมื่อตนได้ยื่นสารตราตั้งหรือเมื่อตนได้บอกกล่าวการมาถึงของตน พร้อมทั้งได้เสนอสำเนาที่ถูกต้องของสารตราตั้งต่อกระทรวงการต่างประเทศของ รัฐผู้รับ หรือกระทรวงอื่นตามที่อาจจะตกลงกันในแนวปฏิบัติที่มีอยู่ในรัฐผู้รับ ซึ่งจะต้องใช้ในทำนองอันเป็นเอกรูป2. ลำดับของการยื่นสารตราตั้ง หรือสำเนาที่ถูกต้องของสารตราตั้ง จะได้พิจารณากำหนดตามวันและเวลาของการมาถึงของหัวหน้าคณะผู้แทน [การทูต]
Commission on Human Rightsคณะกรรมาธิการว่าด้วยสิทธิมนุษยชน แต่งตั้งขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1946 ตามมติของคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมของสหประชาชาติ มีหน้าที่รับผิดชอบในการเสนอข้อเสนอแนะและรายงานการสอบสวนต่าง ๆ เกี่ยวกับประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนไปยังสมัชชา (General Assembly) สหประชาชาติ โดยผ่านคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม คณะกรรมาธิการประกอบด้วยผู้แทนประเทศสมาชิก 53 ประเทศ ซึ่งได้รับเลือกตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่ตามวาระ 3 ปี มีการประชุมกันทุกปี ปีละ 6 สัปดาห์ ณ นครเจนีวา และเมื่อไม่นานมานี้ คณะกรรมาธิการได้จัดตั้งกลไกเพื่อให้ทำหน้าที่สอบสวนเกี่ยวกับปัญหาสิทธิ มนุษยชนเฉพาะในบางประเทศ กลไกดังกล่าวประกอบด้วยคณะทำงาน (Working Groups) ต่าง ๆ รวมทั้งเจ้าหน้าที่พิเศษที่สหประชาชาติแต่งตั้งขึ้น (Rapporteurs) เพื่อให้ทำหน้าที่ศึกษาและสอบสวนประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนโดยเฉพาะในบาง ประเทศมีเรื่องน่าสนใจคือ ใน ค.ศ. 1993 ได้มีการประชุมในระดับโลกขึ้นที่กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย ซึ่งแสดงถึงความพยายามของชุมชนโลก ที่จะส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นมูลฐานไม่ว่าที่ไหน ในระเบียบวาระของการประชุมดังกล่าว มีเรื่องอุปสรรคต่างๆ ที่เห็นว่ายังขัดขวางความคืบหน้าของการดำเนินงานด้านสิทธิมนุษยชน รวมทั้งการหาหนทางที่จะเอาชนะอุปสรรคเหล่านั้น เรื่องความเกี่ยวพันกันระหว่างการพัฒนาลัทธิประชาธิปไตย และการให้สิทธิมนุษยชนทั่วโลก เรื่องการท้าทายต่างๆ ที่เกิดขึ้นใหม่ ซึ่งทำให้ไม่อาจปฏิบัติให้บรรลุผลอย่างสมบูรณ์ในด้านสิทธิมนุษยชน เรื่องการหาหนทางที่จะกระชับความร่วมมือระหว่างประเทศในด้านสิทธิมนุษยชน และการที่จะส่งเสริมศักยภาพของสหประชาชาติในการดำเนินงานในเรื่องนี้ให้ได้ ผล ตลอดจนเรื่องการหาทุนรอนและทรัพยากรต่างๆ เพื่อใช้ในการปฏิบัติงานดังกล่าวในการประชุมระดับโลกครั้งนี้มีรัฐบาลของ ประเทศต่างๆ บรรดาองค์กรของสหประชาชาติ สถาบันต่างๆ ในระดับประเทศชาติ ตลอดจนองค์การที่มิใช่ของรัฐบาลเข้าร่วมรวม 841 แห่ง ซึ่งนับว่ามากเป็นประวัติการณ์ ช่วงสุดท้ายของการประชุมที่ประชุมได้พร้อมใจกันโดยมิต้องลงคะแนนเสียง (Consensus) ออกคำปฏิญญา (Declaration) แห่งกรุงเวียนนา ซึ่งมีประเทศต่าง ๆ รับรองรวม 171 ประเทศ ให้มีการปฏิบัติให้เป็นผลตามข้อเสนอแนะต่างๆ ของที่ประชุม เช่น ข้อเสนอแนะให้ตั้งข้าหลวงใหญ่เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนหนึ่งตำแหน่งให้มีการรับ รู้และรับรองว่า ลัทธิประชาธิปไตยเป็นสิทธิมนุษยชนอันหนึ่ง ซี่งเป็นการเปิดโอกาสให้ลัทธิประชาธิปไตยได้รับการสนับสนุนส่งเสริมให้มั่น คงยิ่งขึ้น รวมทั้งกระชับหลักนิติธรรม (Rule of Law) นอกจากนี้ยังมีเรื่องการรับรองว่า การก่อการร้าย (Terrorism) เป็นการกระทำที่ถือว่ามุ่งทำลายสิทธิมนุษยชน ทั้งยังให้ความสนับสนุนมากขึ้นในนโยบายและแผนการที่จะกำจัดลัทธิการถือเชื้อ ชาติและเผ่าพันธุ์ การเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับเชื้อชาติ การเกลียดคนต่างชาติอย่างไร้เหตุผล และการขาดอหิงสา (Intolerance) เป็นต้นคำปฎิญญากรุงเวียนนายังชี้ให้เห็นการล่วงละเมิดสิทธิมนุษยชน อย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ (Genocide) และการข่มขืนชำเราอย่างเป็นระบบ (Systematic Rape) เป็นต้น [การทูต]
comprehensive plan of actionแผนปฏิบัติการที่สมบูรณ์แบบ เป็นแผนปฏิบัติการแก้ไขปัญหาผู้หนีภัยอย่างสมบูรณ์ โดยความร่วมมือระหว่างประเทศต้นเหตุ ประเทศที่ต้องแบกรับภาระ สำนักงานข้าหลวงใหญ่เพื่อผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติ และประเทศที่ให้ความช่วยเหลือ แผนปฏิบัติการที่สมบูรณ์แบบนี้เป็นการแก้ไขปัญหาแบบครบวงจร ตั้งแต่กระบวนการป้องกันปัญหา การให้ความช่วยเหลือผู้หนีภัย โดยจัดที่พักพิงชั่วคราวตามหลักมนุษยธรรม การส่งตัวกลับเมื่อสถานการณ์ในประเทศต้นเหตุกลับคืนสู่สภาพปกติแล้ว และการหาที่พักพิงให้แก่ผู้หนีภัยในประทศที่สาม [การทูต]
Corps Diplomatique หรือ Diplomatic Corpsคณะทูตานุทูตที่ประจำอยู่ในนครหลวง (Capital) ของประเทศ ซึ่งจะมีหัวหน้าคณะทูตพร้อมด้วยเจ้าหน้าที่ทางการทูตใน คณะทูต เจ้าหน้าที่ทางการทูตในคณะทูตนั้นจะประกอบไปด้วย อัครราชทูต (Minister) อัครราชทูตที่ปรึกษา (Minister Counselor) และที่ปรึกษา (Counselor) ซึ่งอาจจะมีคนเดียวหรือหลายคน นอกจากนี้ มีเลขานุการทางการทูตอีกหลายคน คือ เลขานุการเอก โท ตรี และตามปกติยังมีผู้ช่วยทูต (Attaché) อีกหลายคนซึ่งมีฐานะทางการทูต (Diplomatic status) คือผู้ช่วยทูตฝ่ายทหาร (บก เรือ และอากาศ) ผู้ช่วยทูตฝ่ายพาณิชย์ (Commercial Attaché) ผู้ช่วยทูตฝ่ายการแถลงข่าว (Press Attaché) และผู้ช่วยฝ่ายอื่น ๆ ซึ่งกระทรวงทบวงกรมของรัฐบาล (นอกจากกระทรวงการต่างประเทศ) เป็นฝ่ายแต่งตั้งข้าราชการของตนไปประจำในคณะทูต รวมทั้งเจ้าหน้าที่อื่น ๆ ซึ่งมีฐานะทางการทูตด้วยในนครหลวงของประเทศใดก็ตาม ผู้ที่ทำหน้าที่เป็นหัวหน้าคณะทูตานุทูต (Head หรือ Dean of the Diplomatic Corps) จะได้แก่ผู้แทนทางการทูตอาวุโสที่ได้ประจำการอยู่ในประเทศนั้นเป็นเวลานาน ที่สุด ยกเว้นแต่ในบางประเทศ จะถือเอกอัครราชทูตผู้แทนองค์สมเด็จพระสันตะปาปา (Papal Nuncio) เป็นหัวหน้าคณะทูตานุทูตตลอดไป โดยไม่คำนึงถึงเรื่องอาวุโสแต่อย่างใด เช่น ฟิลิปปินส์ [การทูต]
Dean (หรือ Doyen) of the Diplomatic Corpsหัวหน้า (Dean) ของคณะทูตานุทูตในนครหลวงของประเทศใดก็ตาม ได้แก่ ตัวทูตที่อาวุโสที่สุด (คือเป็นทูตอยู่ในประเทศนั้นๆ เป็นเวลานานที่สุด) ตัวหัวหน้าคณะทูตานุทูตจะมีลำดับอาวุโสเหนือทุกคนในคณะทูตานุทูต ทำหน้าที่เป็นโฆษกของคณะทูตเมื่อถึงความจำเป็น และเป็นผู้ดูแลและคุ้มครองบรรดาเอกสิทธ์และความคุ้มกันทางการทูตที่คณะ ทูตานุทูตมีอยู่ แต่หน้าที่ที่แท้จริงนั้น โดยมากเกี่ยวกับเรื่องพิธีการทูตมากกว่า อาทิเช่น เมื่อถึงวันที่ระลึกครบรอบวันเกิดประมุขของรัฐ (เช่นวันเฉลิมพระชนมพรรษาในประเทศไทย) Dean ของคณะทูตจะเป็นผู้กล่าวแสดงความยินดีในโอกาสดังกล่าวในนามของคณะทูตทั้งหมด แต่การที่จะเรียกหรือขอให้บุคคลในคณะทูตไปประชุมเพื่อจุดประสงค์ทางการเมือง นั้น เป็นสิ่งที่ Dean ไม่พึงกระทำ อย่างไรก็ตาม จะไม่มีผู้แทนทางการทูตคนใดไปร่วมการประชุมระหว่างบุคคลในคณะทูตด้วยกัน เกี่ยวกับปัญหาระหว่างประเทศโดยมิได้รับคำสั่งโดยเฉพาะจากรัฐบาลของตนก่อน ภริยาของ Dean หรือ Doyen นั้นเรียกว่า Doyenneเมื่อหัวหน้าคณะทูตวายชนม์ขณะที่ดำรงตำแหน่งอยู่ บุคคลในคณะทูตที่มีอาวุโสรองลงมาหรือเป็นบุคคลที่สองจะเป็นผู้รับช่วงงาน ทันที และมีตำแหน่งเรียกว่า อุปทูตชั่วคราว (Chargé d?Affaires ad interim) ทั้งจะต้องดูว่า เอกสารทางราชการต่าง ๆ โดยเฉพาะเอกสารลับหรือปกปิด จะไม่ทิ้งรวมอยู่กับ เอกสารส่วนตัวของทูตผู้วายชนม์อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทาง การทูต ซึ่งได้รับการรับรองเมื่อวันที่ 18 เมษายน ค.ศ. 1961 จากการประชุมสหประชาชาติ เกี่ยวกับการติดต่อและความคุ้มกันทางการทูต ได้บัญญัติไว้ว่า?ข้อ 39 (3) ในกรณีการถึงแก่กรรมของบุคคลในคณะผู้แทนทางการทูต ให้คนในครอบครัวของบุคคลในคณะผู้แทนอุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันซึ่งเขามี สิทธิที่จะได้รับไปจนกว่าจะสิ้นกำหนดเวลาอันสมควรที่จะออกจากประเทศไป(4) ในกรณีการถึงแก่กรรมของบุคคลในคณะผู้แทนซึ่งไม่ใช่คนชาติของรัฐผู้รับ หรือมีถิ่นที่อยู่ถาวรในรัฐผู้รับ หรือของคนในครอบครัว ซึ่งประกอบเป็นส่วนของครัวเรือนของบุคคลในคณะผู้แทนดังกล่าว ให้รัฐผู้รับอนุญาตให้ถอนสังหาริมทรัพย์ของผู้วายชนม์ไป ยกเว้นแต่ทรัพย์สินใดที่ได้มาในประเทศที่ส่งออกซึ่งทรัพย์สินนั้นเป็นอัน ต้องห้ามในเวลาที่บุคคลในคณะผู้แทน หรือคนในคราอบครัวของบุคคลในคณะผู้แทนนั้นถึงแก่กรรม อากรกองมรดก การสืบมรดกและการรับมรดกนั้น ๆ ไม่ให้เรียกเก็บแก่สังหาริมทรัพย์ซึ่งอยู่ในรัฐผู้รับ เพราะการไปอยู่ ณ ที่นั้นแต่ฝ่ายเดียวของผู้วายชนม์ในฐานะเป็นบุคคลในคณะผู้แทนอนึ่ง อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุล ซึ่งได้รับการรับรองจากที่ประชุมสหประชาชาติ เกี่ยวกับความสัมพันธ์ทางกงสุล ซึ่งได้รับการรับรองจากที่ประชุมสหประชาชาติ เกี่ยวกับความสัมพันธ์ทางกงสุล เมื่อวันที่ 24 เมษายน ค.ศ. 1963 ได้บัญญัติไว้ว่า ?ข้อ 51 ในกรณีมรณกรรมของบุคคลในสถานที่ทำการทางกงสุล หรือของคนในครอบครัว ซึ่งเป็นส่วนแห่งครัวเรือนของบุคคลดังกล่าว รัฐผู้รับ(ก) จะอนุญาตให้ส่งออกซึ่งสังหาริมทรัพย์ของผู้วายชนม์ โดยมีข้อยกเว้นแก่ทรัพย์สินเช่นว่า ทรัพย์ใด ๆ ที่ได้มาในรัฐผู้รับนั้น ซึ่งการส่งออกของทรัพย์ต้องห้าม ในเวลาที่บุคคลดังกล่าวถึงแก่มรณกรรม(ข) จะไม่เรียกเก็บอากรกองมรดก อากรสืบช่วงมรดกหรืออากรรับมรดก และอากรการโอน ไม่ว่าจะเป็นอากรของชาติ ของภูมิภาค หรือของเทศบาล จากสังหาริมทรัพย์ ซึ่งการที่สังหาริมทรัพย์นั้นอยู่ในรัฐผู้รับก็เนื่องมาแต่ฝ่ายเดียว จากการที่ผู้วายชนม์อยู่ในรัฐนั้นฐานะบุคคลในสถานที่ทำการทางกงสุลหรือใน ฐานะคนในครอบครัวของบุคคลในที่ทำการกงสุล? ?ข้อ 53(5) กรณีมรณกรรมของบุคคลในสถานที่ทำการทางกงสุล คนในครอบครัวซึ่งเป็นส่วนแห่งครัวเรือนของบุคคลดังกล่าว จะคงได้รับอุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันที่ได้ประสาทให้แก่ตนต่อไป จนกว่าตนจะออกไปจากรัฐผู้รับ หรือจนกว่าจะสิ้นกำหนดเวลาอันสมควรที่จะสามารถให้ตนกระทำดังนั้นได้ แล้วแต่ว่าเวลาไหนจะมาถึงก่อนกัน? [การทูต]
High Commiissionerข้าหลวงใหญ่ หรือผู้แทนทางการทูตของแต่ละประเทศที่เป็นสมาชิกสังกัดเครือจักรภพอังกฤษ (The Commonwealth of Nations) และประจำอยู่ ณ ประเทศของสมาคมนี้ด้วยกัน แท้ที่จริงแล้วตำแหน่งนี้ก็เท่ากับตำแหน่งเอกอัคร ราชทูตในกรณีของประเทศที่มิได้เป็นสมาชิกสังกัดในเครือจักรภพนั่นเอง เช่น ในกรณีที่ผู้แทนทางการทูตของประเทศแคนาดาไปประจำ ณ ประเทศออสเตรเลีย ซึ่งทั้งสองเป็นประเทศในเครือจักรภพด้วยกัน เขาจะเรียกผู้แทนทางการทูตของแคนาดานั้นว่า High Commissioner ไม่ใช้คำว่า Ambassador แต่ถ้าผู้แทนทางการทูตของแคนาดาไปประจำประเทศนอกเครือจักรภพ เช่น ประเทศไทย ก็จะเรียกผู้แทนทางการทูตของแคนาดานั้นว่า เอกอัครราชทูต (Ambassador) [การทูต]
High Commissioner1. เอกอัครราชทูตของประเทศในเครือจักรภพที่ประจำในสหราชอาณาจักรหรือประเทศใน เครือจักรภพด้วยกัน 2. ข้าหลวงใหญ่ ข้าหลวงใหญ่ : ใช้เรียกหัวหน้าสำนักงานบางแห่งในกรอบสหประชาชาติ เช่น United Nations High Commissioner of Refugee (UNHCR) หมายถึง ข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติ [การทูต]
High Seasทะเลหลวง คือทุกส่วนของทะเลที่มิได้อยู่ในทะเลอาณาเขต (Territorial Sea) ของประเทศใด โดยที่ถือว่าทะเลหลวงเป็นทรัพย์สินร่วมกันของทุกชาติ รัฐจะยึดเอาไปทำประโยชน์ของตนเองฝ่ายเดียวไม่ได้ และจะถือว่าส่วนหนึ่งส่วนใดของทะเลหลวงอยู่ใต้อำนาจอธิปไตยของตนไม่ได้เช่นกัน [การทูต]
International Law Commission of the United Nationsคือคณะกรรมการกฎหมายระหว่างประเทศของสหประชาชาติ มีวัตถุประสงค์ที่จะส่งเสริมปรับปรุงกฎหมายระหว่า ประเทศ รวมทั้งการทำประมวลกฎหมายให้ก้าวหน้าและทันสมัยคณะกรรมาธิการนี้ประกอบด้วย สมาชิกรวม 25 คน ซึ่งได้รับการเลือกตั้งให้ดำรงอยู่ในตำแหน่งสมาชิกคราวละ 5 ปี และจะทำงานในคณะกรรมาธิการในฐานะตัวบุคคล มิใช่เป็นตัวแทนจากประเทศของตน ตลอดการประชุมสมัชชาสหประชาชาติเป็นจำนวนหลายสมัยมาแล้ว คณะกรรมาธิการได้ทำหน้าที่ร่างกฎหมายในเรื่องต่าง ๆ ที่เป็นกฎหมายระหว่างประเทศเป็นจำนวนไม่น้อย บางเรื่องได้ริเริ่มขึ้นเองโดยคณะกรรมาธิการ แต่บางเรื่องทางสมัชชาสหประชาชาติหรือคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม ได้ส่งไปให้พิจารณาดำเนินการคณะกรรมาธิการได้ร่างสัญญาเกี่ยวกับกฎหมายทาง ทะเลไปแล้วไม่น้อยกว่า 4 ฉบับ เช่น อนุสัญญาว่าด้วยทะเลหลวง อนุสัญญาว่าด้วยอาณาเขตทางทะเลและพื้นที่ติดชายฝั่งอนุสัญญาเกี่ยวกับการจับ ปลา การอนุรักษ์ทรัพยากรที่มีชีวิตในท้องทะเลหลวง พร้อมทั้งได้รับสัตยาบันสารจากประเทศต่าง ๆ ไว้แล้วเป็นจำนวนมาก เมื่อ ค.ศ.1961 และ 1963 คณะกรรมาธิการได้จัดให้มีการประชุมใหญ่สองครั้งตามลำดับ ณ กรุงเวียนนา พร้อมทั้งได้ลงมติรับรองอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต และอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุล [การทูต]
Introducer of Ambassadorsหมายถึง เจ้าหน้าที่แนะนำเอกอัครราชทูต ในนครหลวงของบางประเทศจะมีเจ้าหน้าที่โดยเฉพาะ ซึ่งรับผิดชอบการติดต่อกับเอกอัครราชทูตซึ่งกำหนดจะยื่นสารตราตั้ง ให้เดินทางจากทำเนียบเอกอัครราชทูตไปยังทำเนียบของประมุขแห่งรัฐ และจะเป็นผู้เบิกตัว หรือแนะนำเอกอัครราชทูตผู้นั้นต่อประมุขของรัฐในพิธียื่นสารตราตั้ง ในนครหลวงของอีกบางประเทศ เจ้าหน้าที่แนะนำตัวเอกอัครราชทูตจะมีตำแหน่งเรียกอย่างอื่นคือ Master of Ceremonies ส่วนในประเทศอังกฤษ ณ พระราชสำนักแห่งเซนต์เจมส์ ผู้ที่ทำหน้าที่เช่นนี้จะเรียกว่า Her Majesty?s Marshal of the Diplomatic Corps ส่วนในสหรัฐอเมริกา ผู้กระทำหน้าที่นี้คืออธิบดีกรมพิธีการทูต (Chief of Protocol) [การทูต]
Multiple Representationคือการเป็นตัวแทนประจำประเทศต่าง ๆ มากกว่าหนึ่งแห่ง ตามหลักทั่วไป รัฐหนึ่งจะแต่งตั้งบุคคลหนึ่งให้ไปประจำเพียงรัฐเดียวในตำแหน่งเอกอัคร ราชทูต แต่มาในทุกวันนี้ เนื่องจากงบประมาณของประเทศมีจำกัด จึงเป็นธรรมเนียมแพร่หลายที่จะตั้งให้เอกอัครราชทูตคนเดียวไปประจำปลาย ประเทศได้ในเวลาเดียวกัน ยกเว้นแต่ว่ารัฐผู้รับหนึ่งใดจะแสดงการคัดค้านอย่างแจ้งชัดเอกอัครราชทูตคน เดียวกัน ซึ่งไปประจำอยู่หลายประเทศนั้น จะมีถิ่นพำนักถาวร (Permanent Residence) อยู่ในนครหลวงของเพียงประเทศหนึ่ง ส่วนในประเทศที่เหลือที่เขาเป็นเอกอัครราชทูตประจำอยู่ด้วยนั้น เขาไปพำนักอยู่เพียงระยะเวลาจำกัดเป็นพัก ๆ รัฐผู้ส่งจะมีคณะผู้แทนทางการทูตของตนไปประจำ ณ นครหลวงของแต่ละประเทศเหล่านั้น ตัวหัวหน้าคณะแต่ละแห่งจะมีตำแหน่งเรียกว่า อุปทูตชั่วคราว (Charge d? Affaires ad interim)เกี่ยวกับเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในข้อ 5 ดังนี้ ?1. หลังจากที่ได้บอกกล่าวแก่รัฐผู้รับที่เกี่ยวข้องตามสมควรแล้ว นอกจากจะมีการคัดค้านอย่างชัดแจ้งโดยรัฐผู้รับรัฐใดรัฐหนึ่ง รัฐผู้ส่งอาจแต่งตั้งหัวหน้าคณะผู้แทน หรือแต่งตั้งบุคคลใดในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายการทูตแล้วแต่กรณี ไปยังมากกว่ารัฐหนึ่งก็ได้ 2. ถ้ารัฐผู้ส่งแต่งตั้งหัวหน้าคณะผู้แทนไปยังรัฐอื่นหนึ่งรัฐหรือมากกว่านั้น รัฐผู้ส่งอาจสถาปนาคณะผู้แทนทางการทูตโดยมีอุปทูตชั่วคราวเป็นหัวหน้าในแต่ ละรัฐที่หัวหน้าคณะผู้แทนไม่มีที่นั่งทำงานของตนเป็นประจำก็ได้ 3. หัวหน้าคณะผู้แทน หรือบุคคลใดในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายการทูตของคณะผู้แทน อาจกระทำการในฐานะเป็นผู้แทนของรัฐผู้ส่งในองค์การระหว่างประเทศใดก็ได้" [การทูต]
Organization of American Statesคือองค์การของรัฐในสหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 2 กันยายน ค.ศ. 1947 สหรัฐอเมริกา และประเทศต่าง ๆ ในละตินอเมริกา ยกเว้นประเทศนิคารากัวและอีเควดอร์ ได้ตกลงทำสนธิสัญญาระหว่างรัฐในอเมริกาด้วยกัน ณ กรุงริโอเดจาเนโร เพื่อให้ความช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ซึ่งเรียกกันทั่วไปว่า สนธิสัญญาริโอ ประเทศเหล่านั้นต่างมุ่งมั่นที่จะให้ความช่วยเหลือกันอย่างมีประสิทธิผล ถ้าหากรัฐในอเมริกาหนึ่งใดถูกโจมตีด้วยกำลังอาวุธหรือถูกคุกคามจาการรุกราน ต่อมาในเดือนเมษายน ค.ศ. 1948 ได้มีการจัดตั้งองค์การของรัฐอเมริกัน (Organization of American States) ขึ้น ณ กรุงโบโกตา ประเทศโบลิเวีย ประกอบด้วยรัฐต่าง ๆ ในอเมริการวม 21 ประเทศ ยกเว้นประเทศแคนาดา เพื่อดำเนินการให้เป็นผลตามสนธิสัญญาริโอ และจัดวางระบบการรักษาความมั่นคงร่วมกันขึ้น กฎบัตร (Charter) ขององค์การได้มีผลบังคับให้เมื่อวันที่ 13 ธันวาคม ค.ศ. 1951องค์การโอเอเอสนี้ เป็นองค์การส่วนภูมิภาคแห่งหนึ่ง ภายในกรอบของสหประชาชาติ ประเทศสมาชิกต่างปฏิญาณร่วมกันที่จะทำการธำรงรักษากระชับสันติภาพ ตลอดจนความมั่นคงในทวีปอเมริกา เพื่อป้องกันมิให้เกิดเหตุแห่งความยุ่งยากใด ๆ และต้องการระงับกรณีพิพาทที่อาจเกิดขึ้นได้ในระหว่างประเทศสมาชิกด้วยกันโดย สันติวิธี อนึ่ง ถ้าหากมีการรุกรานเกิดขึ้นก็จะมีการปฏิบัติการร่วมกัน นอกจากนี้ ยังจะหาทางระงับปัญญาหาทางการเมือง ทางการศาล และทางเศรษฐกิจ ที่อาจเกิดขึ้นได้ในระหว่างประเทศสมาชิก พร้อมทั้งจะพยายามร่วมกัน ในการหาหนทางส่งเสริมพัฒนาการทางเศรษฐกิจสังคม และวัฒนธรรม สำนักงานใหญ่ขององค์การโอเอเอสตั้งอยู่ ณ กรุงวอชิงตันดีซี นครหลวงของสหรัฐอเมริกา [การทูต]
Palestine Questionปัญหาปาเลสไตน์ เมื่อวันที่ 2 เมษายน ค.ศ. 1947 ประเทศอังกฤษได้ขอให้สมัชชาใหญ่สหประชาชาติ ทำการประชุมสมัยพิเศษเพื่อพิจารณาปัญหาปาเลสไตน์ สมัชชาได้ประชุมกันระหว่างวันที่ 28 เมษายน ถึงวันที่ 15 พฤษภาคม ค.ศ. 1947 และที่ประชุมได้จัดตั้งคณะกรรมการพิเศษเกี่ยวกับปาเลสไตน์ขึ้น ประกอบด้วยผู้แทนจากประเทศสมาชิกรวม 11 ประเทศ ซึ่งหลังจากที่เดินทางไปตรวจสถานการณ์ในภาคตะวันออกกลาง ก็ได้เสนอรายงานเกี่ยวกับปัญหาดังกล่าว รายงานนี้ได้ตั้งข้อเสนอแนะรวม 12 ข้อ รวมทั้งโครงการฝ่ายข้างมาก (Majority Plan) และโครงการฝ่ายข้างน้อย (Minority Plan) ตามโครงการข้างมาก กำหนดให้มีการแบ่งดินแดนปาเลสไตน์ออกเป็นรัฐอาหรับแห่งหนึ่ง รัฐยิวแห่งหนึ่ง และให้นครเยรูซาเล็มอยู่ภายใต้ระบบการปกครองระหว่างประเทศ รวมทั้งให้ดินแดนทั้งสามแห่งนี้มีความสัมพันธ์ร่วมกันในรูปสหภาพเศรษฐกิจ ส่วนโครงการฝ่ายข้างน้อย ได้เสนอให้ตั้งรัฐสหพันธ์ที่เป็นเอกราชขึ้น ประกอบด้วยรัฐอาหรับและรัฐยิว อันมีนครเยรูซาเล็มเป็นนครหลวงต่อมาในวันที่ 29 พฤศจิกายน ค.ศ. 1947 สมัชชาสหประชาชาติได้ประชุมลงมติรับรองข้อเสนอของโครงการฝ่ายข้างมาก ซึ่งฝ่ายยิวได้รับรองเห็นชอบด้วย แต่ได้ถูกคณะกรรมาธิการฝ่ายอาหรับปฏิเสธไม่รับรอง โดยต้องการให้มีการจัดตั้งรัฐอาหรับแต่เพียงแห่งเดียว และทำหน้าที่คุ้มครองสิทธิของคนยิวที่เป็นชนกุล่มน้อย อนึ่ง ตามข้อมติของสมัชชาสหประชาชาติได้กำหนดให้อำนาจอาณัติเหนือดินแดนปาเลสไตน์ สิ้นสุดลงและให้กองทหารอังกฤษถอนตัวออกไปโดยเร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ และอย่างช้าไม่เกินวันที่ 1 สิงหาคม ค.ศ. 1948 นอกจากนั้นยังให้คณะมนตรีภาวะทรัสตีของสหประชาชาติจัดทำธรรมนูญการปกครองโดย ละเอียดสำหรับนครเยรูซาเล็มจากนั้น สมัชชาสหประชาชาติได้ตั้งคณะกรรมาธิการปาเลสไตน์แห่งสหประชาชาติขึ้น ประกอบด้วยประเทศโบลิเวีย เช็คโกสโลวาเกีย เดนมาร์ก ปานามา และฟิลิปปินส์ ทำหน้าที่ปฏิบัติให้เป็นไปตามข้อเสนอแนะของสมัชชา ส่วนคณะมนตรีความมั่นคงก็ได้รับการขอร้องให้วางมาตรการที่จำเป็น เพื่อวินิจฉัยว่า สถานการณ์ในปาเลสไตน์จักถือว่าเป็นภัยคุกคามต่อสันติภาพหรือไม่ และถ้าหากมีการพยายามที่จะใช้กำลังเพื่อเปลี่ยนแปลงความตกลงตามข้อมติของ สมัชชาเมื่อใด ให้ถือว่าเป็นภัยคุกคามต่อสันติภาพ โดยอาศัยข้อ 39 ของกฎบัติสหประชาชาติเป็นบรรทัดฐาน [การทูต]
Parliamentary Diplomacyการทูตแบบรัฐสภา หรือบางครั้งเรียกว่า Organization Diplomacy เช่น การทูตในองค์การสหประชาชาติ การทูตแบบนี้ต่างกับการทูตตามปกติที่ดำเนินกันในนครหลวงของประเทศ กล่าวคือ1. นักการทูตมีโอกาสติดต่อโดยใกล้ชิดกับสื่อมวลชนและกับนัการทูตด้วยกันจาก ประเทศอื่น ๆ รวมทั้งจากประเทศที่ไม่เป็นมิตรภายในองค์การสหประชาติ มากกว่าในนครหลวงของประเทศ แต่มีโอกาสน้อยกว่าที่จะติดต่อกับคนชาติของตนอย่างใกล้ชิด2. การพบปะติดต่อกับบรรดานักการทูตด้วยกันในองค์การสหประชาชาติ จะเป็นไปอย่างเป็นกันเองมากกว่าในนครหลวงของประเทศ3. ในองค์การสหประชาติ ประเทศเล็ก ๆ สามารถมีอิทธิพลในการเจรจากับประเทศใหญ่ ๆ ได้มากกว่าในนครของตน เพราะตามปกติ นักการทูตในนครหลวงมักจะติดต่ออย่างเป็นทางการกับนักการทูตในระดับเดียวกัน เท่านั้น แต่ข้อนี้มิได้ปฏิบัติกันอย่างเคร่งครัดนักในสหประชาชาติ ในแง่การปรึกษาหารือกันระหว่างกลุ่ม ในสมัยก่อนที่สงครามเย็นจะสิ้นสุดในสหประชาชาติได้แบ่งออกเป็น 6 กลุ่ม (Blocs) ด้วยกัน คือกลุ่มเอเชียอัฟริกา กลุ่มเครือจักรภพ (Commonwealth) กลุ่มคอมมิวนิสต์ กลุ่มละตินอเมริกัน กลุ่มยุโรปตะวันตก กลุ่มสแกนดิเนเวีย และกลุ่มอื่น ๆ ได้แก่ ประเทศที่มิได้ผูกพันเป็นทางการกับกลุ่มใด ๆ ที่กล่าวมา อนึ่ง ในส่วนที่เกี่ยวกับสงครามเย็น สมาชิกประเทศในสหประชาชาติจะรวมกลุ่มกันตามแนวนี้ คือ ประเทศนิยมฝักใฝ่กับประเทศฝ่ายตะวันตก (Pro-West members) ประเทศที่นิยมค่ายประเทศคอมมิวนิสต์ (Pro-Communist members) และประเทศที่ไม่ฝักใฝ่กับฝ่ายใด (Non-aligned members)เกี่ยวกับเรื่องการทูตในการประชุมสหประชาชาติ ในสมัยสงครามเย็น นักการทูตชั้นนำของอินเดียผู้หนึ่งให้ข้อวิจารณ์ว่า ไม่ว่าจะเป็นการประชุมพิจารณากัน การทะเลาะเบาะแว้งด้วยคำผรุสวาทหรือการแถลงโผงผางต่อกันนั้น ล้วนเป็นลักษณะที่ตรงกันข้ามกับลักษณะวิสัยของการทูตทั้งสิ้น ดังนั้น สิ่งที่เป็นไปในการประชุมสหประชาชาติ จึงแทบจะเรียกไม่ได้เลยว่าเป็นการทูต เพราะการทูตที่แท้จริงจะกระทำกันด้วยอารมณ์สงบ ใช้ความสุขุมคัมภีรภาพ ปราศจากกามุ่งโฆษณาตนแต่อย่างใด การแสดงต่าง ๆ เช่น สุนทรพจน์และภาพยนตร์นั้นจะต้องมีผู้ฟังหรือผู้ชม แต่สำหรับการทูตจะไม่มีผู้ฟังหรือผู้ชม (Audience) หากกล่าวเพียงสั้น ๆ ก็คือ ผู้พูดในสหประชาชาติมุ่งโฆษณาหาเสียง หรือคะแนนนิยมจากโลกภายนอก แต่ในการทูตนั้น ผู้พูดมุ่งจะให้มีการตกลงกันให้ได้ในเรื่องที่เจรจากันเป็นจุดประสงค์สำคัญ [การทูต]
Personal Diplomacyคือการเจรจากันโดยตรงระหว่างรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงต่างประเทศด้วยกัน ส่วนการเจรจากันโดยตรงระหว่างประมุขของรัฐ หรือหัวหน้าของรัฐบาล แต่เดิมก็จัดอยู่ในประเภทการมทูตส่วนบุคคล แต่มาในปัจจุบันนี้ มักนิยมเรียกกันว่าเป็นทูตแบบสุดยอด (Summit Diplomacy) แยกออกต่างหากจากการทูตส่วนบุคคลมีผู้สังเกตการณ์หลายคนเตือนว่า ในกรณีที่เกิดเรื่องหรือปัญหาที่ยังคาราคาซังอยู่นั้น ไม่ควรหันเข้าใช้วิธีส่งผู้แทนพิเศษจากนครหลวงไปแก้ปัญหา ควรให้เอกอัครราชทูตเป็นผู้ดำเนินการมากกว่า เพราะประการแรก การกระทำเช่นนั้นยังผลเสียหายต่อศักดิ์ศรีของตัวเอกอัครราชทูตเอง ทั้งยังกระทบกระเทือนต่อการที่เขาจะปฏิบัติงานให้ประสบผลอย่างเต็มที่ ระหว่างที่ดำรงตำแหน่งอยู่ในประเทศนั้นในภายหน้าด้วย อีกประการหนึ่ง จะพึงคาดหมายได้อย่างไรว่า ตัวผู้แทนพิเศษที่ส่งไปนั้นจะมีความรอบรู้เกี่ยวกับภูมิหลังของปัญหา รวมทั้งตัวบุคคลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องเท่ากับตัวเอกอัครราชทูตเอง ซึ่งได้ประจำทำงานอยู่ระยะเวลาหนึ่งแล้ว ณ ที่นั่น แม้แต่ แฮโรลด์ นิโคลสัน ก็ไม่เห็นด้วย และได้เตือนว่า การที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของประเทศหนึ่งไปเยือนและพบปะกับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของอีกประเทศหนึ่งบ่อย ๆ นั้น เป็นสิ่งที่ไม่ควรกระทำและไม่ควรสนับสนุน เพราะการกระทำเช่นนี้ นอกจากจะทำให้ประชาชนคาดหมายไปต่าง ๆ นานาแล้ว ยังจะทำให้เกิดเข้าใจผิด และเกิดความสับสนขึ้นมาได้แม้แต่ผู้รอบรู้ในเรื่องธรรมเนียมปฏิบัติทางการ ทูตบางคนก็ยังแคลงใจว่า การทูตแบบสุดยอด (Summit Diplomacy) จะได้ประโยชน์และให้ผลจริง ๆ หรือไม่ นอกจากเฉพาะในกรณียกเว้นจริง ๆ เท่านั้น บ้างเห็นว่า การพบปะเจรจาแบบสุดยอดมักจะกลายสภาพเป็นการโฆษณาเพื่อประชาสัมพันธ์มากกว่า ที่จะเป็นการเจรจากันอย่างแท้จริง เพราะมีอันตรายอยู่ว่า ผู้ร่วมเจรจามักจะแสดงความคิดเห็นตามความรู้สึกมากกว่าตามข้อเท็จจริง เพราะมัวแต่เป็นห่วงและคำนึงถึงประชามติในประเทศของตนมากเกินไปนอกจากนี้ ผู้เจรจาไม่อยู่ในฐานะที่จะให้ข้อลดหย่อนหรือทำการประนีประนอม ( ซึ่งเป็นสิ่งที่จำเป็นยิ่งหากจะให้เจรจาบังเกิดผล) เพราะกลัวเสียหน้าหากกระทำเช่นนั้น ตามปกติ ถ้าให้นักการทูตเป็นผู้เจรจา เขาจะมีโอกาสมากกว่าที่จะใช้วิธีหลบหลีกอันชาญฉลาดในการเจรจาต่อรอง เพื่อให้เป็นผลตามที่มุ่งประสงค์ [การทูต]
persons of concernบุคคลในความห่วงใย หมายถึง ผู้หนีภัยจากการประหัตประหารที่มิได้มีสถานะเป็นผู้ลี้ภัย หรือผู้พลัดถิ่น แต่สำนักงานข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติ (UNHCR) จะดูแลช่วยเหลือโดยมีสถานะพิเศษตามที่ได้ตกลงกับประเทศผู้รับ [การทูต]
Size of Staff of Diplomatic Missionขนาดของคณะผู้แทนทางการทูต โดยพฤตินัย จำนวนคณะผู้แทนทางการทูตจะมีตั้งแต่แห่งละหนึ่งหรือสองคนขึ้นไป จนถึงแห่งละ 100 กว่าคนได้ แต่โดยส่วนเฉลี่ย คณะผู้แทนทางการทูต จะมีจำนวนระหว่าง 12 ถึง 24 คน สำหรับคณะผู้แทนทางการทูตที่ประจำอยู่ในนครหลวงของประเทศใหญ่ๆ เช่น ที่กรุงวอชิงตันดีซี กรุงลอนดอน กรุงปารีส กรุงมอสโก กรุงปักกิ่ง และกรุงโตเกียว เป็นต้น จะมีเจ้าหน้าที่ทูตมากกว่าปกติอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทาง การทูตได้บัญญัติอยู่ในมาตรา 11 ว่า ?1. เมื่อไม่มีความตกลงเฉพาะในเรื่องขนาดของคณะผู้แทน รัฐผู้รับอาจเรียกร้องให้ขนาดของคณะผู้แทนอยู่ในจำนวนจำกัดตามที่ตนเห็นว่า เหมาะหรือเป็นปกติได้ ทั้งนี้ โดยคำนึงถึงพฤติการณ์หรือสภาวการณ์ในรัฐผู้รับ และความจำเป็นของคณะผู้แทนเฉพาะราย 2. ภายในสถานการณ์ที่คล้ายคลึงกัน และบนมูลฐานที่ไม่เลือกปฏิบัติ รัฐผู้รับอาจปฏิเสธได้เช่นเดียวกัน ที่จะยอมรับพนักงานเฉพาะรายประเภทหนึ่งประเภทใดก็ได้? [การทูต]
The Foreign Officeในสมัยก่อน เมื่อสังคมนานาชาติมีสมาชิกประเทศอยู่เพียงไม่กี่แห่ง และการเจริญความสัมพันธ์ระหว่างประเทศก็ไม่มีอะไรที่ยุ่งยากซับซ้อน ดังนั้น ประมุขของรัฐหรือหัวหน้าของรัฐบาลจะเป็นผู้บริหารกิจการต่างประเทศด้วยตนเอง แต่มาในปัจจุบันเป็นไปไม่ได้ที่จะกระทำเช่นนี้ ดังนั้นทุกวันนี้ รัฐบาลของประเทศเกือบจะทุกแห่งจะมีสำนักงานในระดับกระทรวงแยกออกต่างหาก เพื่อดำเนินกิจการต่างประเทศโดยเฉพาะสำนักงานนี้จะมีชื่อเรียกแตกต่างกันใน แต่ละประเทศ เช่นเรียกว่า The Ministry of (หรือ for) Foreign Affairs, The Ministry of External Affairs, The Department of State หรือ The Department of Foreign Affairs หรือ Gaimusho เป็นต้น ส่วนหัวหน้าสำนักงานหรือเจ้ากระทรวงนั้น จะเป็นบุคคลในคณะรัฐมนตรี และเรียกชื่อตำแหน่งต่างๆ กัน เช่น The Secretary of Foreign Affairs, The Minister of External Affairs, The Secretary of State หรือ Foreign Minister หรือ Foreign Secretary ตัวรัฐมนตรีนี้จะมีผู้ช่วย ซึ่งบางตำแหน่งเรียกว่า ปลัดกระทรวง (Under-Secretaries), ผู้ช่วยปลัดกระทรวง (Assistant Under-Secretaries) พร้อมด้วยคณะเจ้าหน้าที่หรือข้าราชการที่ได้ผ่านการฝึกอบรมมาแล้วงาน ของกระทรวงการต่างประเทศ โดยทั่วไปมักจะแบ่งออกเป็นสองฝ่าย ฝ่ายแรกเรียกว่าฝ่ายธุรการ (Home Service) ทำหน้าที่บริหารกิจการต่าง ๆ ภายในประเทศ ซึ่งเกี่ยวกันกับกิจการต่างประเทศ รวมทั้งการติดต่อเกี่ยวข้องกับคณะทูตานุทูต และฝ่ายที่สองเรียกว่า Foreign Service เป็นฝ่ายดำเนินงานเกี่ยวกับกิจการต่างประเทศ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศในต่างแดน อันมีสถานทูต สถานกงสุล และสำนักงานอื่น ๆ เป็นตัวแทน ประกอบด้วยข้าราชการฝ่ายการทูตและฝ่ายวิชาการ ซึ่งประจำทำงานในสถานเอกอัครราชทูต สถานกงสุลและสำนักงานระหว่างประเทศอื่น ๆ แต่ประเทศไทยเรายังมิได้แบ่งออกเป็นสองฝ่ายดังกล่าวตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงการต่างประเทศเป็นตัวกลาง ทำหน้าที่ติดต่อระหว่างประเทศ ส่วนหัวหน้าคณะทูตภายในนครหลวงของแต่ละประเทศจะทำการติดต่อใด ๆ ทั้งหมดกับกระทวงการต่างประเทศของรัฐผู้รับงานภายในกระทรวงการต่างประเทศ โดยทั่วไปจะแบ่งออกเป็นกรม กอง โดยถือตามเขตภูมิศาสตร์ต่าง ๆ เช่น กรมหรือกองการเอเชีย กรมการแอฟริกา กรมการอเมริกัน กรมการยุโรป และอื่น ๆ เป็นต้น นอกจากนั้น ยังมีกรมกองอื่น ๆ ที่ทำหน้าที่ด้านธุรการ และด้านการสื่อสารติดต่อ การประชุม การประสานงานความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ การคลัง การบริการในต่างประเทศ การสารนิเทศ การกฎหมาย การห้องสมุด การหนังสือเดินทาง การบุคลากร การพิธีการทูต การวิจัย การสนธิสัญญา การตรวจลงตรา (Visa) และการสหประชาชาติในปัจจุบันในหลาย ๆ ประเทศ ผู้ที่สมัครขอรับราชการในกระทรวงการต่างประเทศจะต้องมีคุณวุฒิตามที่กระทรวง กำหนด เช่น จะต้องผ่านการสอบไล่ ทั้งในภาคปากเปล่า และข้อเขียน ตลอดจนจะต้องปรากฏตัวต่อหน้าคณะกรรมการสอบไล่ (Board) ซึ่งจะเป็นฝ่ายให้คะแนนบุคลิกและคุณภาพส่วนตัว แล้วนำคะแนนไปบวกกับคะแนนสอบข้อเขียน ในบางแห่งต้องการให้ผู้สมัครสอบเข้ารับการฝึกอบรม และให้อยู่ในระหว่างการทดลองดูความประพฤติ (Probationary period) อีกด้วย [การทูต]
The Great Wonders of Suwannabhumiโครงการสิ่งมหัศจรรย์แห่งสุวรรณภูมิ หมายถึง โครงการพัฒนาการท่องเที่ยวระหว่างกลุ่มประเทศอนุภูมิภาคที่นับถือศาสนาพุทธ อันประกอบด้วย ไทย ลาว กัมพูชา และพม่า โดยร่วมกันจัดรายการนำเที่ยวในโบราณสถานที่สำคัญต่าง ๆ ซึ่งถือว่าเป็นสิ่งมหัศจรรย์ของ 4 ประเทศ ได้แก่ วัดพระศรีรัตนศาสดารามในกรุงเทพฯ นครวัดในกัมพูชา โบราณสถานในพุกาม/มัณฑะเลย์ในพม่า และแขวงหลวงพระบางในลาว เพื่อที่จะดึงดูดชาวต่างชาติให้มาสนใจในดินแดนแห่งนี้ และนำมาซึ่งการพัฒนาสถานที่ดังกล่าว รวมทั้งยังจะเป็นการเชื่อมโยงการเดินทางระหว่าง 4 ประเทศอย่างสมบูรณ์ โครงการนี้เสนอโดย ฯพณฯ ดร. สุรินทร์ พิศสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ และได้รับความเห็นชอบจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศลาว กัมพูชา และพม่า เมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน 2542 ในระหว่างการประชุมสุดยอดอาเซียนอย่างไม่เป็นทางการ ครั้งที่ 3 ที่กรุงมะนิลา [การทูต]
The Nordic Councilองค์การที่ตั้งขึ้นเพื่อทำการปรึกษาหารือกัน ระหว่างรัฐสภาของประเทศเดนมาร์ก ฟินแลนด์ ไอซ์แลนด์ นอร์เวย์ และสวีเดน รวมทั้งรัฐบาลของประเทศเหล่านี้ เกี่ยวกับเรื่องที่จะต้องปฎิบัติร่วมกัน กฎข้อบังคับของคณะรัฐมนตรี (Council) ซึ่งประกอบด้วยประเทศเหล่านี้ ได้มีผลบังคับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1958 คณะมนตรีประกอบด้วยผู้แทนซึ่งได้รับการเลือกตั้ง 69 คน รวมทั้งผู้แทนของรัฐบาลด้วย คณะมนตรีนี้ไม่มีสำนักงานถาวร และไม่มีสำนักเลขาธิการระหว่างประเทศ การประชุมได้กระทำกันโดยหมุนเวียนไปตามนครหลวงของประเทศสมาชิก [การทูต]
Office of the United Nations High Commissioner for Refugeesสำนักงานข้าหลวงใหญ่เพื่อผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติ [การทูต]
Bees, Rockผึ้งหลวง [การแพทย์]

Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
บั้นหลวง[banlūang] (n) EN: banluang [ 1, 000 liter capacity unit ]  FR: banluang [ m ] (unité de capacité équivalant à 1.000 litres)
บาทหลวง[bātlūang] (n) EN: priest ; father  FR: prêtre [ m ] ; père [ m ] ; prêtre catholique [ m ]
บาทหลวง[bātlūang] (n) EN: pastor  FR: pasteur [ m ]
บาทหลวงแคธอลิก[bātlūang khaēthølik] (n, exp) EN: catholic priest  FR: prêtre catholique [ m ]
บัวหลวง[būa lūang] (n, exp) EN: Sacred Lotus ; Lotus
ฉ้อเงินหลวง[chø ngoen lūang] (v, exp) EN: misappropriate public funds
ฉ้อราษฎร์บังหลวง[chørātbanglūang] (v) EN: corrupt ; embezzle ; peculate ; swindle  FR: corrompre ; détourner ; escroquer
ดอกบัวหลวง[døkbūa lūang] (n) EN: lotus  FR: lotus [ m ]
เอื้องแซะหลวง[eūang sae lūang] (n, exp) EN: Dendrobium scabrilingueLindl
ฝนหลวง[fon lūang] (n, exp) EN: artificial rain  FR: pluie artificielle [ f ]
การฉ้อราษฎร์บังหลวง[kān chørātbanglūang] (n) EN: corruption
กฐินหลวง[Kathin Lūang] (n, exp) EN: royal Kathin ceremony
ข้าหลวง[khālūang] (n) EN: governor  FR: gouverneur [ m ]
ข้าหลวงน้อย[khālūang nøi] (n, exp) EN: personal attendant of princes or nobles
ข้าหลวงใหญ่[khālūang yai] (n, exp) EN: governor-general ; High Commissioner
คำมอกหลวง[kham møk lūang] (n, exp) EN: ?  FR: ?
เขตสวนหลวง[Khēt Sūan Lūang] (n, prop) EN: Suan Luang district
ของหลวง[khønglūang] (n, exp) EN: state property ; public property
กุ้งหลวง[kung lūang] (n, exp) EN: giant freshwater prawn ; big-head prawn ; big-head shrimp ; big prawn
เกวียนหลวง[kwīen lūang] (n) EN: unit of capacity for paddy or rice equivalent to 2, 000 liters  FR: charretée [ f ] ; unité de capacité de 2.000 litres utilisée pour le riz
หลวง[Lūang] (n, prop) EN: Luang
หลวง[lūang] (adj) EN: public ; official ; state ; governement  FR: public ; officiel ; étatique ; national
หลวง[lūang] (adj) EN: royal  FR: royal
หลวง[lūang] (adj) EN: great ; big ; superior ; chief  FR: grand
หลวงพ่อ[Lūang Phø] (n, prop) EN: Reverend Father ; venerable bhikku ; elder monk
หลวงปู่[Lūang Pū] (n, prop) EN: Reverend Grand Father
เมืองหลวง[meūanglūang] (n) EN: capital  FR: capitale [ f ]
เมียหลวง[mīa lūang] (n, exp) EN: principal wife  FR: épouse légitime [ f ]
หมอหลวง[mø lūang] (n, exp) EN: royal physician
หม่อมหลวง[mǿmlūang] (n) EN: great-great-grandchild of a king
ในหลวง[Nai Lūang] (n, prop) EN: the King ; His Majesty  FR: le Roi
นครหลวง[nakhønlūang] (n) EN: capital ; metropolis  FR: capitale [ f ]
เงินหลวง[ngoen lūang] (n, exp) EN: public funds  FR: fonds publics [ mpl ] ; argent public [ m ]
นกเขาหลวง[nok khao lūang] (n, exp) EN: Spotted Dove  FR: Tourterelle tigrine [ f ] ; Tourterelle de Chine [ f ] ; Tourterelle à cou maculé [ f ] ; Tourterelle tigrée [ f ]
แผนที่ทางหลวง[phaēnthī thānglūang] (n, exp) EN: road atlas  FR: carte routière [ f ] ; atlas routier [ m ]
แผนที่ทางหลวงประเทศไทย[phaēnthī thāng lūang prathēt Thai] (xp) EN: Thailand road atlas  FR: carte routière de Thaïlande [ f ] ; atlas routier de Thaïlande [ m ]
พันปีหลวง[phanpī lūang] (n, exp) EN: queen dowager
พระอารามหลวง[phra ārām lūang] (n, exp) EN: royal temple
พระราชวังหลวง[Phrarātchawang Lūang] (n, prop) EN: The Royal Palace  FR: Palais Royal
โรงเรียนหลวง[rōngrīen lūang] (n, exp) EN: state school ; government school ; public school
หลวง[Rotfai Lūang] (n, prop) EN: Royal State Railways
สนามหลวง[Sanām Lūang] (n, prop) EN: Sanam Luang ; Royal Plaza  FR: Sanam Luang ; place du Palais royal (Bangkok)
ตลกหลวง[talok lūang] (n, exp) EN: royal jester  FR: bouffon du roi [ m ]
ตำรวจหลวง[tamrūat lūang] (n, exp) EN: palace police ; palace guard ; sergeants at arms in the royal palace
ตำรวจทางหลวง[tamrūat thānglūang] (n, exp) EN: highway police ; highway policeman
ทะเลหลวง[thalē lūang] (n, exp) EN: high sea ; international waters ; ocean  FR: haute mer [ f ] ; eaux internationales [ fpl ]
ธนาคารนครหลวงไทย[Thanākhān Nakhønlūang Thai] (tm) EN: Siam City Bank (SCIB)
ทางหลวง[thānglūang] (n, exp) EN: highway ; state highway ; public road  FR: route nationale [ f ] ; nationale [ f ] ; route principale [ f ] ; grand-route [ f ]
ทางหลวงแผ่นดิน[thānglūang phaendin] (n, exp) FR: route nationale [ f ]
ทางหลวงแผ่นดินสายจังหวัด[thānglūang phaendin sāi jangwat] (n, exp) FR: route provinciale [ f ] ; route départementale [ m ] ; départementale [ f ]

Longdo Approved EN-TH
high sea(n) ทะเลหลวง
Dhaka(n, uniq) ชื่อเมืองหลวงของประเทศบังคลาเทศ, See also: Dacca
father(n) บาทหลวง
catastrophic(adj) ให้ผลหายนะอย่างใหญ่หลวง

NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
abbess(n) บาทหลวงหญิง, See also: หัวหน้าสำนักแม่ชี
Addis Ababa(n) ชื่อเมืองหลวงของประเทศเอธิโอเปีย
alb(n) เสื้อคลุมยาวของบาทหลวง
Bangkok(n) กรุงเทพมหานคร (เมืองหลวงของประเทศไทย), See also: บางกอก, จังหวัดกรุงเทพมหานคร
bishop(n) ตำแหน่งบาทหลวงที่มีอำนาจปกครองบาทหลวงอื่นๆ, See also: แต่มีชั้นต่ำกว่า archbishop ซึ่งเป็นตำแหน่งบาทหลวงสูงสุด, Syn. prelate
boulevard(n) ถนน, See also: ถนนใหญ่, ถนนหลวง, Syn. avenue
Cairo(n) กรุงไคโร, See also: เมืองหลวงของประเทศอียิปต์
Cairo(n) ไคโร, See also: เมืองหลวงของประเทศอียิปต์
Calcutta(n) กัลกัตตา, See also: เมืองหลวงของรัฐเบงกอลในประเทศอินเดีย
Calcutta(n) เมืองกัลกัตตา, See also: เมืองหลวงของรัฐเบงกอลในประเทศอินเดีย
Canberra(n) เมืองหลวงของประเทศออสเตรเลีย, See also: เมืองแคนเบอรา
capital(n) เมืองหลวง, Syn. principal city, capitol, center
cassock(n) เสื้อคลุมของบาทหลวง
chaplain(n) อนุศาสนาจารย์, See also: บาทหลวงในโรงเรียน, โรงพยาบาล, คุกหรือกองทัพ, Syn. clergyman
enthuse about(phrv) ทำให้เกิดศรัทธาอย่างใหญ่หลวงต่อ
enthuse over(phrv) ทำให้เกิดศรัทธาอย่างใหญ่หลวงต่อ
Dacca(n) เมืองดักกาเป็นเมืองหลวงของประเทศบังคลาเทศ, Syn. Dhaka
Edinburgh(n) เมืองเอดินเบิร์ก (เมืองหลวงของสกอตแลนด์)
father(n) พระในศาสนาคริสต์, See also: บาทหลวง, หลวงพ่อ, Syn. cleargyman, chaplain, pastor, Ant. layperson
government funds(n) เงินหลวง, Syn. favoritism
governor(n) ผู้ว่าการรัฐ, See also: ผู้ปกครอง, ข้าหลวง, ผู้ควบคุม, เจ้าเมือง, Syn. director, officer, ruler
Haiti(n) ประเทศสาธารณรัฐใน West Indias มีเมืองหลวงชื่อ Port-au-Prince
Hanoi(n) เมืองฮานอย, See also: ชื่อเมืองหลวงของประเทศเวียดนาม
Hanoi(n) ฮานอย, See also: ชื่อเมืองหลวงของประเทศเวียดนาม
Havana(n) เมืองท่าและเมืองหลวงของคิวบา
high commissioner(n) ข้าหลวงใหญ่, See also: เอกอัคราชทูต, Syn. ambassador, envoy, legate
high seas(n) ทะเลหลวง
highway(n) ทางหลวง, See also: ทางสายใหญ่, ทางคมนาคมสายสำคัญ, Syn. main artery, main road
Highways Department(n) กรมทางหลวง
intendant(n) ผู้ควบคุมดูแล, See also: ผู้ตรวจการณ์, ผู้อำนวยการ, ข้าหลวง
interstate(n) โครงข่ายทางหลวงที่เชื่อมรัฐต่างๆ โดยเฉพาะในอเมริกา, Syn. interstate highway
Islamabad(n) ชื่อเมืองหลวงของปากีสถาน, See also: กรุงอิสลามาบัด
labour under a delusion(idm) ทำผิดพลาดอย่างใหญ่หลวง, Syn. be under
labour under mis apprehension(idm) ทำผิดพลาดอย่างใหญ่หลวง, Syn. be under
labour under misunderstanding(idm) ทำผิดพลาดอย่างใหญ่หลวง, Syn. be under
Jakarta(n) กรุงจาการ์ตา, See also: เมืองหลวงของประเทศอินโดนีเซีย, Syn. Djakarta, Jacarta
Jakarta(n) จาการ์ตา, See also: เมืองหลวงของอินโดนีเซีย, Syn. Djakarta, Jacarta
jobbery(n) การทุจริต, See also: การทำกิจธุระของหลวงโดยแสวงหาผลประโยชน์ใส่ตัว
Juneau(n) ชื่อเมืองท่าและเมืองหลวงของรัฐอลาสกา
Kabul(n) คาบูล, See also: เมืองหลวงของประเทศอัฟกานิสถาน
Kabul(n) เมืองคาบูล, See also: เมืองหลวงของประเทศอัฟกานิสถาน
Kathmandu(n) กาตมันดุ, See also: เมืองหลวงของประเทศเนปาล, Syn. Katmandu
Kathmandu(n) เมืองกาตมันดุ, See also: เมืองหลวงของประเทศเนปาล, Syn. Katmandu
Katmandu(n) กาตมันดุ, See also: เมืองหลวงของประเทศเนปาล, Syn. Kathmandu
Katmandu(n) เมืองกาตมันดุ, See also: เมืองหลวงของประเทศเนปาล, Syn. Kathmandu
Khartoum(n) กาทูม, See also: เมืองหลวงของประเทศซูดาน
Khartoum(n) เมืองกาทูม, See also: เมืองหลวงของประเทศซูดาน
Kingston(n) เมืองคิงสตัน, See also: เมืองหลวงของประเทศจาไมก้า
largely(adv) อย่างมากมาย, See also: อย่างใหญ่โต, อย่างใหญ่หลวง, อย่างมหาศาล, Syn. much
lie(vi) หลอกหลวง, See also: หลอก, Syn. deceive

Hope Dictionary
abbe(แอเบ' แอบ' เบ) (pl. abbes) n. บาทหลวง, อธิการ, ตำแหน่งพระ (abbot)
abp.abbr. archbishop. (หัวหน้าบาทหลวงเจ้าคณะ)
accra(แอคค' คระ, อะครา') n. เมืองท่าและเมืองหลวงของประเทศกานา (Akkra)
acolyte(แอค' โคไลทฺ) n. เด็กผู้ช่วยขาดหลวงทำพิธี, พระในนิกายดรมันคาทอลิก
addis ababaแอด' ดิส, แอบ' บะบา) ชื่อเมืองหลวงของเอธิโอเปีย (capital of Ethiopia)
agana(อากา' นะ) n. ชื่อเมืองท่าและเมืองหลวงของกวม (Guam)
ajaccio(อายาท' ชอ) เมืองท่าและเมืองหลวงของ Corsica , เมืองเกิดของนโปเลียนมหาราช
alb(แอลบ) n. เสื้อคลุมแขนยาวขาดบาทหลวง abbr. albumin
alderman(ออล' เดอเมิน) n., (pl. -men) เทศมนตรี, สมาชิกสภาเทศบาล, ข้าหลวงใหญ่.
algiers(แอลเจิซ') ชื่อเมืองท่าและเมืองหลวงของอัลจีเรีย (capital of Algeria)
annapolis(อะแนพ' โพลิส) n. ชื่อเมืองท่าและเมืองหลวงของรัฐแมรีแลนด์
archbishop(อาร์ค'บิเชิพ) n. หัวหน้า bishop หัวหน้าบาทหลวง (chief bishop)
archdeacon(อาร์คดี'คัน) n. ตำแหน่งพระคริสเตียนที่อยู่ถัดลงไปจาก bishop, รองบาทหลวง -archdeaconate, archdeaconry, archdeaconship n. (an ecclesiastic)
assize(อะไซซ') n. สภานิติบัญญัติ, ศาลอังกฤษที่พิจารณาความโดยข้าหลวงพิเศษ, คำสั่งหรือคำพิพากษาของศาลชนิดนี้, การไตร่สวน, การนั่งพิจารณาคดี, มาตราการกำหนดราคาสินค้า
athens(แอธ'เธน') n. กรุงเอเธนส์ซึ่งเป็นเมืองหลวงของกรีก (capital of Greece)
augur(ออ'เกอะ) n. หมอดู, โหรหลวง, ผู้ทำนาย
autocephalous(ออโทเซฟ'ฟะลัส) adj. ซึ่งมีหัวหน้าบาทหลวงของตัวเอง having its own head
babylon(แบบ'บิลอน) n. เมืองหลวงของBabylonis โบราณ, เมืองที่มีความหรูหราฟุ่มเฟือยและชั่วร้าย
bagdad(แบก'แดด) n. เมืองหลวงของอิรัก
baghdad(แบก'แดด) n. เมืองหลวงของอิรัก
belgrade(เบลเกรด') n. ชื่อเมืองหลวงของยูโกสลาเวีย, Syn. Beograd
benefice(เบน'นิฟิส) n. ตำแหน่งที่มีรายได้, ตำแหน่งบาทหลวงที่มีเงินเดือน, ตำแหน่งพระสอนศาสนา, ที่ดินที่ให้ครอบครอง
bern(เบิร์น) n. เมืองหลวงของประเทศสวิสเซอร์แลนด์
berne(เบิร์น) n. เมืองหลวงของประเทศสวิสเซอร์แลนด์
bishop(บิช'เชิพ) n. หัวหน้าบาทหลวง, สังฆนายก, ตัวหมากรุกฝรั่งที่เทียบเท่ากับโคนของหมากรุกไทย, See also: bishopric adj. ดูbishop
black coatn. บาทหลวง
brother(บรา'เธอะ) n. พี่ชายหรือน้องชาย, พี่น้องร่วมชาติ, เพื่อนร่วมงาน, บุคคลร่วมอาชีพ, บาทหลวง, ภราดร, เจษฎาจารย์
brussels(บรัส'เซิลซ) n. ชื่อเมืองหลวงของเบลเยี่ยม
budapest(บู'ดะเพส) n. ชื่อเมืองหลวงของฮังการี่
buenos aires(บเว'นัส แอ' ริซ) n. ชื่อเมืองหลวงของอาเจนตินา
canberran. ชื่อเมืองหลวงของออสเตรเลีย
capital(แคพ'พิเทิล) n. เมืองหลวง, ตัวเขียนใหญ่, ทุน, พวกนายทุน, หัวเสา, ยอดเสา adj. เกี่ยวกับทุน, สำคัญมาก, พื้นฐาน, เกี่ยวกับเมืองหลวง, เกี่ยวกับการสูญเสียชีวิต, มีโทษถึงตาย -Conf. capitol
capitular(คะพิช'ชุลาร) adj. มีลักษณะของหัว, เกี่ยวกับคณะบาทหลวง
caracas(คะรา'คัส) n. ชื่อเมืองหลวงของเวนิซูเอลลา
cassockn. เสื้อคลุมสีดำของบาทหลวง, บาทหลวง, ตำแหน่งบาทหลวง
churchman(เชิร์ชฺ'เมิน) n. พระ, บาทหลวง, สมาชิกโบสถ์, สมาชิกศาสนาประจำชาติ, See also: churchmanship n.
cloverleafn. ชุมทางหลวงที่ตัดกันเป็นรูปดอกจิก adj. คล้ายใบต้นหญ้า
copenhagen(โคเพนเฮ'เกิน) n. เมืองท่าและเมืองหลวงของเดนมาร์ก
corruption(คะรัพ'เชิน) n. ความเน่าเปื่อย, ความชั่ว, ฉ้อราษฎร์บังหลวง, การใช้ศัพท์ผิด, คำผิด, คำแผลง, ความทุจริต, Syn. putridity, immorality, dishonesty
dacca(แดค'คะ) n. ชื่อเมืองหลวงบังคลาเทศ
damascus(ดะแมส'คัส) n. ชื่อเมืองหลวงของซีเรีย
djakarta(จะคาร์'ทะ) n. ชื่อเมืองหลวงของอินโดนีเซีย. -S.. Jacarta, Jakarta, Batavia
dominie(ดอม'มะนี) n. ครู, พระ, บาทหลวง
gammon(แกม'มัน) n., vt. (การ) ชนะโดยเด็ดขาด, (การ) ชนะเกมหมาก backgammon, ขาหมูอบควัน, ขาหมูหลัง vi., n. (การ) พูดจาเหลวไหลและหลวงลวง, แสร้ง. vt. โกง, หลอกลวง, ตบตา, See also: gammoner n.
gentleman-at-armsn. ตำรวจหลวง, องครักษ์กษัตริย์อังกฤษ
governor(กัฟ'เวิร์นเนอะ) n. ข้าหลวง, ผู้ว่าราชการ, ผู้ปกครอง, Syn. supervisor, director
governorshipn. ตำแหน่งข้าหลวง, อำนาจและหน้าที่ของข้าหลวง
gubernatorial(กูเบอนะทอ'เรียล) adj. เกี่ยวกับ (ที่ทำการ) ข้าหลวงหรือผู้ว่าการรัฐ
hakim(ฮา'คิม) n. คนที่ฉลาด, นักปราชญ์, บัณฑิต, แพทย์, ผู้ปกครอง, ข้าหลวง, ผู้พิพากษา
havana(ฮะแวน'นะ) เมืองท่าและเมืองหลวงของคิวบา, บุหรี่ซิการ์ของคิวบา

Nontri Dictionary
archbishop(n) หัวหน้าบาทหลวง, พระสันตปาปา
archdeacon(n) ผู้ช่วยบาทหลวง
avenue(n) ถนนหลวง
bishopric(adj) เกี่ยวกับหัวหน้าบาทหลวง
boulevard(n) ถนนหลวง, ถนนใหญ่
brother(n) พี่ชาย, น้องชาย, พี่น้อง, เพื่อนร่วมงาน,  บาทหลวง
capital(n) เมืองหลวง, นครหลวง, ทุนทรัพย์, เงินทุน
causeway(n) ทางหลวง
clergyman(n) พระคริสต์, หมอสอนศาสนา, บาทหลวง, พระ, สาธุคุณ
commissioner(n) ข้าหลวง, เจ้าหน้าที่, อธิบดี, ผู้ตรวจการ, กรรมาธิการ, กรรมการ
corrupt(vt) ทำให้เลว, ติดสินบน, ฉ้อราษฎร์บังหลวง, ทำให้เน่าเปื่อย
corruption(n) ความทุจริต, การรับสินบน, การติดสินบน, การฉ้อราษฎร์บังหลวง
crown(n) มงกุฎ, มาลัย, เครื่องประดับศีรษะ, ราชวงศ์, กษัตริย์, หลวง
episcopal(adj) เกี่ยวกับบาทหลวง, ปกครองโดยบาทหลวง
fake(n) การกุเรื่องขึ้น, การอุปโลกน์, การปลอมแปลง, การหลอกหลวง
father(n) พ่อ, บิดา, ผู้ก่อตั้ง, ผู้ปกครอง, หลวงพ่อ, บาทหลวง
frock(n) เสื้อนอก, เสื้อกระโปรงติดกัน, เสื้อคลุมของบาทหลวง
governor(n) ผู้ปกครอง, เจ้าเมือง, ข้าหลวง, ผู้ว่าราชการจังหวัด
graft(n) กิ่งตอน, การติดสินบน, การรับสินบน, การฉ้อราษฎร์บังหลวง
graft(vt) ตอนกิ่ง, ทาบกิ่ง, ติดสินบน, ฉ้อราฎร์บังหลวง, รับสินบน, กินสินบน
grand(adj) ใหญ่โต, ใหญ่หลวง, หรูหรา, สำคัญ, ยิ่งใหญ่, มหึมา, ชั้นหนึ่ง, ดีเยี่ยม
great(adj) ใหญ่, ยิ่งใหญ่, สำคัญ, ใหญ่โต, ประเสริฐ, เบ้อเร่อ, เขื่อง, ใหญ่หลวง, มาก
HIGH high seas(n) ท้องทะเลหลวง, ทะเลลึก
highroad(n) ถนนหลวง, ทางหลวง
highway(n) ทางหลวง, ถนนไฮเวย์
intendant(n) ผู้จัดการ, เจ้าหน้าที่, ข้าหลวง, ผู้ตรวจการ, ผู้ดูแล
lotus(n) บัวหลวง
main(n) ท่อน้ำใหญ่, สายไฟใหญ่, ถนนสายใหญ่, ทะเลหลวง
metropolis(n) พระนคร, นครหลวง, เมืองหลวง, เมืองใหญ่
metropolitan(adj) เกี่ยวกับพระนคร, เกี่ยวกับนครหลวง
parson(n) บาทหลวง, พระ, นักเทศน์
pastor(n) พระ, บาทหลวง
pastoral(adj) เกี่ยวกับบาทหลวง, เกี่ยวกับพระ
patriarch(n) พระราชาคณะ, พระสังฆราช, บาทหลวง, หัวหน้าครอบครัว, ปรมาจารย์, ผู้เฒ่า
patriarchal(adj) เกี่ยวกับบาทหลวง, เกี่ยวกับหัวหน้าครอบครัว
prelate(n) เจ้าอาวาส, พระราชาคณะ, บาทหลวงชั้นสูง
priest(n) พระ, ภิกษุ, บาทหลวง
public(adj) สาธารณะ, ของประชาชน, เพื่อประชาชน, ของหลวง, ของรัฐบาล, โดยส่วนรวม
regent(n) อุปราช, ผู้สำเร็จราชการ, ข้าหลวง
reverend(n) พระ, บาทหลวง
royal(adj) เกี่ยวกับเจ้า, หลวง, ดีเลิศ, เยี่ยม, ชั้นหนึ่ง
royalty(n) เจ้านาย, ราชย์, พระบรมเดชานุภาพ, ความสูงส่ง, เงินส่วนแบ่ง, ค่าภาคหลวง
shepherd(n) คนเลี้ยงแกะ, พระ, บาทหลวง
thoroughfare(n) ทางสัญจร, ทางผ่าน, ถนนหลวง
verger(n) คนดูแลโบสถ์, คนถือไม้นำหน้าบาทหลวง

Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
ASRoma(name) เป็นสโมสรฟุตบอลชั้นนำของอิตาลี ตั้งอยู่ในกรุงโรมเมืองหลวงของประเทศอิตาลี
Bangkok[แบง ค๊อก] (n) กรุงเทพ เมืองหลวงของประเทศไทย
biretta(n) หมวกสี่เหลี่ยมชนิดหนึ่งที่มีส่วนตั้งขึ้น 3 ส่วนของบาทหลวงชาวโรมันคาทอลิก
British Deputy High Commissionรองข้าหลวงใหญ่แห่งสหราชอาณาจักร
commissionerข้าหลวง
court jester(n) ตัวตลกวังหลวง
deacon(n) ผู้ช่วยบาทหลวง
Deputy Governorรองข้าหลวง เป็นตำแหน่งข้าราชการพลเรือนฝ่ายปกครองในดินแดนของสหราชอาณาจักร ตำแหน่งนี้ปรากฎเฉพาะอาณานิคมในทวีปอเมริกาเหนือ เทียบได้ตำแหน่งผู้ช่วยข้าหลวง (Lieutenant-Governor) ในอาณานิคมอื่นๆ
fools capหมวกชนิดหนึ่งมีลูกพรวน ซึ่งตลกหลวงในสมัยก่อนสวมใส่, กระดาษเขียนหนังสือมีบรรทัด พับสองทบได้
Governor-general(n) ข้าหลวงต่างพระองค์ในดินแดนของอังกฤษ
Governor-General(n) ข้าหลวงสำเร็จราชการ
high commission(n) สถานข้าหลวงใหญ่ (หน่วยงานเทียบเท่าสถานเอกอัครราชทูต)
Imperial Household Agency(org) สำนักพระราชวังหลวง เป็นฝ่ายบริหารจัดการส่วนราชวงศ์ญี่ปุ่น
Imperial Palace(n) พระราชวังหลวง
Lieutenant-Governorผู้แทนข้าหลวง เป็นตำแหน่งข้าราชการพลเรือนฝ่ายปกครองในดินแดนของสหราชอาณาจักร
M.L.(abbrev) หม่อมหลวง
Prague[ปราก] (n) ชื่อเมืองหลวงของสาธารณรัฐเช็ก
privateer(n) สลัดหลวง
Reykjavik(n) เมืองหลวงประเทศ Iceland
Siam City Bank(org) ธนาคารนครหลวงไทย
yangon(n) ย่างกุ้ง (เมืองหลวงประเทศพม่า)

Longdo Approved JP-TH
牧師[ぼくし, bokushi] (n) บาทหลวง, ผู้สอนศาสนา
首都[しゅと, shuto] (n) เมืองหลวง

Longdo Unapproved JP-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
上京[じょうきょう, joukyou] 1.การไปโตเกียว 2.การไปเมืองหลวง

Saikam JP-TH-EN Dictionary
[みやこ, miyako] TH: เมืองหลวง  EN: capital
東京[とうきょう, toukyou] TH: โตเกียว(เมืองหลวงปัจจุบันของประเทศญี่ปุ่น)  EN: Tokyo (pl)
京都[みやこ, miyako] TH: เมืองหลวง

Longdo Approved DE-TH
Berlinกรุงเบอร์ลิน เมืองหลวงของเยอรมนี
Bonnเมืองบอนน์ เมืองหลวงของเยอรมันตะวันตกในสมัยก่อน
Hauptstadt(n) |die, pl. Hauptstädte| เมืองหลวง
Moskauกรุงมอสโคว์ เมืองหลวงของรัสเซีย
Korruption(n) |die, pl. Korruptionen| การโกงกินบ้านเมือง, การคอรัปชั่น, ความทุจริต, การรับสินบน, การติดสินบน, การฉ้อราษฎร์บังหลวง เช่น Das Wichtigste ist es derzeit meiner Ansicht nach, Ordnung zu schaffen, die Arbeitslosigkeit zu bekämpfen und gegen Korruption vorzugehen., Syn. die Bestechung

Time: 0.8313 secondsLongdo Dict -- https://dict.longdo.com/