29 ผลลัพธ์ สำหรับ *สอบไล่*
หรือค้นหา: สอบไล่, -สอบไล่-

NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
สอบไล่(n) final examination, Syn. สอบปลายภาค
สอบไล่(v) take the final exam, Syn. สอบปลายภาค, Example: เมื่อสอบไล่เสร็จแล้ว เขาบอกผมว่า ปีหน้าเขาจะไม่เรียนต่อ, Thai Definition: สอบทดลองความรู้เป็นครั้งสุดท้ายในภาคเรียนหนึ่งๆ หรือปีการศึกษาหนึ่งๆ ว่าได้ตามมาตรฐานหรือไม่

พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
สอบไล่ก. สอบความรู้ที่เล่าเรียนมาว่าได้ตามมาตรฐานของหลักสูตรแต่ละขั้นหรือทั้งหมด.
คาบเส้นก. อยู่ตรงเกณฑ์ที่กำหนดพอดี เช่น สอบไล่ได้คะแนนคาบเส้น.
ประเมินผลวัดคุณค่าหรือผลความก้าวหน้าการศึกษา เช่น การสอบไล่เป็นวิธีประเมินผลการศึกษาวิธีหนึ่ง.
ปริญญาชั้นความรู้ขั้นมหาวิทยาลัยซึ่งประสาทให้แก่ผู้ที่สอบไล่ได้ตามที่กำหนดไว้, ถ้าประสาทแก่ผู้ทรงวิทยาคุณหรือผู้มีเกียรติตามที่เห็นสมควร เรียกว่า ปริญญากิตติมศักดิ์.
มหา ๒น. สมณศักดิ์ที่ใช้นำหน้าชื่อภิกษุผู้ที่สอบไล่ได้ตั้งแต่เปรียญธรรม ๓ ประโยคขึ้นไป.
แม่กองธรรมสนามหลวงน. พระเถระผู้มีหน้าที่รับผิดชอบในการสอบไล่พระปริยัติธรรม แผนกนักธรรมและธรรมศึกษาของคณะสงฆ์.
แม่กองบาลีสนามหลวงน. พระเถระผู้มีหน้าที่รับผิดชอบในการสอบไล่พระปริยัติธรรม แผนกบาลีของคณะสงฆ์.
ลูกผีลูกคนว. หวังเป็นที่แน่นอนยังไม่ได้, มักใช้ในกรณีสำคัญ ๆ เช่น เด็กที่เกิดใหม่จะรอดหรือไม่ ยังเป็นลูกผีลูกคนอยู่ การสอบไล่ครั้งนี้ ยังเป็นลูกผีลูกคนอยู่.
โล่งใจก. รู้สึกสบายใจ, หายอึดอัดใจ, เช่น สอบไล่เสร็จ ค่อยโล่งใจหน่อย.
ไล่หนังสือก. สอบไล่.
สนามสอบน. สถานที่สำหรับจัดสอบไล่หรือสอบคัดเลือก.
สนามหลวงน. สถานซึ่งกำหนดให้เป็นที่สอบไล่นักธรรมและบาลี ในคำว่า สอบธรรมสนามหลวง สอบบาลีสนามหลวง.
สอบซ้อมก. ทดสอบความรู้ก่อนสอบไล่ (ใช้ในโรงเรียน).
อนุปริญญา(อะนุปะรินยา) น. ชั้นความรู้ระดับอุดมศึกษารองจากปริญญาตรี ซึ่งประสาทให้แก่ผู้ที่สอบไล่ได้ตามหลักสูตรที่กำหนดไว้.

คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
The Foreign Officeในสมัยก่อน เมื่อสังคมนานาชาติมีสมาชิกประเทศอยู่เพียงไม่กี่แห่ง และการเจริญความสัมพันธ์ระหว่างประเทศก็ไม่มีอะไรที่ยุ่งยากซับซ้อน ดังนั้น ประมุขของรัฐหรือหัวหน้าของรัฐบาลจะเป็นผู้บริหารกิจการต่างประเทศด้วยตนเอง แต่มาในปัจจุบันเป็นไปไม่ได้ที่จะกระทำเช่นนี้ ดังนั้นทุกวันนี้ รัฐบาลของประเทศเกือบจะทุกแห่งจะมีสำนักงานในระดับกระทรวงแยกออกต่างหาก เพื่อดำเนินกิจการต่างประเทศโดยเฉพาะสำนักงานนี้จะมีชื่อเรียกแตกต่างกันใน แต่ละประเทศ เช่นเรียกว่า The Ministry of (หรือ for) Foreign Affairs, The Ministry of External Affairs, The Department of State หรือ The Department of Foreign Affairs หรือ Gaimusho เป็นต้น ส่วนหัวหน้าสำนักงานหรือเจ้ากระทรวงนั้น จะเป็นบุคคลในคณะรัฐมนตรี และเรียกชื่อตำแหน่งต่างๆ กัน เช่น The Secretary of Foreign Affairs, The Minister of External Affairs, The Secretary of State หรือ Foreign Minister หรือ Foreign Secretary ตัวรัฐมนตรีนี้จะมีผู้ช่วย ซึ่งบางตำแหน่งเรียกว่า ปลัดกระทรวง (Under-Secretaries), ผู้ช่วยปลัดกระทรวง (Assistant Under-Secretaries) พร้อมด้วยคณะเจ้าหน้าที่หรือข้าราชการที่ได้ผ่านการฝึกอบรมมาแล้วงาน ของกระทรวงการต่างประเทศ โดยทั่วไปมักจะแบ่งออกเป็นสองฝ่าย ฝ่ายแรกเรียกว่าฝ่ายธุรการ (Home Service) ทำหน้าที่บริหารกิจการต่าง ๆ ภายในประเทศ ซึ่งเกี่ยวกันกับกิจการต่างประเทศ รวมทั้งการติดต่อเกี่ยวข้องกับคณะทูตานุทูต และฝ่ายที่สองเรียกว่า Foreign Service เป็นฝ่ายดำเนินงานเกี่ยวกับกิจการต่างประเทศ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศในต่างแดน อันมีสถานทูต สถานกงสุล และสำนักงานอื่น ๆ เป็นตัวแทน ประกอบด้วยข้าราชการฝ่ายการทูตและฝ่ายวิชาการ ซึ่งประจำทำงานในสถานเอกอัครราชทูต สถานกงสุลและสำนักงานระหว่างประเทศอื่น ๆ แต่ประเทศไทยเรายังมิได้แบ่งออกเป็นสองฝ่ายดังกล่าวตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงการต่างประเทศเป็นตัวกลาง ทำหน้าที่ติดต่อระหว่างประเทศ ส่วนหัวหน้าคณะทูตภายในนครหลวงของแต่ละประเทศจะทำการติดต่อใด ๆ ทั้งหมดกับกระทวงการต่างประเทศของรัฐผู้รับงานภายในกระทรวงการต่างประเทศ โดยทั่วไปจะแบ่งออกเป็นกรม กอง โดยถือตามเขตภูมิศาสตร์ต่าง ๆ เช่น กรมหรือกองการเอเชีย กรมการแอฟริกา กรมการอเมริกัน กรมการยุโรป และอื่น ๆ เป็นต้น นอกจากนั้น ยังมีกรมกองอื่น ๆ ที่ทำหน้าที่ด้านธุรการ และด้านการสื่อสารติดต่อ การประชุม การประสานงานความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ การคลัง การบริการในต่างประเทศ การสารนิเทศ การกฎหมาย การห้องสมุด การหนังสือเดินทาง การบุคลากร การพิธีการทูต การวิจัย การสนธิสัญญา การตรวจลงตรา (Visa) และการสหประชาชาติในปัจจุบันในหลาย ๆ ประเทศ ผู้ที่สมัครขอรับราชการในกระทรวงการต่างประเทศจะต้องมีคุณวุฒิตามที่กระทรวง กำหนด เช่น จะต้องผ่านการสอบไล่ ทั้งในภาคปากเปล่า และข้อเขียน ตลอดจนจะต้องปรากฏตัวต่อหน้าคณะกรรมการสอบไล่ (Board) ซึ่งจะเป็นฝ่ายให้คะแนนบุคลิกและคุณภาพส่วนตัว แล้วนำคะแนนไปบวกกับคะแนนสอบข้อเขียน ในบางแห่งต้องการให้ผู้สมัครสอบเข้ารับการฝึกอบรม และให้อยู่ในระหว่างการทดลองดูความประพฤติ (Probationary period) อีกด้วย [การทูต]

Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
การสอบไล่[kān søplai] (n) FR: examen [ m ]
สอบไล่[søplai] (n) EN: final examination  FR: examen final [ m ] ; épreuve finale [ f ]
สอบไล่[søplai] (v, exp) EN: take a final examination ; sit for an examination ; examine  FR: interroger ; examiner ; passer un examen
สอบไล่ได้[søplai dai] (v, exp) EN: pass a final examination  FR: réussir un examen
สอบไล่ตก[søplai tok] (v, exp) EN: fail a final exam  FR: échouer à un examen ; rater un examen

Longdo Approved EN-TH
final examination(n) สอบไล่ (การสอบปลายภาคการศึกษา)

NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
pass(vt) สอบผ่าน, See also: สอบไล่ได้, Syn. achieve, accomplish, Ant. fail, funk
passed(adj) สอบไล่ได้, See also: สอบผ่าน, Syn. complete, Ant. failed

Hope Dictionary
flunk(ฟลังคฺ) { flunked, flunking, flunks } v. ล้มเหลว, สอบตก, สอบไล่ตก

Nontri Dictionary
paper(n) กระดาษ, ใบปลิว, เอกสาร, ข้อสอบไล่, หนังสือพิมพ์
sit(vi) นั่ง, นั่งพิจารณาความ, เข้าสอบไล่, ประชุม, พักผ่อน

Longdo Approved DE-TH
Abschlussprüfung(n) |die, pl. Abschlussprüfungen| สอบไล่, สอบจบ, การสอบจบการศึกษา,

Time: 0.7909 secondsLongdo Dict -- https://dict.longdo.com/