พิกัดอัตราศุลกากร | น. กำหนดอัตราเพื่อคำนวณเงินอากรที่เรียกเก็บจากของที่ส่งหรือพาออกไปนอกราชอาณาจักร เรียกว่า อากรขาออก หรือของที่นำหรือพาเข้ามาในราชอาณาจักร เรียกว่า อากรขาเข้า. |
ศุลก- | (สุนละกะ-) ว. เนื่องด้วยการเก็บอากรจากสินค้าขาเข้าและขาออก. |
ศุลกากร | (สุนละกากอน) น. อากรที่เรียกเก็บจากสินค้าเข้าและสินค้าออก ได้แก่ อากรขาเข้าและอากรขาออก |
ศุลกากร | ชื่อกรมที่มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการจัดเก็บภาษีอากรจากของที่นำเข้ามาและส่งออกไปนอกราชอาณาจักร และพัฒนาส่งเสริมด้านการค้าระหว่างประเทศและการส่งออก. |
ศุลการักษ์ | (สุนละการัก) น. เจ้าหน้าที่รักษาศุลกากร. |
ศุลกากร | ดู ศุลก-. |
ศุลการักษ์ | ดู ศุลก-. |
คลังสินค้าทัณฑ์บน | น. สถานที่ซึ่งอธิบดีกรมศุลกากรอนุมัติและกำหนดให้เป็นสถานที่ตรวจและเก็บของซึ่งมีผู้นำเข้ามาในราชอาณาจักร โดยยังไม่ต้องชำระอากรขาเข้า. |
ด่าน | น. ที่สำหรับกัก ตรวจ คอยระวังเหตุ และป้องกันช่องทางที่จะผ่านเข้าออก เช่น ด่านตรวจคนเข้าเมือง ด่านศุลกากร ด่านกักสัตว์ |
ใบขนสินค้า | น. เอกสารแสดงรายการสินค้า อันได้แก่ ชนิด คุณภาพ ปริมาณ นํ้าหนัก ราคาศุลกากร ซึ่งผู้นำของเข้าหรือผู้ส่งของออกต้องยื่นต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ เมื่อนำของใด ๆ เข้ามาในประเทศ หรือส่งของใด ๆ ออกนอกประเทศ. |
ใบเบิกร่อง | น. เอกสารที่กรมศุลกากรออกให้แก่เรือที่มีระวางจดทะเบียนตํ่ากว่า ๒๐๐ ตัน ที่ออกจากท่าเรือกรุงเทพฯ เพื่อส่งมอบให้แก่พนักงานเจ้าหน้าที่เมื่อนำเรือผ่านด่านศุลกากรที่ปากนํ้าสมุทรปราการ. |
พนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจ | น. เจ้าพนักงานซึ่งกฎหมายให้มีอำนาจและหน้าที่รักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน ซึ่งรวมถึงพัศดี เจ้าพนักงานกรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมเจ้าท่า พนักงานตรวจคนเข้าเมือง และเจ้าพนักงานอื่น ๆ ในเมื่อทำการอันเกี่ยวกับการจับกุมปราบปรามผู้กระทำผิดกฎหมาย ซึ่งตนมีหน้าที่ต้องจับกุมหรือปราบปราม. |
สหภาพ | น. การรวมตัวขององค์การตั้งแต่ ๒ องค์การขึ้นไป เพื่อทำกิจการทั่วไปหรือกิจการเฉพาะอย่างตามวัตถุประสงค์ขององค์การที่เข้าร่วมกันนั้น เช่น สหภาพศุลกากร สหภาพรัฐสภา |
สุงกากร | น. ศุลกากร, ค่าอากรที่เรียกเก็บจากสินค้าขาเข้าและขาออก. |
ออกของ | ก. ติดต่อขอรับสิ่งของที่ส่งมาจากต่างประเทศจากกรมศุลกากร เช่น ไปออกของที่กรมศุลกากร. |
list, free | รายการสินค้าที่ยกเว้นภาษีศุลกากร [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
manifest | ๑. ประกาศเป็นทางการ (ก. ปกครอง)๒. คำแสดง (ก. ศุลกากร) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Custom(s) House (E.); customhouse (A.) | ศุลกสถาน, ที่ทำการศุลกากร [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Custom(s) House (E.); customhouse (A.) | ศุลกสถาน, ที่ทำการศุลกากร [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
customs tariff | พิกัดอัตราศุลกากร [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
customs tariff | พิกัดอัตราศุลกากร [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
customs union | สหภาพศุลกากร [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
customs union | สหภาพศุลกากร [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
clearance | การตรวจผ่านทางศุลกากร [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
customhouse (A.); Custom(s) House (E.) | ศุลกสถาน, ที่ทำการศุลกากร [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
customs; customs duty | อากรศุลกากร [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Customs and Excise bonds | กรมธรรม์ค้ำประกันศุลกากรและอากรสรรพสามิต [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
customs duty; customs | อากรศุลกากร [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
customs duty | อากรศุลกากร [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
container | ตู้บรรทุก, ตู้สินค้า (ก. ศุลกากร) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
declaration | ๑. ปฏิญญา (ก. ปกครอง และ ก. ระหว่างประเทศ)๒. การประกาศ, การแสดง (ก. แพ่ง)๓. การสำแดง (ศุลกากร) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
declaration | ๑. คำประกาศ, ปฏิญญา๒. การประกาศ, การแสดง๓. การสำแดง (ศุลกากร) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
duty, customs | อากรศุลกากร [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
General Agreement on Tariffs and Trade (G.A.T.T.) | ความตกลงทั่วไปว่าด้วยพิกัดอัตราศุลกากร และการค้า (ต.ท.พ.ค.) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
G.A.T.T. (General Agreement on Tariffs and Trade) | ความตกลงทั่วไปว่าด้วยพิกัดอัตราศุลกากร และการค้า (ต.ท.พ.ค.) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
free list | รายการสินค้าที่ยกเว้นภาษีศุลกากร [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Zollverein (G.) | สหภาพศุลกากร (เยอรมัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
zollverein (G.) | สหภาพศุลกากร [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
tariff, customs | พิกัดอัตราศุลกากร [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
tariff, customs | พิกัดอัตราศุลกากร [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
union, customs | สหภาพศุลกากร [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
union, customs | สหภาพศุลกากร [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
General Agreement on Tariffs and Trade | ความตกลงทั่วไปว่าด้วยพิกัดอัตราศุลกากรและการค้า [เศรษฐศาสตร์] |
General system of preference | ระบบสิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากร [เศรษฐศาสตร์] |
Customs | ศุลกากร [เศรษฐศาสตร์] |
Customs administration | การบริหารศุลกากร [เศรษฐศาสตร์] |
Customs convention | อนุสัญญาทางศุลกากร [เศรษฐศาสตร์] |
Customs formality | พิธีการศุลกากร [เศรษฐศาสตร์] |
Customs offence | ความผิดเกี่ยวกับศุลกากร [เศรษฐศาสตร์] |
Customs union | สหภาพศุลกากร [เศรษฐศาสตร์] |
Customs valuation | การกำหนดค่าทางศุลกากร [เศรษฐศาสตร์] |
Nontariff trade barrier | สิ่งกีดกั้นการค้าที่มิใช่พิกัดอัตราศุลกากร [เศรษฐศาสตร์] |
Tariff | พิกัดอัตราศุลกากร [เศรษฐศาสตร์] |
Tariff nomenclature | รายชื่อสินค้าตามพิกัดอัตราศุลกากร [เศรษฐศาสตร์] |
Tariff preference | สิทธิพิเศษทางพิกัดอัตราศุลกากร [เศรษฐศาสตร์] |
Tariff protection | การคุ้มครองด้วยพิกัดอัตราศุลกากร [เศรษฐศาสตร์] |
Tariff reclassification | การจัดประเภทพิกัดอัตราศุลกากรใหม่ [เศรษฐศาสตร์] |
Customs administration | ศุลกากร [TU Subject Heading] |
Customs appraisal | การประเมินราคาศุลกากร [TU Subject Heading] |
Customs inspection | การตรวจสอบทางศุลกากร [TU Subject Heading] |
Customs unions | สหภาพศุลกากร [TU Subject Heading] |
Diamond smuggling | การลักลอบเพชรหนีศุลกากร [TU Subject Heading] |
General Agreement on Tariffs and Trade (Organization) | ความตกลงทั่วไปว่าด้วยพิกัดอัตราภาษีศุลกากรและการค้า (องค์การ) [TU Subject Heading] |
General Agreement on Tariffs and Trade (1947) | ความตกลงทั่วไปว่าด้วยพิกัดอัตราภาษีศุลกากรและการค้า (ค.ศ.1947) [TU Subject Heading] |
Customs valuation | การตีราคาทางศุลกากร [เศรษฐศาสตร์] |
Smuggling | การลักลอบหนีศุลกากร [TU Subject Heading] |
Tariff | พิกัดอัตราศุลกากร [TU Subject Heading] |
Tariff on automobile parts | พิกัดอัตราศุลกากรชิ้นส่วนรถยนต์ [TU Subject Heading] |
Tariff on automobiles | พิกัดอัตราศุลกากรรถยนต์ [TU Subject Heading] |
Tariff on farm produce | พิกัดอัตราศุลกากรผลิตผลเกษตร [TU Subject Heading] |
Tariff on liquors | พิกัดอัตราศุลกากรสุรา [TU Subject Heading] |
Tariff on meat products | พิกัดอัตราศุลกากรผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์ [TU Subject Heading] |
Tariff on meat products | พิกัดอัตราศุลกากรผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์ [TU Subject Heading] |
Tariff on paper | พิกัดอัตราศุลกากรกระดาษ [TU Subject Heading] |
Tariff on poultry | พิกัดอัตราศุลกากรสัตว์ปีก, พิกัดอัตราศุลกากรกระดาษ [TU Subject Heading] |
Tariff on rice | พิกัดอัตราศุลกากรข้าว [TU Subject Heading] |
Tariff preferences | สิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากร [TU Subject Heading] |
Tariffon steel | พิกัดอัตราศุลกากรเหล็กกล้า [TU Subject Heading] |
General Agreement on Tariffs and Trade (GATT) | ข้อตกลงทั่วไปว่าด้วยอัตราภาษีศุลกากรและการ ค้า(แกตต์), Example: สนธิสัญญาหลายฝ่ายว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศ ซึ่งเริ่มดำเนินการเมื่อ พ.ศ. 2491 โดยมีสมาชิกที่เริ่มก่อตั้ง 23 ประเทศ มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมให้การค้าของโลกดำเนินไปได้โดยเสรีและตั้งอยู่ บนพื้นฐานที่มั่นคง อันจะเป็นการส่งเสริมความเจริญเติบโตทางด้านเศรษฐกิจ การพัฒนาและความกินดีอยู่ดีของประชากรทั่วโลก บทบาทที่สำคัญของแกตต์คือ 1) บทบาทในการลดอุปสรรคทางการค้าระหว่างประเทศทางด้านภาษีศุลกากรและมิใช่ภาษี ศุลกากร โดยได้จัดให้มีการเจรจาการค้าหลายฝ่ายเพื่อลดอัตราภาษีศุลกากรสำหรับสินค้า นำเข้า และอุปสรรคทางการค้าอื่นๆ ลงเป็นรอบๆ ซึ่งผ่านมาแล้วรวมทั้งสิน 8 รอบ รอบสุดท้ายจบลงที่ปลาย พ.ศ. 2538 รู้จักกันโดยทั่วไปว่า การเจรจารอบอุรุกวัย (ดู Uruguay Round) 2) บทบาทในการออกกฎเกณฑ์ข้อบังคับสำหรับการค้าระหว่างประเทศ 3) บทบาทในการเป็นเวทีสำหรับการแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็น การหารือ การเจรจาไกล่เกลี่ยและยุติข้อพิพาท แกตต์ได้รับการยกฐานะจากเดิม ซึ่งเป็นเพียงข้อตกลงการค้าระหว่างประเทศให้เป็นองค์การการค้าโลก (ดู WTO) ซึ่งเป็นองค์กรระดับโลกกับธนาคารโลก และกองทุนการเงินระหว่างประเทศหลังเสร็จสิ้นการเจรจารอบอุรุกวัย เมื่อ พ.ศ. 2536 [สิ่งแวดล้อม] |
Tariff | ภาษีศุลกากร, Example: อัตราภาษีศุลกากรที่เรียกเก็บกับสินค้าส่งออก และนำเข้า โดยปกติจะหมายถึงรายการหรือตารางรายการสินค้ากับอัตราภาษี ที่ต้องจ่ายให้กับรัฐบาล เมื่อมีการนำเข้าหรือส่งออกสินค้า [สิ่งแวดล้อม] |
Generalized System of Preferenced (GSP) | ระบบศิทธิประโยชน์ทั่วไปทางภาษีศุลกากร, Example: แนวคิดที่เกิดจากการประชุมสหประชาชาติว่าด้วย การค้าและการพัฒนา (ดู UNCTAD) ครั้งที่ 2 ที่กรุงนิวเดลี ประเทศอินเดีย เมื่อ พ.ศ. 2511 ที่มีมติให้มีโครงการให้มีสิทธิประโยชน์เป็นพิเศษแก่สินค้าออกที่สำคัญของ ประเทศกำลังพัฒนาเพื่อเพิ่มรายได้จากการส่งออกของประเทศกำลังพัฒนา และเร่งรัดอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจในประเทศเหล่านั้นโดยประเทศพัฒนาแล้ว จะลดหรือยกเว้นภาษีศุลกากรขาเข้าสำหรับสินค้าออกที่สำคัญบางชนิดของประเทศ กำลังพัฒนาจำนวนหนึ่ง หลักการนี้ประเทศที่พัฒนาแล้วจะให้กับประเทศกำลังพัฒนาทุกประเทศโดยทั่วไป มิได้กำหนดเฉพาะเจาะจงเพียงบางประเทศดังที่เคยมีมาก่อนหน้านี้ [สิ่งแวดล้อม] |
ASEAN Free Trade Area | เขตการค้าเสรีอาเซียน จัดตั้งขึ้นตามมติของที่ประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 4 เพื่อส่งเสริม การค้าเสรีระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน โดยให้มีการลดอัตราภาษีศุลกากรที่เท่ากันตามระยะเวลาที่กำหนด เริ่มตั้งแต่ปี พ.ศ. 2536 โดยให้ประเทศสมาชิกอาเซียนเดิม 6 ประเทศ ลดอัตราภาษีศุลกากรให้เหลือร้อยละ 0-5 ภายในปี พ.ศ. 2546 และมีระยะเวลาผ่อนผันสำหรับประเทศสมาชิกใหม่อีก 4 ประเทศ ตามช่วงเวลาก่อน/หลังที่เข้าเป็นสมาชิกอาเซียน [การทูต] |
ASEAN Free Trade Area - Australia-New Zealand Closer Economic Relations Trade Agreement (ANZCERTA or CER) | ความร่วมมือระหว่างเขตการค้าเสรีอาเซียนและกลุ่มความร่วมมือทางเศรษฐกิจและ การค้าออสเตรเลีย-นิวซีแลนด์ เป็นความร่วมมือระหว่างอาเซียนกับออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ เพื่อส่งเสริมการค้า การลงทุน ความร่วมมือทางวิชาการ ด้านศุลกากร การขนส่ง การแลกเปลี่ยนข้อมูลด้านมาตรฐานและการรับรองระหว่างกัน [การทูต] |
ASEAN Transport Ministers Meeting | การประชุมรัฐมนตรีขนส่งอาเซียน " จัดขึ้นปีละครั้ง เพื่อหารือและกำหนดแนวทางความร่วมมือด้านการ ขนส่งในอาเซียน อาทิ เส้นทาง ประเภท/ขนาดรถยนต์ การประกันภัยรถยนต์ ใบอนุญาตขับขี่รถยนต์ การตรวจทางศุลกากร การขนส่งสินค้าผ่านแดน การขนส่งสินค้าข้ามแดน และการพัฒนาโครงข่ายทางหลวงอาเซียน" [การทูต] |
ASEAN Industrial Cooperation Scheme | โครงการความร่วมมือด้านอุตสาหกรรมอาเซียน เป็นมาตรการเพื่อส่งเสริมการแลกเปลี่ยนวัตถุดิบการผลิตในรูปสินค้าสำเร็จ รูป/กึ่งสำเร็จรูป เพื่อใช้ในการผลิตทางอุตสาหกรรมระหว่างบริษัทที่ตั้งอยู่ในประเทศอาเซียน อันจะเป็นการสนับสนุนการแบ่งกันผลิตและเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันของภาค อุตสาหกรรมในอาเซียน โดยจะต้องเป็นความร่วมมือตั้งแต่สองประเทศขึ้นไป และมีคนชาติประเทศสมาชิกอาเซียนมีหุ้นส่วนอยู่ในแต่ละบริษัทอย่างน้อยร้อยละ 30 สินค้าที่ได้รับอนุมัติให้อยู่ในโครงการจะได้สิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรใน อัตราร้อยละ 0-5 ในทันที โดยไม่ต้องรอให้เขตการค้าเสรีอาเซียนมีผลบังคับใช้ [การทูต] |
Coordinating Committee on the Implementation of the CEPT Scheme for AFTA | คณะกรรมการประสานงานการดำเนินงานตามพันธกรณีภายใต้ CEPT ของ AFTA เป็นกรอบการหารือในระดับผู้เชี่ยวชาญอาวุโสด้านการคลัง เพื่อ ติดตามและประสานงานการดำเนินการตามพันธกรณีการลดอัตราภาษีศุลกากรที่เท่ากัน ของเขตการค้าเสรีอาเซียน ซึ่งปกติจัดขึ้นประมาณปีละ 3-4 ครั้ง [การทูต] |
Common Effective Preferential Tariff | อัตราภาษีพิเศษที่เท่ากัน " เป็นกลไกหลักในการลดอัตราภาษีศุลกากรระหว่างกันภายใต้กรอบ การจัดตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียนให้อยู่ในระดับร้อยละ 0-5 โดย ครอบคลุมสินค้าทุกชนิด " [การทูต] |
CSI | เป็นโครงการที่ริเริ่มขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2545 โดยสำนักศุลกากรและป้องกันชายแดนสหรัฐอเมริกา ( US Bureau of Customs and Border Protection )ภายใต้กระทรวง Department of Homeland Security มีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มความปลอดภัยให้แก่สินค้าที่ขนส่งเข้าไปยังสหรัฐ อเมริกา ด้วยการติดตั้งระบบติดตามตู้บรรทุกสินค้าที่มีความเสี่ยงต่อการก่อการร้าย และมีระบบตรวจสอบตู้บรรทุกสินค้าก่อนออกจากประเทศต้นทางไปสู่สหรัฐอเมริกา [การทูต] |
Diplomatic Pouch | ถุงเมล์ทางการทูตที่บรรจุหนังสือโต้ตอบทางราชการ ระหว่างกระทรวงการต่างประเทศของรัฐบาล กับสถานเอกอัครราชทูตต่าง ๆ ใน ต่างประเทศ ถุงเมล์ทูตจะถูกปิดประทับตราของทางราชการ และผู้ใดจะล่วงละเมิดมิได้ แม้แต่เจ้าหน้าที่ศุลกากรก็ขอตรวจไม่ได้ คือได้รับการละเว้นจากการแทรกแซงใด ๆ ทั้งสิ้นเรื่องถุงเมล์ทางการทูตนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในข้อ 27 ว่า?1. ในรัฐผู้รับจะอนุญาตและคุ้มครองการสื่อสารโดยเสรีในส่วนของคณะผู้แทน เพื่อความมุ่งประสงค์ทั้งมวลในการติดต่อกับคณะรัฐบาลและกับคณะผู้แทน และสถานกงสุลอื่นของรัฐผู้ส่งไม่ว่าตั้งอยู่ที่ใด คณะผู้แทนอาจใช้วิถีทางเหมาะสมทั้งมวลได้ รวมทั้งผู้สื่อสารทางการทูต และสารเป็นรหัสหรือประมวล อย่างไรก็ดี คณะผู้แทนอาจติดตั้งและใช้เครื่องส่งวิทยุได้ด้วยความยินยอมของรัฐผู้รับ เท่านั้น 2. หนังสือโต้ตอบทางการทูตของคณะผู้แทนจะถูกละเมิดมิได้ หนังสือโต้ตอบทางการทูตหมายถึง หนังสือโต้ตอบทั้งมวลที่เกี่ยวกับคณะผู้แทนและภารกิจหน้าที่ของคณะผู้แทน 3. ถุงเมล์ทางการทูตจะไม่ถูกเปิดหรือถูกกักไว้ 4. หีบห่อซึ่งรวมเป็นถุงทางการทูตจะต้องมีเครื่องหมายติดไว้ภายนอกที่เห็น ชัดเจน แสดงลักษณะของถุงทางการทูตและอาจบรรจุเอกสารหรือสิ่งของทางการทูต ซึ่งได้เจตนาเพื่อใช้ในทางการเท่านั้น 5. ผู้ถือสารทางการทูต (Diplomatic courrier) จะได้รับเอกสารทางการ แสดงสถานภาพของตนและจำนวนหีบห่อ ซึ่งรวมเป็นถุงทางทูตนั้น ให้ได้รับความคุ้มครองจากรัฐผู้รับในการปฏิบัติการตามหน้าที่ของตน ให้ผู้ถือสารทางการทูตได้อุปโภคความละเมิดมิได้ และจะต้องไม่ถูกจับกุมหรือกักในรูปใด 6. รัฐผู้ส่งหรือคณะผู้แทนอาจแต่งตั้งผู้ถือสารทางการทูตเฉพาะกรณีได้ในกรณีที่ ว่านี้ให้นำบทแห่งวรรค 5 ของข้อนี้มาใช้ด้วย เว้นแต่ว่าความคุ้มกันที่กล่าวไว้ในวรรคนั้นให้ยุติไม่ใช้ เมื่อผู้ถือสารนี้ได้ส่งถุงทางการทูตในหน้าที่ของตนให้แก่ผู้รับแล้ว 7. ถุงทางการทูตอาจจะมอบหมายไว้แก่ผู้บังคับการของเครื่องบินพาณิชย์ ซึ่งได้มีพิกัดจะลง ณ ท่าเข้าเมืองที่ได้รับอนุญาตแล้วได้ ให้ผู้บังคับบัญชาของเครื่องบินพาณิชย์รับเอกสารทางการ แสดงจำนวนหีบห่อซึ่งรวมเป็นถุง แต่ไม่ให้ถือว่าผู้บังคับการของเครื่องบินพาณิชย์เป็นผู้ถือสารทางการทูต คณะผู้แทนอาจส่งบุคคลหนึ่งในคณะผู้แทนไปรับมอบถุงทางการทูตได้โดยตรงและโดย เสรีจากผู้บังคับการของเครื่องบิน?คำว่าถุงทางการทูตนี้ กระทรวงการต่างประเทศอังกฤษเรียกว่า ?Diplomatic bag? ส่วนในภาษาฝรั่งเศสใช้คำว่า ?Valise Diplomatique? [การทูต] |
Economic Integration | การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ " หมายถึง การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจของประเทศในภูมิภาคเดียวกัน ตั้งแต่ 2 ประเทศขึ้นไป โดยการยกเลิกการเรียกเก็บภาษีศุลกากรและมาตรการอื่น ๆ ที่เป็นอุปสรรคทางการค้าให้แก่กันและกัน รวมทั้งอาจใช้นโยบายต่าง ๆ ร่วมกัน จำแนกได้หลายรูปแบบ เช่น เขตการค้าเสรี สหภาพศุลกากร ตลาดร่วม และสหภาพเศรษฐกิจ " [การทูต] |
Exemption from Customs Duties and Inspection of Diplomatic Mission?s Articles | การยกเว้นจากอากรศุลกากร และการตรวจสิ่งของเครื่องใช้ของคณะผู้แทนทางการทูต การยกเว้นดังกล่าวนี้ไม่ถือว่าเป็นสิทธิ แต่เป็นเรื่องของการแสดงอัธยาศัยไมตรีระหว่งประเทศที่ให้ต่อกันมากกว่า กฎหมายระหว่างประเทศก็มิได้กำหนดพันธะที่จะต้องให้การยกเว้นจากอากรศุลกากร อย่างไรก็ดี รัฐส่วนมากได้แสดงอัธยาศัยไมตรีโดยให้ผู้แทนทางการทูตได้รับการยกเว้นอากร ศุลกากรแก่สินค้าและเครื่องใช้ที่นำเข้ามาใช้ในส่วนตัวเองอนุสัญญากรุง เวียนนาได้ระบุไว้ในมาตรที่ 36 ว่า1. รัฐผู้รับจะอนุญาตให้นำเข้าและอำนวยให้มีการยกเว้นจากอากรศุลกากร ภาษี ตลอดจนค่าภาระที่เกี่ยวข้องทั้งมวล นอกจากค่าภาระในการเก็บรักษา การขนส่งและบริการ ให้ทำนองเดียวกันตามกฎหมายหรือข้อบังคับ ซึ่งรัฐผู้รับอาจกำหนดไว้แก่ก. สิ่งของสำหรับใช้ในทางการของคณะผู้แทนข. สิ่งของสำหรับใช้ส่วนบุคคลของตัวแทนทางการทูต หรือคนในครอบครัวของตัวแทนทางการทูต ซึ่งประกอบเป็นส่วนครัวเรือนของตัวแทนทางการทูต รวมทั้งสิ่งของที่แสดงเจตนาสำหรับการตั้งถิ่นฐานของตัวแทนทางการทูตด้วย2. หีบห่อส่วนบุคคลของตัวแทนทางการทูต ให้ได้รับยกเว้นจากการตรวจตรา นอกจากมีมูลเหตุอันร้ายแรงที่ทำให้สันนิษฐานได้ว่า หีบห่อส่วนตัวนั้นบรรจุสิ่งของซึ่งไม่อยู่ในข่ายแห่งการยกเว้นที่ได้ระบุไว้ ในวรรค 1 ของข้อนี้ หรือสิ่งของซึ่งการนำเข้าหรือส่งออกนั้นต้องห้ามทางกฎหมาย หรือถูกควบคุมตามข้อบังคับว่าด้วยการกักตรวจโรคของรัฐผู้รับ การตรวจตราเช่นว่านี้ให้กระทำต่อหน้าตัวแทนทางการทูต หรือต่อหน้าผู้แทนที่ได้รับมอบอำนาจของตัวแทนทางการทูตเท่านั้น [การทูต] |
Free Trade Area | เขตการค้าเสรี การรวมกลุ่มเศรษฐกิจโดยมีเป้าหมายเพื่อลดภาษีศุลกากร ระหว่างกันภายในกลุ่มลงให้เหลือน้อยที่สุด หรือเป็น 0% และใช้อัตราภาษีปกติที่สูงกว่ากับประเทศนอกกลุ่ม [การทูต] |
อัตราภาษีศุลกากร | [attrā phāsī sunlakākøn] (n, exp) EN: customs tariff FR: tarif douanier [ m ] |
แบบฟอร์มการเสียภาษีศุลกากร | [baēpføm kān sīa phāsī sunlakākøn] (n, exp) EN: customs declaration form |
ใบกำกับสินค้าของศุลกากร | [bai kamkap sinkhā khøng sunlakākøn] (n, exp) EN: customs invoice |
เจ้าหน้าที่ศุลกากร | [jaonāthī sunlakākøn] (n, exp) EN: customs officer FR: douanier [ m ] |
การทำพิธีการทางศุลกากร | [kān tham phithīkān thāng sunlakākøn] (n, exp) EN: customs clearance |
การตรวจโดยศุลกากร | [kān trūat dōi sunlakākøn] (n, exp) EN: customs inspection |
การตรวจสอบพิธีการทางศุลกากร | [kān trūatsøp phithīkān thāng sunlakākøn] (n, exp) EN: customs inspection |
การตรวจตราภาษีศุลกากร | [kān trūattrā phāsī sunlakākøn] (n, exp) EN: customs clearance |
ข้อตกลงทั่วไปว่าด้วยพิกัดอัตราภาษีศุลกากรและการค้า | [Khøtoklong Thūapai Wādūay Phikat Attrā Phāsī Sunlakākøn Lae Kānkhā] (org) EN: General Agreement on Tariffs and Trade (GATT) FR: Accord général sur les tarifs douaniers et le commerce (GATT) |
ความผิดตามกฎหมายศุลกากร | [khwāmphit tām kotmāi sunlakākøn] (n, exp) EN: customs offence |
กฎหมายศุลกากร | [kotmāi sunlakākøn] (n, exp) EN: customs law FR: législation douanière [ f ] |
กรมศุลกากร | [Krom Sunlakākøn] (n, exp) EN: Customs Department FR: direction des douanes [ f ] ; service des doaunes [ m ] |
มูลค่าภาษีศุลกากร | [mūnkhā phāsī sunlakākøn = mūnlakhā phāsī sunlakākøn] (n, exp) EN: customs value ; dutiable value |
นายด่านศุลกากร | [nāi dān sunlakākøn] (n, exp) EN: chief immigration officer |
ภาษีศุลกากร | [phāsī sunlakākøn] (n, exp) EN: tariff ; customs duty ; duty FR: tarif douanier [ m ] ; taxe de douane [ f ] |
พิกัดอัตราศุลกากร | [phikat attrā sunlakākøn] (n, exp) EN: customs duty ; customs tariff FR: tarif doaunier [ m ] |
พิธีการทางศุลกากร | [phithīkān thāng sunlakākøn] (n, exp) EN: customs formalities FR: formalités douanières [ fpl ] |
ผู้ชำนาญการศุลกากร | [phūchamnānkān sunlakākøn] (n, exp) EN: customs specialist |
ศุลกากร | [sunlakākøn] (n) EN: customs ; customs authorities FR: douane [ f ] ; douanes [ fpl ] |
ศุลกากร | [sunlakākøn] (n) EN: customs duty ; tariff FR: droits de douane [ mpl ] |
ศุลการักษ์ | [sunlakārak] (n) EN: customs officer ; revenue officer FR: douanier [ m ] |
ศุลกสถาน | [sunlakasathān] (n) EN: customshouse FR: bureau de douane [ m ] |
ทำพิธีการศุลกากร | [tham phithīkān sunlakākøn] (v, exp) EN: clear through customs |
ทางศุลกากร | [thāng sunlakākøn] (adj) EN: customs FR: douanier |
clearance | (เคลีย'เรินซฺ) n. การทำความสะอาด, การกวาดล้าง, ช่องว่างระหว่างสองสิ่ง, การขายรุสต๊อก, การผ่านการตรวจของศุลกากร, การอนุมัติ, บัตรอนุญาต, การแลกเปลี่ยนเอกสาร |
cusrom broker | ด่านศุลกากร, โรงภาษี, ขนอน |
customhouse | ด่านศุลกากร, โรงภาษี, ขนอน |
debenture | (ดิเบน'เชอะ) n. เอกสารหลักฐานการลดภาษีที่ศุลกากร, ใบหุ้นของบริษัท |
docket | (ดอค'คิท) n. รายการคดีและคำพิพากษาของศาล, รายการเรื่องราวการพิจารณาโดยคณะกรรมการสภา, ใบเซ็นของสินค้า, ใบปะหน้า, หนังสือแสดงการเสียภาษีศุลกากร, บัตร, สาระสำคัญ. vt. นำเข้ารายการพิจารณาคดีของศาล, เขียนใบปะหน้า, สรุปสาระสำคัญ |
free port | n. ท่าเรือที่ไม่เก็บค่าภาษีศุลกากร |
free zone | n. เขตปลอดภาษีศุลกากร |
gager | (เก'เจอะ) n. คนวัด, คนรังวัด, อุปกรณ์วัด, ผู้ประเมินค่า, เจ้าหน้าที่ศุลกากร |
gatt | abbr. General Agreement on Tariffs and Trade ข้อตกลงทั่วไปเกี่ยวกับภาษีศุลกากรและการค้า |
gauger | (เก'เจอะ) n. คนวัด, คนรังวัด, อุปกรณ์วัด, ผู้ประเมินค่า, เจ้าหน้าที่ศุลกากร |
impost | (อิม' โพสทฺ) n. ภาษี, ภาษีศุลกากร, น้ำหนักแบกของม้าแข่ง, Syn. tax, tribute, duty |
tariff | (แทร'ริฟ) n., vt. (จัดเก็บ) อัตราภาษีศุลกากร, ภาษีศุลกากร, ค่าธรรมเนียม, ค่าโดยสาร |