ศตวรรษ | (clas) century, Syn. ศตพรรษ, Example: กิจการไปรษณีย์ไม่มีการเปลี่ยนแปลงมาหลายศตวรรษแล้ว, Thai Definition: ลักษณนามที่บอกจำนวนแต่ละรอบ 100 ปี |
ศตวรรษ | (n) century, Syn. ศตพรรษ, Example: ในช่วงศตวรรษที่ผ่านมานี้ ความต้องการทางด้านคอมพิวเตอร์ได้เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว, Thai Definition: รอบ 100 ปี |
อุทิศตัว | (v) devote oneself to, See also: direct oneself to, Example: ตลอดชีวิต ท่านได้อุทิศตนให้แก่งานศิลปะอย่างจริงจัง, Thai Definition: สละสิ่งที่เกี่ยวตนให้กับผู้อื่น |
ประกาศตัว | (v) declare oneself, See also: announce, proclaim, Example: กลุ่มผู้ประท้วงได้พยายามเคลื่อนไหวที่จะประกาศตัวจัดตั้งรัฐบาลพลัดถิ่นเพื่อต่อต้านรัฐบาล |
ทิศตะวันตก | (n) West, Syn. ทิศประจิม, Ant. ทิศตะวันออก, Example: ทิศตะวันตกของไทยติดกับประเทศพม่า, Thai Definition: ทิศทางที่พระอาทิตย์ลับในเวลาเย็น |
พลอากาศตรี | (n) Air Vice Marshal, Example: พลอากาศตรี มานิต สพันธุพงษ์ เป็นผู้ช่วยเจ้ากรมข่าวทหารตามรายนามนักศึกษาวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรประจำปีการศึกษา 2544-2545, Count Unit: นาย, Thai Definition: ชื่อยศนายทหารอากาศที่ต่ำกว่าพลอากาศโท |
พุทธศตวรรษ | (n) Buddhist era, Syn. พุทธศักราช, Example: ตามหลักฐานทางโบราณคดีและประวัติศาสตร์ ปราสาทหินเขาพระวิหารก่อสร้างในระหว่างพุทธศตวรรษที่ 16, Thai Definition: สมัยเมื่อพระพุทธเจ้ายังมีพระชนม์อยู่ในรอบ 100 ปี |
เพศตรงข้าม | (n) opposite sex, See also: opposite gender, Example: ทั้งชายหญิงเริ่มมีความสนใจเพศตรงข้ามเมื่อเข้าสู่ช่วงวัยรุ่น |
ทิศตะวันออก | (n) east, Syn. ทิศบูรพา, Ant. ทิศตะวันตก, ทิศประจิม, Example: ประเทศไทยมีอาณาเขตทิศตะวันออกจดประเทศลาว และประเทศกัมพูชา, Thai Definition: ทิศทางที่ดวงอาทิตย์ขึ้นในตอนเช้า |
นาวาอากาศตรี | (n) squadron leader, Count Unit: คน, นาย, Thai Definition: ยศทหารอากาศ สูงกว่านายเรืออากาศเอก ต่ำกว่านาวาอากาศโท |
เรืออากาศตรี | (n) Pilot Officer |
ทิศตะวันตกเฉียงใต้ | (n) southwest, Syn. ทิศหรดี, Ant. ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ, ทิศอีสาน, Example: ลมที่พัดจากทิศตะวันออกเฉียงเหนือสู่ทิศตะวันตกเฉียงใต้ เรียกว่า ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ, Thai Definition: ทิศซึ่งอยู่กึ่งกลางระหว่างทิศตะวันตกกับทิศใต้ |
ทิศตะวันตกเฉียงเหนือ | (n) northwest, Syn. ทิศพายัพ, Ant. ทิศตะวันออกเฉียงใต้, ทิศอาคเนย์, Example: สายน้ำชุดแรกมาจากทิศตะวันตกเฉียงเหนือ หอบเอาเมฆมาจากทะเลอันดามัน ผ่านพม่าเข้าเมืองกาญจนบุรี, Thai Definition: ทิศซึ่งอยู่กึ่งกลางระหว่างทิศตะวันตกกับทิศเหนือ |
ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ | (n) Northeast, Syn. ทิศอิสาน, Ant. ทิศตะวันตกเฉียงใต้, Example: น้ำใต้ดินนี้มาจากทางเขาชวาลา ทางด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือ, Thai Definition: ทิศซึ่งอยู่กึ่งกลางระหว่างทิศเหนือกับทิศตะวันออก |
คริสต์ศตวรรษ | (คฺริดสะตะวัด) น. รอบ ๑๐๐ ปี นับตั้งแต่วันสมภพของพระเยซู. |
ปัศตัน | (ปัดสะ-) น. ลูกปืนที่บรรจุดินและแก๊ปในตัว |
ปัศตัน | เรียกปืนที่ใช้ลูกชนิดนี้ ว่า ปืนปัศตัน. |
ปัศตู | (ปัดสะ-) น. ผ้าขนสัตว์เนื้อฟุ. |
ศต-, ศตะ | (สะตะ-, สัดตะ-) น. ร้อย (๑๐๐). |
ศตบาท, ศตปที | น. ตะขาบ, ตะเข็บ, กิ้งกือ. |
ศตภิษัช, สตภิสชะ | (-พิสัด, สะตะพิดชะ) น. ดาวฤกษ์ที่ ๒๔ มี ๔ ดวง เห็นเป็นรูปทิมทองหรือมังกร, ดาวพิมพ์ทอง หรือ ดาวยักษ์ ก็เรียก. |
ศตวรรษ, ศตพรรษ | (-วัด, -พัด) น. รอบ ๑๐๐ ปี. |
ศตสังวัตสร์ | น. เวลานานชั่ว ๑๐๐ ปี. |
ศตัฆนี | (สะตักคะนี) น. อาวุธอย่างร้ายแรงฆ่าคนได้ทีละ ๑๐๐ คน. |
ศตกะ | (สะตะกะ) น. หมวด ๑๐๐, มีจำนวน ๑๐๐, ใช้ ศดก ก็มี. |
ศตัฆนี | ดู ศต-, ศตะ. |
สตภิสชะ, ศตภิษัช | (สะตะพิดชะ, สะตะพิสัด, สัดตะพิสัด) น. ดาวฤกษ์ที่ ๒๔ มี ๔ ดวง เห็นเป็นรูปทิมทองหรือมังกร, ดาวพิมพ์ทอง หรือ ดาวยักษ์ ก็เรียก. |
ก หัน | น. อักษร ก คู่ ในหนังสือโบราณใช้แทนไม้หันอากาศตัวหนึ่ง เป็นตัวสะกดตัวหนึ่ง เช่น จกก = จัก หลกก = หลัก. |
กระดี๊กระด๊า | ก. ระริกระรี้, ตื่นเต้นแสดงความสนใจเพศตรงข้าม, เช่น พอเห็นหนุ่มหล่อ ๆ มาร่วมงาน สาว ๆ ก็กระดี๊กระด๊ากันเป็นแถว, แสดงท่าทางอย่างเห็นได้ชัดว่าดีใจหรือพอใจมาก เช่น แค่รู้ว่าผู้ชายจะมาสู่ขอลูกสาว ว่าที่แม่ยายก็กระดี๊กระด๊าจนเก็บอาการไม่อยู่, ตื่นเต้นแสดงความดีใจจนเกินงาม เช่น พอรู้ว่าหัวหน้าจะพาไปเที่ยวทะเลก็กระดี๊กระด๊ากันไปทั้งแผนก, กะดี๊กะด๊า หรือ ดี๊ด๊า ก็ว่า. |
กลาบาต ๑ | (กะลาบาด) น. เทหวัตถุแข็งจากอวกาศตกลงมาสู่ผิวโลก เมื่อเคลื่อนที่ผ่านบรรยากาศสู่ผิวโลก จะลุกไหม้ให้แสงสว่างจ้าเนื่องจากเสียดสีกับอากาศ ถือว่าเป็นลางบอกเหตุร้าย, ผีพุ่งไต้. (กร่อนมาจากคำว่า อุกลาบาต). |
กะเหรี่ยง | น. ชื่อชนชาวเขาเผ่าหนึ่ง ปรกติอาศัยอยู่ทางพรมแดนทิศตะวันตกของประเทศไทย, โซ่ หรือ ยาง ก็เรียก, (โบ) เรียกว่า กั้ง ก็มี. |
ขวา | (ขฺวา) ว. ตรงข้ามกับ ซ้าย, ถ้าหันหน้าไปทางทิศตะวันออก ด้านทิศใต้เรียกว่า ด้านขวามือ ด้านทิศเหนือ เรียกว่า ด้านซ้ายมือ, ถ้าหันหลังไปทางต้นนํ้าหรือยอดนํ้า ด้านขวามือเรียกว่า ฝั่งขวา ด้านซ้ายมือเรียกว่า ฝั่งซ้าย, คู่กับซ้าย แต่ใหญ่กว่าหรือสำคัญกว่า เช่น มเหสีฝ่ายขวา อัครสาวกฝ่ายขวา. |
ข้างตก | น. ทิศตะวันตก. |
ข้างออก | น. ทิศตะวันออก. |
จตุโลกบาล | (-โลกกะบาน) น. ท้าวจาตุมหาราช, หัวหน้าเทวดาในสวรรค์ชั้นจาตุมหาราช มีหน้าที่รักษาโลกในทิศทั้ง ๔ เรียกว่า ท้าวจตุโลกบาล คือ ๑. ท้าวธตรฐ จอมภูตหรือจอมคนธรรพ์ รักษาโลกด้านทิศบูรพาหรือทิศตะวันออก ๒. ท้าววิรุฬหก จอมเทวดาหรือจอมกุมภัณฑ์ รักษาโลกด้านทิศทักษิณหรือทิศใต้ ๓. ท้าววิรูปักษ์ จอมนาค รักษาโลกด้านทิศประจิมหรือทิศตะวันตก ๔. ท้าวกุเวร จอมยักษ์ รักษาโลกด้านทิศอุดรหรือทิศเหนือ, จัตุโลกบาล ก็ว่า. |
จัตุโลกบาล | (จัดตุโลกกะบาน) น. ท้าวจาตุมหาราช, หัวหน้าเทวดาในสวรรค์ชั้นจาตุมหาราช มีหน้าที่รักษาโลกในทิศทั้ง ๔ เรียกว่า ท้าวจัตุโลกบาล คือ ๑. ท้าวธตรฐ จอมภูตหรือจอมคนธรรพ์ รักษาโลกด้านทิศบูรพาหรือทิศตะวันออก ๒. ท้าววิรุฬหก จอมเทวดาหรือจอมกุมภัณฑ์ รักษาโลกด้านทิศทักษิณหรือทิศใต้ ๓. ท้าววิรูปักษ์ จอมนาค รักษาโลกด้านทิศประจิมหรือทิศตะวันตก ๔. ท้าวกุเวร จอมยักษ์ รักษาโลกด้านทิศอุดรหรือทิศเหนือ, จตุโลกบาล ก็ว่า. |
จาตุมหาราช | เรียกหัวหน้าเทวดาผู้มีหน้าที่รักษาโลกในทิศทั้ง ๔ ว่า ท้าวจาตุมหาราช คือ ๑. ท้าวธตรฐ จอมภูตหรือจอมคนธรรพ์ รักษาโลกด้านทิศบูรพาหรือทิศตะวันออก ๒. ท้าววิรุฬหก จอมเทวดาหรือจอมกุมภัณฑ์ รักษาโลกด้านทิศทักษิณหรือทิศใต้ ๓. ท้าววิรูปักษ์ จอมนาค รักษาโลกด้านทิศประจิมหรือทิศตะวันตก ๔. ท้าวกุเวร จอมยักษ์ รักษาโลกด้านทิศอุดรหรือทิศเหนือ, จตุโลกบาล หรือ จัตุโลกบาล ก็ว่า. |
เจดีย์ทิศ | น. เจดีย์บริวารตั้งอยู่บนฐานไพทีหรือลานประทักษิณล้อมเจดีย์ประธาน มี ๔ องค์ เหมือนดังประจำทิศต่าง ๆ ตามคตินิยมทางจักรวาล. |
แจงรูป | น. วิธีเอาเถ้าถ่านและกระดูกศพที่เผาเสร็จแล้วบนกองฟอนมาเรียงลำดับเป็นอย่างรูปคน ให้หัวอยู่ทางทิศตะวันตกแล้วหันกลับมาทางทิศตะวันออก, แปรรูป หรือ แปรธาตุ ก็ว่า. |
ซ้าย | ว. ตรงข้ามกับ ขวา, ถ้าหันหน้าไปทางทิศตะวันออก ด้านทิศเหนือ เรียกว่า ด้านซ้ายมือ ด้านทิศใต้ เรียกว่า ด้านขวามือ, ถ้าหันหลังไปทางต้นนํ้าหรือยอดนํ้า ด้านซ้ายมือ เรียกว่า ฝั่งซ้าย ด้านขวามือ เรียกว่า ฝั่งขวา เช่น ฝั่งพระนครอยู่ฝั่งซ้ายของแม่น้ำเจ้าพระยา |
ญวน ๑ | น. ชื่อประเทศและชนชาติหนึ่งอยู่ทางทิศใต้ของประเทศจีน และทางทิศตะวันออกของประเทศลาวและเขมร, ปัจจุบันเรียกว่า เวียดนาม. |
ญี่ปุ่น | น. ชื่อประเทศและชนชาติหนึ่งอยู่ในหมู่เกาะทางทิศตะวันออกของประเทศจีน. |
ดาวดึงส์ | (ดาววะ-) น. ชื่อสวรรค์ชั้นที่ ๒ แห่งสวรรค์ ๖ ชั้น มีพระอินทร์เป็นใหญ่ในชั้นนี้. (ป. ตาวตึส; ส. ตฺรยสฺตฺรึศตฺ). (ดู ฉกามาพจร ประกอบ). |
ดีเปรสชัน | น. พายุหมุนที่มีกำลังอ่อนในเขตร้อนมีต้นกำเนิดเหนือมหาสมุทร ทำให้มีฝนตกปานกลางถึงตกหนักเป็นบริเวณกว้าง, บริเวณความกดอากาศต่ำที่มีลมพัดเวียนเข้าหาศูนย์กลางคล้ายก้นหอยในทิศทางทวนเข็มนาฬิกาในซีกโลกเหนือและตามเข็มนาฬิกาในซีกโลกใต้. |
เดนมาร์ก | (เด็นหฺมาก) น. ชื่อประเทศและชนชาติหนึ่งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปยุโรป. |
ตะโก้ ๒ | น. ชื่อลมทะเลพัดจากทิศตะวันตกเฉียงเหนือมาทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ มักมีในปลายฤดูฝน, ลมพัดหลวง ก็เรียก. |
ตะวันตก | เรียกทิศที่ดวงอาทิตย์ลับขอบฟ้า ว่า ทิศตะวันตก, ตรงข้ามกับ ทิศตะวันออก |
ตะวันตก | เรียกลมที่พัดมาจากทิศตะวันตกไปทางทิศตะวันออกในกลางฤดูฝน ว่า ลมตะวันตก |
ตะวันตก | เรียกประเทศที่อยู่ในทวีปยุโรปและอเมริกาว่า ประเทศตะวันตก, เรียกประชาชนโดยเฉพาะพวกผิวขาว ตลอดจนวัฒนธรรมขนบธรรมเนียมประเพณีของประเทศต่าง ๆ ในทวีปยุโรปและอเมริกา ว่า ชาวตะวันตก วัฒนธรรมตะวันตก เป็นต้น. |
ตะวันออก | ว. เรียกทิศที่ดวงอาทิตย์โผล่พ้นขอบฟ้า ว่า ทิศตะวันออก, ตรงข้ามกับ ทิศตะวันตก |
ตะวันออก | เรียกลมที่พัดมาจากทิศตะวันออกไปทางทิศตะวันตกในปลายฤดูฝน ว่า ลมตะวันออก |
ตะวันออกกลาง | น. กลุ่มประเทศในภูมิภาคตะวันตกเฉียงใต้ของทวีปเอเชีย ซึ่งอยู่ทางทิศตะวันตกของประเทศอินเดียและปากีสถาน และภาคตะวันออกเฉียงเหนือของทวีปแอฟริกา, เดิมหมายรวมถึงประเทศอัฟกานิสถาน ปากีสถาน อินเดีย และพม่า ด้วย. |
ตะวันออกไกล | น. กลุ่มประเทศในภูมิภาคตะวันออกของทวีปเอเชีย ซึ่งอยู่ห่างไกลจากทวีปยุโรปมาก คือ จีน ญี่ปุ่น เกาหลี มองโกเลีย และไซบีเรีย บางทีก็รวมถึงประเทศต่าง ๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ คือ พม่า ไทย ลาว กัมพูชา เวียดนาม มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และอินโดนีเซียด้วย. |
ตะวันอ้อมข้าว | น. ลักษณะที่ดวงอาทิตย์ขึ้นจากขอบฟ้าทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ โคจรอ้อมลงสู่ขอบฟ้าทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ในฤดูหนาว ซึ่งเป็นฤดูเก็บเกี่ยวข้าว, ที่เรียกเช่นนั้น เพราะเชื่อว่าตะวันเลี่ยงไม่ให้ความร้อนเผารวงข้าวที่กำลังสุก และเวลาเก็บเกี่ยวก็ไม่ร้อนมากนัก. |
ใต้ | น. ทิศที่อยู่ตรงข้ามกับทิศเหนือ, ทิศที่อยู่ทางขวามือ เมื่อหันหน้าไปทางทิศตะวันออก เรียกว่า ทิศใต้, ทิศทักษิณ ก็ว่า. |
ไต้หวัน | น. ชื่อเกาะในทะเลจีนใต้ อยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของมณฑลฮกเกี้ยน. |
ทอร์นาโด | น. ชื่อพายุประจำถิ่นชนิดหนึ่ง มีความรุนแรงมาก มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ๒-๓ กิโลเมตร บริเวณศูนย์กลางพายุมีความกดอากาศต่ำมาก จึงทำให้อากาศรอบนอกที่พัดเข้าหาศูนย์กลางพายุมีความเร็วสูงมาก เมื่อเริ่มเกิดเมฆจะม้วนตัวเป็นรูปกรวยหรืองวงยื่นออกมาจากฐานเมฆ ส่วนมากเกิดในบริเวณตอนกลางของสหรัฐอเมริกาและทางตะวันตกของออสเตรเลีย, ลมงวง หรือ ลมงวงช้าง ก็เรียก. |
ทาส, ทาส- | ผู้ที่ยอมตนให้ตกอยู่ในอำนาจสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น เป็นทาสการพนัน เป็นทาสยาเสพติด เป็นทาสความรัก เป็นทาสเงิน, ผู้ที่อุทิศตนแก่สิ่งที่เลื่อมใสศรัทธา เช่น เป็นทาสความรู้. |
ทำเสน่ห์ | ก. ทำให้เพศตรงข้ามหลงรักด้วยวิธีการทางไสยศาสตร์. |
ทุตวิลัมพิตมาลา | (ทุตะวิลำพิตะ-) น. ชื่อฉันท์วรรณพฤติ กำหนดด้วย ๔ คณะ คือ น ภ ภ ร (ตามแบบว่า ทุตวิลมฺพิตมาห นภา ภรา) ตัวอย่างว่า ชินกถาคณนา วนิดาประมาณ พฤศติเพธพิสดาร อดิเรกภิปราย. |
ธเรษตรีศวร | (ทะเรดตฺรีสวน) น. ผู้เป็นใหญ่ในโลก, บางทีเขียนเป็น ธเรศตรีศวร เช่น สายัณห์หวั่นสวาทไท้ ธเรศตรี ศวรแฮ (ตะเลงพ่าย). |
นักษัตร ๑, นักษัตร- | (นักสัด, นักสัดตฺระ-) น. ดาว, ดาวฤกษ์, มี ๒๗ หมู่ คือ ๑. อัศวินี, อัสสนี (ดาวม้า ดาวคอม้า ดาวคู่ม้า หรือ ดาวอัศวยุช) มี ๗ ดวง ๒. ภรณี (ดาวก้อนเส้า) มี ๓ ดวง ๓. กฤติกา, กฤตติกา, กัตติกา (ดาวธงสามเหลี่ยม หรือ ดาวลูกไก่) มี ๘ ดวง ๔. โรหิณี (ดาวพราหมี ดาวปลาตะเพียน หรือ ดาวคางหมู) มี ๗ ดวง ๕. มฤคศิระ, มฤคเศียร, มิคสิระ (ดาวหัวเต่า ดาวหัวเนื้อ ดาวศีรษะเนื้อ ดาวศีรษะโค ดาวมฤคศิรัส หรือ ดาวอาครหายณี) มี ๓ ดวง ๖. อารทรา (ดาวอัททา ดาวตัวโค หรือ ดาวตาสำเภา) มี ๑ ดวง ๗. ปุนัพสุ, ปุนัพพสู (ดาวหัวสำเภา ดาวสำเภาทอง ดาวสะเภา ดาวยามเกา หรือ ดาวตาเรือชัย) มี ๓ ดวง ๘. บุษยะ, บุษย์, ปุษยะ, ปุสสะ (ดาวปุยฝ้าย ดาวพวงดอกไม้ ดาวดอกบัว ดาวโลง ดาวปู ดาวสมอสำเภา หรือ ดาวสิธยะ) มี ๕ ดวง ๙. อาศเลษา, อสิเลสะ (ดาวเรือน หรือ ดาวนกอยู่ในปล่อง) มี ๕ ดวง ๑๐. มฆะ, มฆา, มาฆะ (ดาวโคมูตร ดาววานร ดาวงอนไถ หรือ ดาวงูผู้) มี ๕ ดวง ๑๑. บุรพผลคุนี, ปุรพผลคุนี, ปุพพผลคุนี (ดาววัวตัวผู้ หรือ ดาวงูเมีย) มี ๒ ดวง ๑๒. อุตรผลคุนี, อุตตรผลคุนี (ดาวเพดาน หรือ ดาววัวตัวเมีย) มี ๒ ดวง ๑๓. หัสต, หัสตะ, หัฏฐะ (ดาวศอกคู้ หรือ ดาวศีรษะช้าง) มี ๕ ดวง ๑๔. จิตระ, จิตรา (ดาวต่อมนํ้า ดาวไต้ไฟ ดาวตาจระเข้ หรือ ดาวเสือ) มี ๑ ดวง ๑๕. สวาดิ, สวาตี, สวัสติ (ดาวช้างพัง หรือ ดาวงูเหลือม) มี ๕ ดวง ๑๖. วิศาขา, วิสาขะ (ดาวคันฉัตร หรือ ดาวศีรษะกระบือ) มี ๕ ดวง ๑๗. อนุราธ, อนุราธะ, อนุราธา (ดาวประจำฉัตร หรือ ดาวนกยูง) มี ๔ ดวง ๑๘. เชษฐะ, เชษฐา (ดาวงาช้าง ดาวช้างใหญ่ ดาวคอนาค หรือ ดาวแพะ) มี ๑๔ ดวง ๑๙. มูล, มูละ, มูลา (ดาวช้างน้อย หรือ ดาวแมว) มี ๙ ดวง ๒๐. ปุรพษาฒ, บุรพอาษาฒ, บุพพาสาฬหะ (ดาวสัปคับช้าง หรือ ดาวราชสีห์ตัวผู้) มี ๓ ดวง ๒๑. อุตราษาฒ, อุตตรอาษาฒ, อุตตราสาฬหะ (ดาวแตรงอน หรือ ดาวราชสีห์ตัวเมีย) มี ๕ ดวง ๒๒. ศรวณะ, ศระวณ, สาวนะ (ดาวหลักชัย หรือ ดาวพระฤๅษี) มี ๓ ดวง ๒๓. ธนิษฐะ, ธนิษฐา (ดาวศรวิษฐา ดาวเศรษฐี ดาวไซ หรือ ดาวกา) มี ๔ ดวง ๒๔. ศตภิษัช, สตภิสชะ (ดาวพิมพ์ทอง หรือ ดาวยักษ์) มี ๔ ดวง ๒๕. บุรพภัทรบท, ปุพพภัททะ (ดาวโปฐบท ดาวแรดตัวผู้ หรือ ดาวหัวเนื้อทราย) มี ๒ ดวง ๒๖. อุตรภัทรบท, อุตตรภัทรบท, อุตตรภัททะ (ดาวแรดตัวเมีย หรือ ดาวไม้เท้า) มี ๒ ดวง ๒๗. เรวดี (ดาวปลาตะเพียน หรือ ดาวนาง) มี ๑๖ ดวง. |
นานัคครส | (นานักคะรด) น. รสเลิศต่าง ๆ เช่น นานัคครสโภชนาหาร (ม. ร่ายยาว วนปเวสน์). |
นาวา ๑ | น. ยศทหารเรือหรือทหารอากาศชั้นสัญญาบัตร สูงกว่าเรือเอกหรือเรืออากาศเอก ตํ่ากว่าพลเรือตรีหรือพลอากาศตรี. |
แจงพระรูป | วิธีเอาเถ้าถ่านและกระดูกศพที่เผาเสร็จแล้วบนกองฟอนมาเรียงลำดับเป็นอย่างรูปคน ให้หัวอยู่ทางทิศตะวันตกแล้ว หันกลับมาทางทิศตะวันออก หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า แปรรูป หรือแปรธาตุ [ศัพท์พระราชพิธี] |
พระที่นั่งทรงธรรม | อาคารโถง ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของพระเมรุ ใช้เป็นที่ประทับของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และพระบรมวงศานุวงศ์ ที่่จะเสด็จพระราชดำเนินมาทรงบำเพ็ญพระราชกุศล และเป็นที่สำหรับพระสงฆ์สดับปกรณ์ในพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพ [ศัพท์พระราชพิธี] |
หอเปลื้อง | ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกตรงมุขหลังของพระเมรุเป็นอาคารขนาดเล็ก ภายในเขตราชวัติ ลักษณะเป็นอาคารทรงไทย มีฝากั้นโดยรอบ เป็นสถานที่สำหรับเก็บพระโกศหลังจากได้เชิญพระศพขึ้นประดิษฐานบนพระจิตกาธานแล้ว [ศัพท์พระราชพิธี] |
ทิม | อาคารจำนวน ๖ หลังสร้างติดรั้วราชวัติทั้ง ๔ ทิศ ด้านทิศเหนือ ใต้ ด้านละ ๑ หลัง ด้านทิศตะวันตกและทิศตะวันออกด้านละ ๒ หลัง ด้านหน้าเปิดโล่งหลังคาเป็นลักษณะหลังคาปะรำ (หลังคาแบน) ใช้สำหรับเจ้าพนักงาน พระสงฆ์ แพทย์หลวงพัก และใช้เป็นที่ตั้งเครื่องประโคมพระศพ [ศัพท์พระราชพิธี] |
เกย | มีลักษณะเป็นยกพื้นสี่เหลี่ยมย่อไม้แปด ตั้งอยู่ด้านหน้าประตูกำแพงแก้วด้านทิศตะวันตกของพระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท [ศัพท์พระราชพิธี] |
Gas to Oil Ratio | ปริมาตรของก๊าซที่ผลิตได้ที่ความดันบรรยากาศต่อปริมาตรของน้ำมันที่ผลิตได้ [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Equivalent | เอกสารสิทธิบัตรที่เหมือนกัน / มีค่าเท่ากัน , เอกสารสิทธิบัตรที่เหมือนกัน /มีค่าเท่ากัน ในระบบฐานข้อมูล Derwent ซึ่งสัมพันธ์กันแบบเป็นการประดิษฐ์อย่างเดียวกันที่มีการยื่นจดที่สำนักงานสิทธิบัตรในประเทศต่าง ๆ [ทรัพย์สินทางปัญญา] |
Publications | เอกสารต่าง ๆ รวมถึงเอกสารสิทธิบัตรที่ประเทศต่าง ๆ ส่วนใหญ่จัดพิมพ์เตรียมไว้ให้แก่สาธารณะเข้าไปดู [ทรัพย์สินทางปัญญา] |
กบฏ | การประทุษร้าย การทรยศต่ออาณาจักร, Example: คำที่มักเขียนผิด คือ กบฎ [คำที่มักเขียนผิด] |
กะเหรี่ยง | ชื่อชนชาวเขาเผ่าหนึ่ง ปกติอาศัยอยู่ทางพรมแดนทิศตะวันตกของประเทศไทย, Example: คำที่มักเขียนผิด กระเหรี่ยง [คำที่มักเขียนผิด] |
Augmentative and Alternative Communicate | อุปกรณ์ช่วยสื่อสารแบบพกพาสำหรับผู้ที่มีปัญหาในการพูด , อุปกรณ์ขนาดเล็ก มีปุ่มที่เก็บเสียงที่บันทึกล่วงหน้าได้ ในประเทศไทยมีผลงานวิจัยภายใต้โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ชื่อ โอภา สามารถบันทึกได้ ๖๐ ข้อความ และเรียกใช้โดยการกดปุ่ม อุปกรณ์มี ๑๕ ปุ่ม และมีปุ่มเลือกชุดข้อความได้ ๔ ชุด และมีโหมดสแกนข้อความที่ทำงานคู่กับสวิตช์เดี่ยวใช้กดเลือกข้อความ [Assistive Technology] |
Digital Divide | ความเหลื่อมล้ำ (ช่องว่าง) ในการเข้าถึงสารสนเทศและความรู้, ความเหลื่อมล้ำระหว่างประชากรกลุ่มต่างๆ ภายในประเทศ ที่มีโอกาสในการเข้าถึงสารสนเทศและความรู้แตกต่างกัน เช่น ระหว่างประชากรในเมือง ใหญ่กับประชากรในชนบท ระหว่างกลุ่มประชากรที่มีเพศ อายุ ต่างกัน ระหว่างผู้ที่มีระดับการศึกษาต่างกัน ระหว่างผู้ที่มีเชื้อชาติและวัฒนธรรมที่ต่างกัน รวมถึงโอกาสในการเข้าถึงสารสนเทศและความรู้ของผู้พิการ ที่อาจน้อยกว่าบุคคลทั่วไปอีกด้วย หรืออาจะไปเปรียบเทียบความเหลื่อมล้ำระหว่างคนในประเทศต่างๆ เพราะประเทศที่มั่งคั่ง จะมีความพร้อมมากกว่าประเทศยากจน [Assistive Technology] |
25th Buddhist century aniversary | งานฉลอง 25 พุทธศตวรรษ. [TU Subject Heading] |
Adult child sexual abuse victims | ผู้ที่ถูกทารุณกรรมทางเพศตอนเด็ก [TU Subject Heading] |
History of medicine, 15th cent. | ประวัติศาสตร์การแพทย์ศตวรรษที่ 15 [TU Subject Heading] |
History of medicine, 16th cent. | ประวัติศาสตร์การแพทย์ศตวรรษที่ 16 [TU Subject Heading] |
History of medicine, 17th cent. | ประวัติศาสตร์การแพทย์ศตวรรษที่ 17 [TU Subject Heading] |
History of medicine, 18th cent. | ประวัติศาสตร์การแพทย์ศตวรรษที่ 18 [TU Subject Heading] |
History of medicine, 19th cent. | ประวัติศาสตร์การแพทย์ศตวรรษที่ 19 [TU Subject Heading] |
History of medicine, 20th cent. | ประวัติศาสตร์การแพทย์ศตวรรษที่ 20 [TU Subject Heading] |
Madrid Agreement Concerning the International Registration of Marks (1981) | การจดทะเบียนเครื่องหมายระหว่างประเทศตามข้อตกลงมาดริด (ค.ศ.1891) [TU Subject Heading] |
Sex discrimination against women | การกีดกันทางเพศต่อสตรี [TU Subject Heading] |
Sexual harassment of men | การคุกคามทางเพศต่อบุรุษ [TU Subject Heading] |
Sexual harassment of women | การคุกคามทางเพศต่อสตรี [TU Subject Heading] |
Spouses of adult child sexual abuse victims | คู่สมรสของผู้ที่ถูกทารุณกรรมทางเพศตอนเด็ก [TU Subject Heading] |
Twentieth century | ศตวรรษที่ 20 [TU Subject Heading] |
Twenty-first century | ศตวรรษที่ 21 [TU Subject Heading] |
Amnesty International | องค์การนิรโทษกรรมสากล องค์การนี้เริ่มต้นจากเป็นขบวนการเล็ก ๆ ก่อน เพื่อทำหน้าที่ประท้วง (Protest) แต่ภายในเวลาไม่นานนัก ได้ขยายตัวออกเป็นองค์การ เพื่อให้สมกับเป้าหมายและภารกิจที่ต้องปฏิบัติเพิ่มขึ้นมากมาย คติดั้งเดิมของการรณรงค์ระหว่างประเทศเพื่อสนับสนุนบรรดาบุคคลที่ต้องถูกคุม ขังอยู่ทั่วโลก ด้วยข้อหาเกี่ยวกับความเชื่อถือทางการเมืองและการศาสนานั้น ได้บังเกิดจากความคิดของบุคคลหนึ่งชื่อปีเตอร์ เบเนนสันปีเตอร์ เบเนนสัน ได้เขียนบทความลงในหนังสือพิมพ์ประจำวันอาทิตย์ของอังกฤษชื่อ Sunday Observer เมื่อเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1961 โดยให้หัวเรื่องบทความว่า ?นักโทษที่ถูกลืม? (The Forgotten Prisoners) บทความนี้ได้ประทับใจมติมหาชนทั่วโลกทันที และภายในปีเดียว องค์การได้รับเรื่องร้องเรียนในนามของนักโทษกว่า 200 รายองค์การนิรโทษกรรมสากลมีเป้าหมายนโยบายกว้างๆ อยู่ 3 ข้อ คือ ต้องการให้ปล่อยนักโทษผู้มีนโนธรรม (Prisoners of Conscience) ทั้งหมด ให้มีการยุติการทรมานนักโทษไม่ว่าด้วยวิธีใดๆ รวมทั้งการลงโทษประหารชีวิตและให้มีการพิจารณาพิพากษาคดีนักโทษการเมืองทั้ง หมดอย่างเป็นธรรมและไม่รอช้า องค์การนี้นอกจากจะมีชื่อเสียงว่าเป็นผู้ดำรงความเป็นกลางไม่เข้ากับฝ่ายใด และเป็นที่น่าเชื่อถือไว้วางใจได้อย่างแท้จริงแล้ว ยังเป็นเสมือนศูนย์ข้อมูลและข้อสนเทศที่สำคัญ ซึ่งบรรดาบุคคลสำคัญๆ ทางการเมืองทั่วโลกได้ใช้อ้างอิงอีกด้วยในปัจจุบัน องค์การนิรโทษกรรมมีสมาชิกและผู้สนับสนุนเป็นจำนวนกว่า 1 ล้านคน จากประเทศต่างๆ กว่า 150 ประเทศ องค์การอยู่ภายใต้การบริหารของคณะกรรมการบริหารจำนวน 9 คน รวมทั้งตัวเลขาธิการอีกผู้หนึ่ง ทำหน้าที่ปฏิบัติให้เป็นไปตามข้อมติเกี่ยวกับนโยบาย และเป็นหัวหน้าของสำนักเลขาธิการขององค์การด้วย มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ ณ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ องค์การมีผู้แทนของตนประจำอยู่กับองค์การสหประชาชาติ เมื่อปี ค.ศ. 1978 ได้รับรางวัลเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนของสหประชาชาติ และในปี ค.ศ. 1977 ก็ได้รับรางวัลสันติภาพโนเบลมาแล้ว [การทูต] |
Australia New Zealand Army Corps Day | วันที่ระลึกทหารผ่านศึกออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ เมื่อวันที่ 25 เมษายน 2458 หน่วยปฏิบัติการร่วมของกองทัพบกออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ได้ยกพลขึ้นบกบนคาบ สมุทรกาลิโปลี (Gallipoli) ช่องแคบดาร์ดาแนล (Dardanelles) ประเทศตุรกีเพื่อเปิดเส้นทางเดินเรือให้กับฝ่ายสัมพันธมิตรไปสู่ทะเลดำใน สงครามโลกครั้งที่ 1 ทำให้ทหารออสเตรเลียและนิวซีแลนด์เสียชีวิตเป็นจำนวนมาก ทั้งสองประเทศจึงถือเอาวันที่ 25 เมษายนของทุก ๆ ปี เป็นวันที่ระลึกและจัดพิธีไว้อาลัยแก่ทหารผ่านศึกในสมรภูมิครั้งนั้นและทหาร ผ่านศึกที่เสียชีวิตในสมรภูมิอื่น ๆ ด้วย [การทูต] |
Young Ambassador of Virtue | ยุวทูตความดี " เป็นโครงการของกระทรวงการต่างประเทศ ร่วมกับกระทรวงศึกษา- ธิการ เริ่มโครงการตั้งวันที่ 5 ธันวาคม 2542 เนื่องในวโรกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริม จริยธรรมและคุณธรรมในบรรดาเยาวชนไทย อันเป็นการเสริมคุณภาพของเยาวชนไทยให้มีครบทั้งความเก่ง ความดี และมีความสุข โดยหวังผลในที่สุดว่าคุณภาพของเยาวชนรุ่นใหม่ของไทยจะเป็นการเสริมสร้างพื้น ฐานความแข็งแกร่งแก่สังคมไทยและส่งเสริมให้ความสามารถในการแข่งขันของไทยใน โลกอนาคตมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นในยุคโลกา- ภิวัฒน์ นอกจากการส่งเสริมให้เยาวชนไทยมีความรู้คู่คุณธรรมแล้ว โครงการยุวทูตความดียังส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างเยาวชนไทยและเยาวชนของ ประเทศต่าง ๆ โดยผ่านทางโรงเรียนพี่โรงเรียนน้อง (Sister schools - โรงเรียนในประเทศที่ต่างกันที่มีความสัมพันธ์ระหว่างกัน) " [การทูต] |
Convention on Elimination of All Forms of Discrimination Against Women | อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ ได้รับการรับรองจากที่ประชุมสมัชชาสหประชาชาติ เมื่อปี พ.ศ. 2522 และมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 3 กันยายน 2527 มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบและเพื่อความ เสมอภาคระหว่างสตรีและบุรุษในทุกด้าน ขณะนี้มีประเทศต่าง ๆ เป็นภาคีอนุสัญญาฯ แล้ว 167 ประเทศ (ข้อมูลถึงกรกฎาคม 2543) ไทยยังคงมีข้อสงวนอีก 2 ข้อ ในอนุสัญญาฯ คือ ข้อ 16 เรื่องความเสมอภาคในด้านครอบครัวและการสมรส และ ข้อ 29 เรื่องการระงับการตีความ การระงับข้อพิพาท โดยรับอนุญาโตตุลาการ [การทูต] |
Commission on Human Rights | คณะกรรมาธิการสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ เป็นคณะกรรมาธิการหลัก ซึ่งรับผิดชอบในการเสาะหามาตรการในการส่งเสริมเรื่องสิทธิมนุษยชนในประเทศ ต่าง ๆ ทั่วโลก รวมทั้งตรวจสอบและสอดส่องการดำเนินการด้านการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษย ชนในประเทศต่าง ๆ ด้วย คณะกรรมาธิการฯ ประกอบด้วยสมาชิกจำนวน 53 ประเทศ มาจากการเลือกตั้ง ดำรงตำแหน่งวาระละ 3 ปี คณะกรรมาธิการฯ โดยจะมีการประชุมเป็นประจำทุกปี ประมาณเดือนมีนาคม-เมษายน ณ นครเจนีวา ประเทศไทยได้รับเลือกตั้งเข้าเป็นสมาชิกคณะกรรมาธิการฯ สำหรับวาระ พ.ศ. 2544-2546 [การทูต] |
Commission on Human Rights | คณะกรรมาธิการว่าด้วยสิทธิมนุษยชน แต่งตั้งขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1946 ตามมติของคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมของสหประชาชาติ มีหน้าที่รับผิดชอบในการเสนอข้อเสนอแนะและรายงานการสอบสวนต่าง ๆ เกี่ยวกับประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนไปยังสมัชชา (General Assembly) สหประชาชาติ โดยผ่านคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม คณะกรรมาธิการประกอบด้วยผู้แทนประเทศสมาชิก 53 ประเทศ ซึ่งได้รับเลือกตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่ตามวาระ 3 ปี มีการประชุมกันทุกปี ปีละ 6 สัปดาห์ ณ นครเจนีวา และเมื่อไม่นานมานี้ คณะกรรมาธิการได้จัดตั้งกลไกเพื่อให้ทำหน้าที่สอบสวนเกี่ยวกับปัญหาสิทธิ มนุษยชนเฉพาะในบางประเทศ กลไกดังกล่าวประกอบด้วยคณะทำงาน (Working Groups) ต่าง ๆ รวมทั้งเจ้าหน้าที่พิเศษที่สหประชาชาติแต่งตั้งขึ้น (Rapporteurs) เพื่อให้ทำหน้าที่ศึกษาและสอบสวนประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนโดยเฉพาะในบาง ประเทศมีเรื่องน่าสนใจคือ ใน ค.ศ. 1993 ได้มีการประชุมในระดับโลกขึ้นที่กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย ซึ่งแสดงถึงความพยายามของชุมชนโลก ที่จะส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นมูลฐานไม่ว่าที่ไหน ในระเบียบวาระของการประชุมดังกล่าว มีเรื่องอุปสรรคต่างๆ ที่เห็นว่ายังขัดขวางความคืบหน้าของการดำเนินงานด้านสิทธิมนุษยชน รวมทั้งการหาหนทางที่จะเอาชนะอุปสรรคเหล่านั้น เรื่องความเกี่ยวพันกันระหว่างการพัฒนาลัทธิประชาธิปไตย และการให้สิทธิมนุษยชนทั่วโลก เรื่องการท้าทายต่างๆ ที่เกิดขึ้นใหม่ ซึ่งทำให้ไม่อาจปฏิบัติให้บรรลุผลอย่างสมบูรณ์ในด้านสิทธิมนุษยชน เรื่องการหาหนทางที่จะกระชับความร่วมมือระหว่างประเทศในด้านสิทธิมนุษยชน และการที่จะส่งเสริมศักยภาพของสหประชาชาติในการดำเนินงานในเรื่องนี้ให้ได้ ผล ตลอดจนเรื่องการหาทุนรอนและทรัพยากรต่างๆ เพื่อใช้ในการปฏิบัติงานดังกล่าวในการประชุมระดับโลกครั้งนี้มีรัฐบาลของ ประเทศต่างๆ บรรดาองค์กรของสหประชาชาติ สถาบันต่างๆ ในระดับประเทศชาติ ตลอดจนองค์การที่มิใช่ของรัฐบาลเข้าร่วมรวม 841 แห่ง ซึ่งนับว่ามากเป็นประวัติการณ์ ช่วงสุดท้ายของการประชุมที่ประชุมได้พร้อมใจกันโดยมิต้องลงคะแนนเสียง (Consensus) ออกคำปฏิญญา (Declaration) แห่งกรุงเวียนนา ซึ่งมีประเทศต่าง ๆ รับรองรวม 171 ประเทศ ให้มีการปฏิบัติให้เป็นผลตามข้อเสนอแนะต่างๆ ของที่ประชุม เช่น ข้อเสนอแนะให้ตั้งข้าหลวงใหญ่เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนหนึ่งตำแหน่งให้มีการรับ รู้และรับรองว่า ลัทธิประชาธิปไตยเป็นสิทธิมนุษยชนอันหนึ่ง ซี่งเป็นการเปิดโอกาสให้ลัทธิประชาธิปไตยได้รับการสนับสนุนส่งเสริมให้มั่น คงยิ่งขึ้น รวมทั้งกระชับหลักนิติธรรม (Rule of Law) นอกจากนี้ยังมีเรื่องการรับรองว่า การก่อการร้าย (Terrorism) เป็นการกระทำที่ถือว่ามุ่งทำลายสิทธิมนุษยชน ทั้งยังให้ความสนับสนุนมากขึ้นในนโยบายและแผนการที่จะกำจัดลัทธิการถือเชื้อ ชาติและเผ่าพันธุ์ การเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับเชื้อชาติ การเกลียดคนต่างชาติอย่างไร้เหตุผล และการขาดอหิงสา (Intolerance) เป็นต้นคำปฎิญญากรุงเวียนนายังชี้ให้เห็นการล่วงละเมิดสิทธิมนุษยชน อย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ (Genocide) และการข่มขืนชำเราอย่างเป็นระบบ (Systematic Rape) เป็นต้น [การทูต] |
comprehensive plan of action | แผนปฏิบัติการที่สมบูรณ์แบบ เป็นแผนปฏิบัติการแก้ไขปัญหาผู้หนีภัยอย่างสมบูรณ์ โดยความร่วมมือระหว่างประเทศต้นเหตุ ประเทศที่ต้องแบกรับภาระ สำนักงานข้าหลวงใหญ่เพื่อผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติ และประเทศที่ให้ความช่วยเหลือ แผนปฏิบัติการที่สมบูรณ์แบบนี้เป็นการแก้ไขปัญหาแบบครบวงจร ตั้งแต่กระบวนการป้องกันปัญหา การให้ความช่วยเหลือผู้หนีภัย โดยจัดที่พักพิงชั่วคราวตามหลักมนุษยธรรม การส่งตัวกลับเมื่อสถานการณ์ในประเทศต้นเหตุกลับคืนสู่สภาพปกติแล้ว และการหาที่พักพิงให้แก่ผู้หนีภัยในประทศที่สาม [การทูต] |
Consul | ข้าราชการที่ได้รับแต่งตั้งอย่างถูกต้องและได้รับ มอบหมายให้ไปประจำยังต่างประเทศ เพื่อทำหน้าที่ดูแลผลประโยชน์ของประเทศทั้งในด้าน พาณิชย์ การเดินเรือ คุ้มครองความเป็นอยู่อันดีของพลเมืองของประเทศตน พร้อมทั้งปฏิบัติหน้าที่บางอย่างด้านธุรการ หรือวางระเบียบแบบแผนที่ใช้เป็นประจำ ตลอดจนด้านการเป็นสักขีพยานการลงนามในเอกสาร เพื่อให้เอกสารนั้นมีผลบังคับทางกฎหมาย (Notary) การให้การตรวจลงตรา รวมทั้งการรับรองเอกสารที่แท้จริง (มิใช่เอกสารปลอม) และจัดการการสัตย์สาบานตนหรืออีกนัยหนึ่ง ภาระหน้าที่ของกงสุลอาจแบ่งออกได้เป็น 5 ประการ ดังต่อไปนี้1 ทำหน้าที่ส่งเสริมผลประโยชน์ในทางพาณิชย์ของประเทศที่ตนเป็นผู้แทนอยู่2 ควบคุมดูแลผลประโยชน์ด้านการเดินเรือ3 คุ้มครองผลประโยชน์ของคนชาติของประเทศที่แต่งตั้งให้ตนไปประจำอยู่4 ทำหน้าที่สักขีพยานในการลงนามในเอกสารเพื่อให้เอกสารนั้นมีผลบังคับทาง กฎหมาย5 ทำหน้าที่ธุรการเบ็ดเตล็ดอื่นๆ หรือระเบียบแบบแผนที่ใช้เป็นประจำ เช่น การออกหนังสือเดินทาง การให้การตรวจลงตรา (Visas) การจดทะเบียนคนเกิด คนตาย ฯลฯอนุสัญญากรุงเวียนนา ภาคที่ว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุลข้อที่ 5 ได้กำหนดภาระหน้าที่ของฝ่ายกงสุลไว้ดังต่อไปนี้ ก. คุ้มครองผลประโยชน์ของรัฐผู้ส่ง และของคนในชาติของรัฐผู้ส่ง ทั้งเอกชนและบรรษัทในรัฐผู้รับ ภายในขีดจำกัดที่กฎหมายระหว่างประเทศอนุญาตข. เพิ่มพูนการพัฒนาความสัมพันธ์ทางด้านการพาณิชย์ เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และวิทยาการ ระหว่างรัฐผู้ส่งกับรัฐผู้รับ รวมทั้งส่งเสริมความสัมพันธ์ฉันมิตรระหว่างกันในทางอื่น ตามบทแห่งอนุสัญญานี้ค. สืบเสาะให้แน่โดยวิถีทางทั้งปวงอันชอบด้วยกฎหมายถึงภาวะและความคลี่คลายใน ทางพาณิชย์ เศรษฐกิจ วัฒนธรรมและวิทยาการของรัฐผู้รับ แล้วรายงานผลของการนั้นไปยังรัฐบาลของรัฐผู้ส่ง และให้ข้อสนเทศแก่บุคคลที่สนใจง. ออกหนังสือเดินทางและเอกสารการเดินทางให้แก่คนในชาติของรัฐผู้ส่ง ตรวจลงตราหนังสือเดินทาง หรือออกเอกสารที่เหมาะสมให้แก่บุคคลที่ประสงค์จะเดินทางไปยังรัฐผู้ส่งจ. ช่วยเหลือคนในชาติของรัฐผู้ส่งทั้งเอกชนและบรรษัทฉ. ทำหน้าที่นิติกรและนายทะเบียนราษฎร์ และในฐานะอื่นที่คล้ายคลึงกัน ปฏิบัติการหน้าที่บางประการอันมีสภาพทางธุรการ หากว่าการหน้าที่นั้นไม่ขัดกับกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับช. พิทักษ์รักษาผลประโยชน์ของผู้เยาว์ และบุคคลไร้ความสามารถ ซึ่งเป็นคนชาติของรัฐผู้ส่ง ภายในขีดจำกัดที่ได้ตั้งบังคับไว้โดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ โดยเฉพาะในกรณีที่จำเป็นต้องมีความปกครองหรือภาวะทรัสตีใดๆ ในส่วนที่เกี่ยวกับบุคคลเหล่านั้นฌ. แทนคนชาติของรัฐผู้ส่ง หรือจัดให้มีการแทนอย่างเหมาะสมในองค์กรตุลาการ และต่อเจ้าหน้าที่ที่อื่นของรัฐผู้รับ เพื่อความมุ่งประสงค์ที่จะให้ได้มา ซึ่งมาตรการชั่วคราวสำหรับการรักษาสิทธิและผลประโยชน์ของคนในชาติเหล่านี้ ไว้ตามกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ ในกรณีที่คนในชาติเหล่านี้ไม่สามารถเข้าทำการป้องกันสิทธิและผลประโยชน์ของ ตนในเวลาอันเหมาะสมได้ เพราะเหตุของการไม่อยู่หรือเหตุอื่นใด ทั้งนี้ ให้อยู่ภายในข้อบังคับแห่งทางปฏิบัติ และวิธีดำเนินการซึ่งมีอยู่ในรัฐผู้รับญ. ส่งเอกสารทางศาล หรือเอกสารที่มิใช่ทางศาล หรือปฏิบัติตาม หนังสือของศาลของรัฐผู้ส่งที่ขอให้สืบประเด็น หรือตามการมอบหมายให้สืบพยานให้แก่ศาลของรัฐผู้ส่งนั้น ตามความตกลงระหว่างประเทศที่ใช้บังคับอยู่ หรือเมื่อไม่มีความตกลงระหว่างประเทศเช่นว่านั้น โดยทำนองอื่นใดที่ต้องด้วยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับด. ใช้สิทธิควบคุมดูแลและตรวจพินิจตามที่ได้บัญญัติไว้ในกฎหมายและข้อบังคับของ รัฐผู้ส่ง ในส่วนที่เกี่ยวกับเรือที่มีสัญชาติของของรัฐผู้ส่ง หรืออากาศยานที่จดทะเบียนในรัฐนั้น รวมทั้งในส่วนที่เกี่ยวกับลูกเรือของเรือและอากาศยานดังกล่าวต. ให้ความช่วยเหลือแก่เรือและอากาศยานที่ระบุไว้ในอนุวรรค (ด) ของข้อนี้ รวมทั้งลูกเรือของเรือและอากาศยานนั้น บันทึกถ้อยคำเกี่ยวกับการเดินทางของเรือ ตรวจดูและประทับตรากระดาษเอกสารของเรือ ดำเนินการสืบสวนอุบัติเหตุใด ๆ ที่ได้เกิดขึ้นในระหว่างนายเรือ ดำเนินการสืบสวนอุบัติเหตุใดๆ ที่ได้เกิดขั้นในระหว่างนายเรือ เจ้าพนักงาน และกะลาสี ตราบเท่าที่การนี้อาจได้อนุมัติไว้โดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้ส่ง ทั้งนี้ จะต้องไม่เป็นการเสื่อมเสียแก่อำนาจของเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้รับถ. ปฏิบัติการหน้าที่อื่นใดที่รัฐผู้ส่งมอบหมายแก่สถานีทำการทางกงสุล ซึ่งมิได้ต้องห้ามโดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ หรือซึ่งไม่มีการแสดงข้อคัดค้านโดยรัฐผู้รับ หรือซึ่งมีอ้างถึงไว้ในความตกลงระหว่างประเทศ ที่ใช้บังคับอยู่ระหว่างรัฐผู้ส่งและรัฐผู้รับ [การทูต] |
CSI | เป็นโครงการที่ริเริ่มขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2545 โดยสำนักศุลกากรและป้องกันชายแดนสหรัฐอเมริกา ( US Bureau of Customs and Border Protection )ภายใต้กระทรวง Department of Homeland Security มีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มความปลอดภัยให้แก่สินค้าที่ขนส่งเข้าไปยังสหรัฐ อเมริกา ด้วยการติดตั้งระบบติดตามตู้บรรทุกสินค้าที่มีความเสี่ยงต่อการก่อการร้าย และมีระบบตรวจสอบตู้บรรทุกสินค้าก่อนออกจากประเทศต้นทางไปสู่สหรัฐอเมริกา [การทูต] |
D-8 | กลุ่มความร่วมมือของประเทศกำลังพัฒนาที่เป็นมุสลิมและเป็นสมาชิก OIC " ซึ่งมีประชากรมากที่สุด ประกอบด้วยสมาชิก 8 ประเทศ ได้แก่ บังกลาเทศ ปากีสถาน อินโดนีเซีย มาเลเซีย อียิปต์ อิหร่าน ตุรกี และไนจีเรีย จัดการประชุมสุดยอดครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 มิถุนายน 2540 ที่นครอิสตันบูล ประเทศตุรกี " [การทูต] |
Diplomatic Language | ภาษาการทูต ในสมัยโบราณจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 18 รัฐทั้งหลายในสมัยนั้นได้นิยมใช้ภาษาละตินเป็นภาษาการทูตและก็เป็นภาษาเดียว ที่ใช้กันในยุโรปภาคกลางและภาคตะวันตก ต่อมาในราวกลางคริสต์ศตวรรษที่ 18 ได้ใช้ภาษาฝรั่งเศสแทนภาษาละตินเป็นภาษาการทูต และใช้กันตลอดมาจนถึงสมัยสงครามโลกครั้งแรก หลังจากเสร็จสงครามโลกครั้งแรกจนถึงสงครามโลกครั้งที่สอง รัฐต่างๆ เริ่มนิยมใช้ภาษาอังกฤษมากขึ้น และใช้มาจนถึงปัจจุบันนี้ แต่ก็ยังไม่มีการรับรองเป็นทางการกันว่าให้ใช้ภาษาใดเป็นภาษาทางการทูตใน องค์กรทั้งหมดของสหประชาชาติยกเว้นศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ใช้ 5 ภาษาเป็นภาษาราชการ คือ ภาษาจีน รัสเซีย สเปน อังกฤษ และฝรั่งเศส ดังนั้น ในการประชุมใด ๆ ณ องค์การสหประชาชาติ หากมีการแถลงเป็นภาษาหนึ่ง ก็จะมีการแปลเป็นอีก 4 ภาษาเกือบพร้อมกันในทันที (Simultaneous Translation) สำหรับศาลยุติธรรมระหว่างประเทศนั้น ภาษาที่ใช้เป็นภาษาราชการคือ ภาษาอังกฤษและฝรั่งเศส เพียงสองภาษา [การทูต] |
Gorbachev doctrine | นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต] |
Government in Exile | รัฐบาลพลัดถิ่น คือระหว่างที่สงครามยังดำเนินอยู่ ประเทศคู่สงครามหนึ่งอาจถูกกองทัพของประเทศฝ่ายศัตรูเข้ายึดครอง ในสถานการณ์เช่นนั้น ตัวหัวหน้าของรัฐบาลหรือรัฐมนตรีของประเทศที่ถูกยึดครองอำนาจอาจไปตั้ง รรัฐบาลขึ้นชั่วคราวในดินแดนของประเทศพันธมิตรหนึ่ง ซึ่งยินยอมให้ทำเช่นนั้น รัฐบาลที่ตั้งขึ้นเป็นการชั่วคราวดังกล่าวเรียกว่า รัฐบาลพลัดถิ่น ตราบใดที่รัฐบาลพลัดถิ่นได้รับการรับรองฐานะเป็นตัวแทนของประเทศตน ย่อมดำเนินกิจการหน้าที่ของประเทศในส่วนที่เกี่ยวข้องกับประเทศอื่นๆ ได้ รัฐบาลพลัดถิ่นจะยังคงสถานภาพของตนไว้ตราบเท่าที่ยังไม่มีความพยายามต่อไป ที่จะยึดเอาดินแดนของตนที่ข้าศึกครองอยู่กลับคืนมาให้ได้ ตัวอย่างของรัฐบาลพลัดถิ่นที่เคยมีมาแล้วคือ รัฐบาลของประเทศโปแลนด์ เบลเยียม เนเธอร์แลนด์ กรีซ และยูโกสลาเวีย ซึ่งได้ไปตั้งอยู่ในประเทศอังกฤษ เมื่อระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ตอนที่ดินแดนของประเทศเหล่านี้ได้ถูกกองทัพของเยอรมนีเข้ายึดครอง [การทูต] |
Heads of State | ผู้แทนที่สำคัญที่สุดของรัฐ หรือประมุขของรัฐ ในบางกรณีอาจทำหน้าที่เป็นตัวแทนของรัฐ ในการเจริญความสัมพันธ์กับประเทศต่างๆ โดยมีอำนาจเต็มที่จะประกอบการใด ๆ ได้ ประมุขของรัฐนั้นอาจได้แก่ พระจักรพรรดิ (Emperor) พระเจ้าแผ่นดิน (King) พระราชินี (Queen) และประธานาธิบดี (President)ประมุขของรัฐย่อมมีสิทธิที่จะได้รับการเคารพ และการยอมรับนับถือจากประเทศอื่นๆ ในสังคมนานาประเทศ ในแง่พิธีการทูต ผู้ที่เป็นกษัตริย์อาจได้รับเกียรติแตกต่างกับผู้ที่เป็นประธานาธิบดี แต่ความแตกต่างเช่นนี้หามีความสำคัญในแง่กฎหมายอย่างใดไม่ เมื่อประมุขของรัฐเดินทางไปเยือนต่างประเทศ ตัวประมุขพร้อมด้วยบุคคลในครอบครัวและบริวารทั้งหลาย ตลอดจนถึงทรัพย์สินของประมุขจะไดรับความคุ้มกัน (Immunity) ทั้งในทางแพ่งและอาญาคำว่าประมุขของรัฐอาจหมายถึงหัวหน้าของรัฐบาลก็ได้ เช่น ในกรณีสหรัฐอเมริกา แต่ในบางประเทศ เช่น อังกฤษ ประมุขของรัฐมิได้เป็นหัวหน้าของรัฐบาล ผู้ที่เป็นหัวหน้าของรัฐบาลได้แก่ นายกรัฐมนตรี (Prime Minister) ในประเทศที่มีการปกครองในรูปสาธารณรัฐ (Republic) ถือว่าอำนาจอธิปไตยตกอยู่กับประชาชน แม้แต่ตัวประธานาธิบดีของประเทศก็ไม่มีอำนาจอธิปไตย หากแต่เป็นประชาชนพลเมืองคนหนึ่ง ซึ่งได้รับการเลือกตั้งให้เข้าไปบริหารประเทศตามกำหนดระยะเวลาหนึ่งภายใต้ รัฐธรรมนูญ และตัวประธานาธิบดี เช่น ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา ก็อาจถูกฟ้องให้ขับออกจากตำแหน่งโดยรัฐสภา หรือสภานิติบัญญัติได้ เรียกว่า Impeachment [การทูต] |
Humanitarian Intervention | การแทรกแซงเพื่อมนุษยธรรม " เป็นแนวคิดที่นายโคฟี อันนาน เลขาธิการสหประชาชาติเสนออย่างเป็น ทางการครั้งแรกต่อที่ประชุมสมัชชาสหประชาชาติ สมัยที่ 54 เมื่อปี พ.ศ. 2542 โดยมุ่งจะให้สหประชาชาติสามารถเข้าไปแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนภาย ในประเทศต่าง ๆ ได้โดย คำนึงถึงประเด็นเรื่องมนุษยธรรมเป็นหลัก ขณะนี้ แนวคิดนี้ยังคงเป็นที่ถกเถียงกันและยังไม่ยุติ โดยบางประเทศเห็นว่า เป็นการดำเนินการที่ขัดต่อกฎบัตรสหประชาชาติและกฎหมายระหว่างประเทศ เนื่องจากเป็นการละเมิดอธิปไตยของรัฐ บางประเทศเห็นว่าเป็นมาตรการที่จำเป็นเพื่อแก้ปัญหาของมนุษยชาติ ส่วนบางประเทศเห็นว่าการแทรกแซงดังกล่าวจะต้องอยู่ใต้กรอบหลักเกณฑ์ หรือกรอบกฎหมายบางประการ เช่น กฎบัตรสหประชาชาติ " [การทูต] |
Inter-Governmental Maritime Consultative Organization | องค์การที่ปรึกษาทางทะเลระหว่างรัฐบาล หมายถึงองค์การที่ปรึกษาเกี่ยวกับการเดินเรือทางทะเล ระหว่างรัฐบาล องค์การนี้มีฐานะเป็นองค์การชำนัญพิเศษแห่งหนึ่งขององค์การสหประชาชาติ ประเทศทั้งหมดรวม 35 ประเทศ ได้ประชุมร่วมกันจัดทำอนุสัญญาขององค์การนี้ขึ้นเป็นครั้งแรก ในการประชุมขององค์การที่ปรึกษาการเดินเรือทางทะเล ณ กรุงเจนีวา เมื่อวันที่ 6 มีนาคม ค.ศ. 1948 อนุสัญญามีผลบังคับใช้เมื่อ วันที่ 17 มีนาคม ค.ศ. 1958 เมื่อมีประเทศต่าง ๆ รวม 21 ประเทศได้ให้สัตยาบัน ซึ่งในจำนวนนี้ 7 ประเทศเป็นอย่างน้อยจะต้องมีเรือเดินทะเลของตนไม่น้อยกว่า 1 ล้านตัน (Gross tons) วัตถุประสงค์ขององค์การ IMCO คือ1. จัดวางกลไกเพื่อความร่วมมือกันระหว่างรัฐบาลประเทศสมาชิก ในด้านการวางระเบียบข้อบังคับของราชการ และการปฏิบัติซึ่งเกี่ยวข้องกับเรื่องทางวิชาการหรือเทคนิค รวมทั้งเรื่องที่เกี่ยวกับความปลอดภัยทางทะเล2. สนับสนุนให้มีการยกเลิกการกระทำที่เลือกที่รักมักที่ชัง และข้อจำกัดต่าง ๆ ที่ไม่จำเป็นของรัฐบาล3. รับพิจารณาเรื่องต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติในทำนองตั้งข้อจำกัดอย่างไม่ยุติธรรมของบริษัท หรือองค์การเดินเรือทั้งหลาย4. รับพิจารณาเรื่องใด ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเดินเรือ ที่องค์การหนึ่งใดหรือองค์การชำนัญพิเศษของสหประชาชาติส่งมาให้พิจารณา 5. จัดให้มีการแลกเปลี่ยนข่าวสารข้อสนเทศใด ๆ ระหว่างรัฐบาลเกี่ยวกับเรื่องที่องค์การ IMCO กำลังพิจารณาอยู่องค์การนี้ยังจัดให้มีการร่างอนุสัญญาและความตกลงต่าง ๆ รวมทั้งส่งข้อเสนอแนะเหล่านี้ไปให้รัฐบาล และองค์การระหว่างรัฐบาลทั้งหลาย รวมทั้งจัดการประชุมเท่าที่พิจารณาเห็นว่าจำเป็นองค์การนี้ประชุมกันทุกสอง ปี มีหน้าที่วางนโยบายเกี่ยวกับการเดินเรือทางทะเล ระหว่างสมัยประชุมจะมีคณะเจ้าหน้าที่ขององค์การ เรียกว่า คณะมนตรี (Council) ทำหน้าที่บริหารงานในองค์การ คณะมนตรีประกอบด้วยสมาชิก 16 คน ในจำนวนนี้ 8 คน เป็นผู้แทนจากประเทศที่สนใจให้การบริการเกี่ยวกับการเดินเรือระหว่างประเทศ และอีก 8 คนเป็นตัวแทนจากประเทศที่สนใจการค้าทางทะเลระหว่างประเทศ องค์การมีสำนักเลขาธิการ ประกอบด้วยตัวเลขาธิการ เลขานุการคณะกรรมการเกี่ยวกับความปลอดภัยทางทะเล และเจ้าหน้าที่ประจำตามจำนวนที่องค์การต้องการแล้วแต่กรณี สำนักงานใหญ่ขององค์การตั้งอยู่ในกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ [การทูต] |
International Finance Corporation | คือบรรษัทการเงินระหว่างประเทศ ตั้งขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อเดือนกรกฎาคม ค.ศ.1956 และเริ่มมีฐานะเป็นองค์การชำนัญพิเศษที่มีสัมพันธ์กับองค์การสหประชาชาติ เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1957 แม้บรรษัทจะดำเนินงานใกล้ชิดกับธนาคารโลก แต่ก็มีฐานะเป็นสิ่งที่มีตัวตนทางกฎหมายแยกต่างหาก และมีกองทุนที่แตกต่างจากกองทุนของธนาคารโลกด้วยวัตถุประสงค์ของบรรษัทคือ ส่งเสริมการพัฒนาทางเศรษฐกิจ โดยสนับสนุนให้การผลิตของวิสาหกิจของเอกชนในประเทศสมาชิกเจริญเติบโตยิ่ง ขึ้น การที่จะกระทำตามวัตถุประสงค์นี้ได้ บรรษัทจะนำเงินไปลงทุนในวิสาหกิจด้านการผลิตฝ่ายเอกชน โดยดำเนินงานร่วมกับเอกชนผู้ลงทุน ทำหน้าที่เป็นสำนักหักบัญชี (Clearing House) คล้ายกับเป็นแหล่งรวมโอกาสต่าง ๆ ของการลงทุนฝ่ายเอกชนทั้งจากต่างประเทศและในประเทศ รวมทั้งฝ่ายจัดการที่มีประสบการณ์ชำนาญ นอกจากนั้น ยังช่วยกระตุ้นการลงทุนด้านการผลิตของเอกชนทั้งภายในและต่างประเทศด้วย บรรษัทยังได้รับอนุญาตให้ทำการกู้ยืมเงินโดยใช้วิธีขายพันธบัตรของตนเอง รวมทั้งตั๋วสัญญาการใช้เงินบรรษัทการเงินระหว่างประเทศดำเนินงานโดยองค์กร ต่าง ๆ ของตน คืออำนาจทั้งหมดของบรรษัทจะขึ้นอยู่กับคณะผู้ว่าการ (Board of Govemors) ประกอบด้วยผู้ว่าการและผู้ว่าการสำรอง (Altemates) จากธนาคารโลกซึ่งเป็นตัวแทนของประเทศต่าง ๆ อันเป็นสมาชิกของบรรษัทด้วย คณะผู้ว่าการจะคอยควบคุมดูแลการปฏิบัติงานของบรรษัทให้ถูกต้อง ตัวประธานธนาคารโลก จะทำหน้าที่เป็นประธานคณะผู้ว่าการของบรรษัทโดยตำแหน่งด้วย บรรษัทมีสำนักงานตั้งอยู่ที่กรุงวอชิงตันดีซี [การทูต] |
International Law Commission of the United Nations | คือคณะกรรมการกฎหมายระหว่างประเทศของสหประชาชาติ มีวัตถุประสงค์ที่จะส่งเสริมปรับปรุงกฎหมายระหว่า ประเทศ รวมทั้งการทำประมวลกฎหมายให้ก้าวหน้าและทันสมัยคณะกรรมาธิการนี้ประกอบด้วย สมาชิกรวม 25 คน ซึ่งได้รับการเลือกตั้งให้ดำรงอยู่ในตำแหน่งสมาชิกคราวละ 5 ปี และจะทำงานในคณะกรรมาธิการในฐานะตัวบุคคล มิใช่เป็นตัวแทนจากประเทศของตน ตลอดการประชุมสมัชชาสหประชาชาติเป็นจำนวนหลายสมัยมาแล้ว คณะกรรมาธิการได้ทำหน้าที่ร่างกฎหมายในเรื่องต่าง ๆ ที่เป็นกฎหมายระหว่างประเทศเป็นจำนวนไม่น้อย บางเรื่องได้ริเริ่มขึ้นเองโดยคณะกรรมาธิการ แต่บางเรื่องทางสมัชชาสหประชาชาติหรือคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม ได้ส่งไปให้พิจารณาดำเนินการคณะกรรมาธิการได้ร่างสัญญาเกี่ยวกับกฎหมายทาง ทะเลไปแล้วไม่น้อยกว่า 4 ฉบับ เช่น อนุสัญญาว่าด้วยทะเลหลวง อนุสัญญาว่าด้วยอาณาเขตทางทะเลและพื้นที่ติดชายฝั่งอนุสัญญาเกี่ยวกับการจับ ปลา การอนุรักษ์ทรัพยากรที่มีชีวิตในท้องทะเลหลวง พร้อมทั้งได้รับสัตยาบันสารจากประเทศต่าง ๆ ไว้แล้วเป็นจำนวนมาก เมื่อ ค.ศ.1961 และ 1963 คณะกรรมาธิการได้จัดให้มีการประชุมใหญ่สองครั้งตามลำดับ ณ กรุงเวียนนา พร้อมทั้งได้ลงมติรับรองอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต และอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุล [การทูต] |
Joint Commission | คณะกรรมาธิการร่วม " เป็นกลไกความร่วมมือในระดับทวิภาคีระหว่างประเทศไทยกับประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก JC มีบทบาทในการดูแลและส่งเสริมความสัมพันธ์ในด้านต่าง ๆ เช่น ด้านการเมือง เศรษฐกิจ การค้า การลงทุน วัฒนธรรม และสังคม โดยแต่ละฝ่ายจะสลับกันเป็นเจ้าภาพในการจัดการประชุม ซึ่งอาจมีขึ้นปีละครั้งหรือ 2-3 ปีต่อครั้ง ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมและความสะดวกของทั้งสองฝ่าย JC อาจมีกลไกย่อยหรือคณะกรรมการภายใต้ JC เพื่อกำกับดูแลเฉพาะเรื่องหรือมีคณะกรรมการในระดับส่วน ภูมิภาค เช่น ไทยกับมาเลเซียมีคณะกรรมการชายแดนทั่วไป (General Border Committee - GBC) มีบทบาทในการดูแลความร่วมมือด้านการทหารและความมั่นคงบริเวณชายแดน และมีคณะกรรมการจัดทำหลักเขตแดนทางบก (Land Boundary Committee - LBC) เพื่อดูแลการจัดทำหลักเขตแดนระหว่างประเทศทั้งสอง นอกจากนั้น ยังมีคณะกรรมการร่วมทางการค้า (Joint Trade Committee - JTC) ระหว่างไทยกับบางประเทศ เป็นกลไกเพื่อส่งเสริมการค้าและขจัดอุปสรรคทางการค้าระหว่างกัน " [การทูต] |
Look West Policy | นโยบายมองตะวันตก (ของไทย) เป็นแนวความคิดที่จะช่วยให้ประเทศไทยสามารถเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงในทางการ เมืองและเศรษฐกิจระหว่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยสอดคล้องกับความเป็นจริงของยุคหลังสงครามเย็น ประเทศเป้าหมาย ได้แก่ ประเทศต่าง ๆ ในเอเชียใต้ ตะวันออกกลาง และแอฟริกา [การทูต] |
Millennium Summit | การประชุมสุดยอดแห่งสหัสวรรษ การประชุมสุดยอดของประมุขของรัฐและหัวหน้ารัฐบาลที่จัดขึ้น ณ สำนักงานใหญ่สหประชาชาติ ณ นครนิวยอร์ก ระหว่างวันที่ 6-8 กันยายน 2543 (ค.ศ. 2000) เพื่อให้ผู้นำประเทศต่าง ๆ เสนอข้อคิดเห็นต่อการกำหนดทิศทางการดำเนินงานของสหประชาชาติในศตวรรษที่ 21 ให้สามารถเผชิญต่อความเปลี่ยนแปลงและสิ่งท้าทายต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ [ ที่ประชุมยืนยันพันธกรณีร่วมกันที่จะเสริมสร้างความแข็งแกร่งให้แก่สหประชา ชาติในการดำเนินการเรื่องสำคัญของมนุษยชาติ ดังระบุไว้ในปฏิญญาแห่งสหัสวรรษ (Millennium Declaration) ] [การทูต] |
Multiple Representation | คือการเป็นตัวแทนประจำประเทศต่าง ๆ มากกว่าหนึ่งแห่ง ตามหลักทั่วไป รัฐหนึ่งจะแต่งตั้งบุคคลหนึ่งให้ไปประจำเพียงรัฐเดียวในตำแหน่งเอกอัคร ราชทูต แต่มาในทุกวันนี้ เนื่องจากงบประมาณของประเทศมีจำกัด จึงเป็นธรรมเนียมแพร่หลายที่จะตั้งให้เอกอัครราชทูตคนเดียวไปประจำปลาย ประเทศได้ในเวลาเดียวกัน ยกเว้นแต่ว่ารัฐผู้รับหนึ่งใดจะแสดงการคัดค้านอย่างแจ้งชัดเอกอัครราชทูตคน เดียวกัน ซึ่งไปประจำอยู่หลายประเทศนั้น จะมีถิ่นพำนักถาวร (Permanent Residence) อยู่ในนครหลวงของเพียงประเทศหนึ่ง ส่วนในประเทศที่เหลือที่เขาเป็นเอกอัครราชทูตประจำอยู่ด้วยนั้น เขาไปพำนักอยู่เพียงระยะเวลาจำกัดเป็นพัก ๆ รัฐผู้ส่งจะมีคณะผู้แทนทางการทูตของตนไปประจำ ณ นครหลวงของแต่ละประเทศเหล่านั้น ตัวหัวหน้าคณะแต่ละแห่งจะมีตำแหน่งเรียกว่า อุปทูตชั่วคราว (Charge d? Affaires ad interim)เกี่ยวกับเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในข้อ 5 ดังนี้ ?1. หลังจากที่ได้บอกกล่าวแก่รัฐผู้รับที่เกี่ยวข้องตามสมควรแล้ว นอกจากจะมีการคัดค้านอย่างชัดแจ้งโดยรัฐผู้รับรัฐใดรัฐหนึ่ง รัฐผู้ส่งอาจแต่งตั้งหัวหน้าคณะผู้แทน หรือแต่งตั้งบุคคลใดในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายการทูตแล้วแต่กรณี ไปยังมากกว่ารัฐหนึ่งก็ได้ 2. ถ้ารัฐผู้ส่งแต่งตั้งหัวหน้าคณะผู้แทนไปยังรัฐอื่นหนึ่งรัฐหรือมากกว่านั้น รัฐผู้ส่งอาจสถาปนาคณะผู้แทนทางการทูตโดยมีอุปทูตชั่วคราวเป็นหัวหน้าในแต่ ละรัฐที่หัวหน้าคณะผู้แทนไม่มีที่นั่งทำงานของตนเป็นประจำก็ได้ 3. หัวหน้าคณะผู้แทน หรือบุคคลใดในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายการทูตของคณะผู้แทน อาจกระทำการในฐานะเป็นผู้แทนของรัฐผู้ส่งในองค์การระหว่างประเทศใดก็ได้" [การทูต] |
No Objection Certificate | เป็นเอกสารรับรองว่า หน่วยงานที่เกี่ยวข้องของไทย กระทรวงการต่างประเทศไทยไม่มีข้อขัดข้องสำหรับบุคคลที่จะนำเอกสารนี้ไปใช้ เพื่อสมัครเข้าศึกษาในสถาบันการศึกษาของต่างประเทศตามคำร้องขอของรัฐบาล ปากีสถาน หรือใช้ในการขอเปลี่ยนแปลงสถานะวีซ่าจากประเภทหนึ่งไปยังอีกประเภทหนึ่งตาม ที่ต่างประเทศนั้น ๆ เป็นผู้กำหนด กรณีนักศึกษาไทยไปศึกษาที่สหรัฐอเมริกาโดยวีซ่านักเรียน แต่ภายหลังประสงค์จะขอเปลี่ยนวีซ่าเป็นวีซ่าทำงานตามกฎหมายตรวจคนเข้าเมือง ของสหรัฐอเมริกา [การทูต] |
อากาศตามฤดูกาล | [akāt tām reudūkān] (n, exp) EN: climate |
คริสต์ศตวรรษ | [Khrit satawat] (n, exp) EN: century A.D. |
คริสต์ศตวรรษที่ 17 | [Khrit satawat thī sip-jet] (n, exp) EN: 17th century FR: 17è siécle [ m ] |
ความกดอากาศต่ำ | [khwām kot akāt tam] (n, exp) EN: low pressure FR: basse pression [ f ] |
ในปลายศตวรรษที่ ๒๐ (20) | [nai plāi satawat thī yīsip] (x) FR: à la fin du vingtième siècle |
ปลายศตวรรษ | [plāi satawat] (n, exp) EN: last years of a century FR: fin de siècle [ f ] |
ประกาศต่อหน้าธารกำนัล | [prakāt tønā thārakamnan] (v, exp) EN: declare openly ; declare publicly ; proclaim in public FR: déclarer publiquement |
ประกาศตัว | [prakāt tūa] (v) EN: declare oneself |
ประเทศตะวันตก | [prathēt tawan-tok] (n, exp) EN: Western country FR: pays occidental [ m ] |
ประเทศตูนีเซีย = ประเทศตูนิเซีย | [Prathēt Tūnīsīa = Prathēt Tūnisīa] (n, prop) EN: Tunisia FR: Tunisie [ f ] |
ประเทศตุรกี | [Prathēt Turakī] (n, prop) EN: Turkey FR: Turquie [ f ] |
ศต | [sata] (x) EN: one hundred FR: cent |
ศตมวาร | [satamawān] (n) EN: the hundredth-day rite performed one hundred days after death but before cremation |
ศตพรรษ | [sataphat] (n) EN: century |
ศตวรรษ | [satawat] (n) EN: century FR: siècle [ m ] |
ทิศตะวันออก | [thit tawan-øk] (n, exp) EN: the east ; East FR: est [ m ] ; direction de l'est [ f ] |
ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ | [thit tawan-øk chīeng neūa] (n, exp) EN: the northeast ; Northeast FR: nord-est [ m ] ; direction du nord-est [ f ] |
ทิศตะวันออกเฉียงใต้ | [thit tawan-øk chīeng tāi] (n, exp) EN: the southeast ; Southeast FR: sud-est [ m ] ; direction du sud-est [ f ] |
ทิศตะวันตก | [thit tawan-tok] (n, exp) EN: the west ; West FR: ouest [ m ] ; direction de l'ouest [ f ] |
ทิศตะวันตกเฉียงเหนือ | [thit tawan-tok chīeng neūa] (n, exp) EN: the northwest ; Northwest FR: nord-ouest [ m ] ; direction du nord-ouest [ f ] |
ทิศตะวันตกเฉียงใต้ | [thit tawan-tok chīeng tāi] (n, exp) EN: the southwest ; Southwest FR: sud-ouest [ m ] ; direction du sud-ouest [ f ] |
ทรยศต่อประเทศชาติ | [thørayot tø prathētchāt] (v, exp) EN: sell one's country |
อุทิศตัว | [uthit tūa] (v, exp) EN: devote oneself to ; direct oneself to FR: se consacrer |
announce to | (phrv) ประกาศต่อ |
betray | (vt) ทรยศ, See also: ทรยศต่อ, หักหลัง |
Buddhist era | (n) พุทธศตวรรษ, See also: พ.ศ., พุทธศักราช |
Byzantine | (n) เกี่ยวกับสถาปัตยกรรมศตวรรษที่ 5-15 ของอาณาจักร Byzantine |
caique | (n) เรือพายชนิดหนึ่งที่ใช้ในประเทศตุรกี |
centenary | (adj) ที่เกี่ยวกับศตวรรษ |
century | (n) ศตวรรษ, Syn. centenary, 100 years, era |
col | (n) บริเวณที่มีความกดอากาศต่ำ |
consecrate | (vt) อุทิศตนให้กับ, Syn. give, dedicate, commit |
consecration | (n) การอุทิศตน, See also: การใช้เวลาส่วนใหญ่กับสิ่งที่ชอบ |
convent | (n) สังคมของหญิงผู้ที่อุทิศตนให้ศาสนา |
consecrate to | (phrv) อุทิศตัวให้กับพระเจ้า, Syn. dedicate to |
dally with | (phrv) ทำเป็นล้อเล่น (เรื่องความรัก) กับ (เพศตรงข้าม), See also: ทำเจ้าชู้กับ, เกี้ยวเล่นกับ, Syn. flirt with |
declare to | (phrv) ประกาศต่อ |
dedicate to | (phrv) อุทิศให้กับ, See also: อุทิศตัวให้กับ, Syn. consecrate to |
dedicate to | (phrv) อุทิศตัว, See also: เสียสละ, ยอมพลีเพื่อ, Syn. consecrate to, devote to |
double-cross someone | (idm) หักหลัง, See also: ทรยศต่อ |
flirt with | (phrv) เกี้ยว (เพศตรงข้าม) เล่น, See also: เกี้ยว, จีบเล่น, Syn. dally with, play with, sport with, toy with, trifle with |
dedicated | (adj) ซึ่งอุทิศตัวเพื่อ, See also: ที่กำหนดใช้ในทางใดทางหนึ่งโดยเฉพาะ, Syn. blessed, involved |
dedication | (n) การอุทิศให้, See also: คำอุทิศ, การอุทิศตน, Syn. commitment |
denier | (n) เหรียญเงินเก่าของประเทศในยุโรป (ช่วงศตวรรษที่ 8 และ 18) |
depression | (n) ความกดอากาศต่ำ, See also: บริเวณความกดอากาศต่ำ, ไซโคลน, ดีเปรสชั่น, Syn. low pressure area |
devotee | (n) ผู้อุทิศตัว, See also: ผู้ภักดีต่อกลุ่มศาสนา, สาวก, ผู้ศรัทธา, ผู้เลื่อมใส, Syn. follower, zealot enthusiast, Ant. unbeliever |
devotion | (n) การอุทิศตัว, See also: การฝักใฝ่, การยึดมั่น, การศรัทธา, Syn. enthusiasm, fondness, Ant. hate, dislike |
east | (adj) เกี่ยวกับทิศตะวันออก, See also: ที่อยู่ทางตะวันออก |
east | (n) ทิศตะวันออก, See also: บุริมทิศ, บูรพาทิศ, บูรพา |
easterly | (adj) เกี่ยวกับหรืออยู่ทางตะวันออก, See also: ไปทางทิศตะวันออก, ซึ่งจะมาทางทิศตะวันออก, Syn. eastern |
easterly | (adv) ไปทางทิศตะวันออก, See also: ซึ่งมาจากทางทิศตะวันออก |
easterly | (n) ลมที่มาจากทางทิศตะวันออก, Syn. east wind |
eastern | (adj) เกี่ยวกับทิศตะวันออก, See also: ไปทางทิศตะวันออก, มาจากทิศตะวันออก, Syn. easterly, eastward, orient |
eastern | (adj) ที่อยู่ทางทิศตะวันออก |
Eastern Church | (n) คริสต์ศาสนาจักรนิกาย Orthodox ซึ่งกำเนิดในประเทศต่างๆ ที่เป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรโรมันตะวันออก, Syn. Byzantine Church, Eastern Orthodox Church |
easternmost | (adj) สุดทิศตะวันออก, See also: สุดทิศบูรพา |
east-southeast | (n) ตำแหน่งบนเข็มทิศที่อยู่กึ่งกลางระหว่างทิศตะวันออกกับทิศตะวันออกเฉียงใต้ |
east-southeast | (adj) ไปทางทิศกึ่งกลางระหว่างทิศตะวันออกกับทิศตะวันออกเฉียงใต้, See also: จากทิศกึ่งกลางระหว่างทิศตะวันออกกับทิศตะวันออกเฉียงใต้ |
east-southeast | (adv) ไปยังทิศกึ่งกลางระหว่างทิศตะวันออกกับทิศตะวันออกเฉียงใต้ |
eastward | (n) จุดที่อยู่ในทิศตะวันออก, See also: ทิศทางที่ไปทางตะวันออก |
esthetician | (n) นักศึกษาหรือผู้อุทิศตนเพื่อศิลปะและความงาม |
Euclid | (n) นักคณิศาสตร์ชาวกรีก ผู้สร้างแบบเรียนมาตรฐานทางเรขาคณิตซึ่งใช้มาจนถึงศตวรรษที่ 19 |
euphuism | (n) การประพันธ์แบบหนึ่งในศตวรรษที่ 16 และ 17 ที่มีการใช้โวหารแบบต่างๆ มากเกินไป |
family man | (n) ชายที่รักครอบครัว, See also: ชายที่อุทิศตัวเพื่อครอบครัว |
fanjet | (n) เครื่องยนต์ที่มีใบพัดใหญ่สำหรับดูดอากาศติดด้านหน้า, See also: เครื่องบินติดเครื่องยนต์ที่มีใบพัดใหญ่สำหรับดูดอากาศติดด้านหน้า, Syn. turbofan |
farthingale | (n) โครงถ่างกระโปรงให้กว้างออกของหญิงยุโรปในศตวรรษที่ 16-17 |
feudalism | (n) ระบบศักดินา, See also: ระบบเศรษฐกิจ การเมืองและสังคมในยุโรปช่วงศตวรรษที่ 5 ถึง ศตวรรษที่ 15 |
fin-de-siecle | (n) ช่วงปลายศตวรรษที่19 |
go back on | (phrv) ทรยศต่อ, See also: ไม่จงรักภักดีต่อ, Syn. let down |
go west | (phrv) ไปทางตะวันตก, See also: มุ่งไปทางทิศตะวันตก |
have an affair with | (idm) มีความสัมพันธ์ทางเพศกับเพศตรงข้าม |
head away from | (phrv) ย้ายไปทิศตรงกันข้าม |
galleon | (n) เรือใบขนาดใหญ่ใช้ในช่วงศตวรรษที่ 15 ถึง 18, Syn. argosy |
ada | (เอดา) เป็นชื่อของภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงภาษาหนึ่ง ใช้เป็นภาษามาตรฐานสำหรับงานเขียนโปรแกรมของกิจการทหารของสหรัฐมาก่อน ผู้คิดภาษานี้ตั้งชื่อว่า Ada เพื่อเป็นเกียรติแก่ Lady Ada Augusta Lovelace ซึ่งเป็นชื่อสตรีผู้คิดทำโปรแกรมคอมพิวเตอร์เป็นคนแรกในโลก ในช่วงคริสศตวรรษ 1800 |
allegiance | (อะลี' เจินซฺ) n. ความจงรักภักดี, ความสวามิภักดิ์, การอุทิศต่อ, Syn. submission, loyalty -A.disloyalty, treachery |
allemande | (แอล' ลิมานดฺ) n., (pl. -mandes) การเต้นรำในศตวรรษที่ 17-18 ที่มีจังหวะคู่ที่ช้า, ดนตรีที่อาศัยหลักการเต้นรำดังกล่าว |
amateur | (แอม' มะเทอะ) n., adj. นักสมัครเล่น, นักกีฬาสมัครเล่น, ผู้ไร้ประสบการณ์, ผู้ไร้ความชำนาญ, ผู้อุทิศตัวในศิลปะหรือกิจกรรมหนึ่ง |
animal magnetism | อำนาจที่ทำให้คนสะกดจิตได้ การดึงดูดทางกายต่อเพศตรงข้าม, ความดึงดูดทางเพศ., Syn. biomagnetism |
antimonsoon | (แอนทีอมนซูน') n. ลมที่อยู่เหนือลมมรสุม และเคลื่อนไปทางทิศตรงกันข้ามกับของลมมรสุม (anti-+Monsoon) |
arrack | (อาร์'แรค) n. น้ำตาลเมา, เหล้าในประ-เทศตะวันออกกลางหรือประเทศใกล้เคียง., Syn. arak |
balkan | (บอล'เคิน) adj. เกี่ยวกับแหลมบอลข่าน (ประชาชน, เทือกเขา, ภาษาและอื่น ๆ) -Phr. (the Balkans ประเทศต่าง ๆ ของแหลมบอลข่าน), See also: balkanite adj. |
bbs | (บีบีเอส) ย่อมาจาก bulletin board system หรือที่แปลว่า ระบบแผงข่าว เป็นโปรแกรมหนึ่งที่ทำหน้าที่เก็บรายการ หัวข้อ หรือข้อมูลที่เป็นที่สนใจ ผู้ที่ต้องการทราบข้อมูลเหล่านี้ อาจจะโทรศัพท์ผ่านเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อขอคัดลอกแฟ้มข้อมูล หรือสอบถามข้อความ ก็ได้ เช่น บีบีเอสของมหาวิทยาลัยก็อาจมีประกาศต่าง ๆ เช่น ประกาศรับสมัครนิสิตเข้าเรียนในระดับต่าง ๆ ปฏิทินการศึกษา รายการกีฬา ฯ ผู้ใช้บริการจะต้องมีคอมพิวเตอร์และโมเด็มพร้อมกับโปรแกรมที่จำเป็น ถ้าเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับข้อมูลสำคัญในทางธุรกิจ จะมีการเรียกเก็บค่าบริการด้วย (มีใช้เฉพาะในระบบเครือข่าย) |
bulletin board system | ระบบการบริการเครือข่ายที่อนุญาตให้ผู้ใช้ที่มีผลประโยชน์ร่วมให้ส่งและรับข้อมูลหรือได้รับซอฟแวร์ เป็นต้น ระบบแผงข่าวศูนย์รวมข่าวใช้ตัวย่อว่า BBS (อ่านว่า บีบีเอส) เป็นโปรแกรมหนึ่งที่ทำหน้าที่เก็บรายการ หัวข้อ หรือข้อมูลที่เป็นที่สนใจ ผู้ที่ต้องการทราบข้อมูลเหล่านี้ อาจจะโทรศัพท์ผ่านเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อขอคัดลอกแฟ้มข้อมูล หรือสอบถามข้อความ ก็ได้ เช่น ระบบแผงข่าวของมหาวิทยาลัยก็อาจมีประกาศต่าง ๆ เช่น ประกาศรับสมัครนิสิตเข้าเรียนในระดับต่าง ๆ ปฏิทินการศึกษา รายการกีฬา ฯ ผู้ใช้บริการจะต้องมีคอมพิวเตอร์และโมเด็มพร้อมกับโปรแกรมที่จำเป็น ถ้าเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับข้อมูลสำคัญในทางธุรกิจ จะมีการเรียกเก็บค่าบริการด้วย (มีใช้เฉพาะในระบบเครือข่าย) |
centurial | adj. เกี่ยวกับศตวรรษ |
century | (เซน'ชิวรี) n. ศตวรรษ, หนึ่งร้อยปี, หนึ่งร้อยชิ้น, กองร้อยทหารโรมัน, กองร้อย, |
climat- | Pref. "อากาศตามฤดูกาล" |
climate | (ไคล'เมท) n. อากาศตามฤดูกาล, แนวโน้มทั่วไปของสังคม, ประเพณีนิยมที่เป็นอยู่, See also: climatic adj. ดูclimate climatical adj. ดูclimate climatal adj. ดูclimate, Syn. trend -Conf. weather |
climato- | Pref. "อากาศตามฤดูกาล" |
clime | (ไคลม) n. ถิ่นหนึ่งหรือบริเวณหนึ่งของโลก, อากาศตามฤดูกาล |
confucius | (คันฟิว'เชิส) n. ขงจื้อ (5-6ศตวรรษก่อนคริสต์ศักราช) -Confucian n., adj. |
consecrate | (คอน'ซิเครท) vt., n. (การ) ทำให้ศักดิ์สิทธิ์, อุทิศให้, อุทิศตัว., See also: consecratedness n. ดูconsecrat consecrator n. ดูconsecrat, Syn. bless, hallow |
consecration | (คอนซิเคร'เชิน) n. การทำให้ศักดิ์สิทธิ์, การอุทิศตัวและบูชาพระเจ้า |
crusade | (ครูเซด') n. สงครามศาสนา, สงครามศาสนาในศตวรรษที่ 11, 12, 13 ระหว่างทหารคริสเตียนกับทหารมุสลิม, การปราบปราม vi. ทำสงครามครูเสด, ปราบปราม |
cultivate | (คัล'ทะเวท) { cultivated.cultivating, cultivates } vt. เพาะปลูก, เพาะ, ปลูก (พืช) , เลี้ยง, พัฒนาหรือทำให้ดีขึ้น อุทิศตัวให้กับ |
date | (เดท) { dated, dating, dates } n. วันที่, วันเดือนปี, วันนัด, การนัด, ผู้ถูกนัดหมาย (เพศตรงข้าม) , อายุ, ยุคสมัย v. ระบุวันที่, เป็นของยุคสมัย, นัดหมาย, ล้าสมัย, ออกไปพบตามนัด, ผลอินผลัม, date palm (ดู), See also: datable adj. ดูdate dateable adj. ดูdate data |
dedicate | (เดด'คิเคท) vt. อุทิศ, อุทิศตัว, ถวาย, ใช้ไปในทาง adj. ซึ่งอุทิศแก่, See also: dedicator n., Syn. consecrate |
dedication | (เดดดิเค'เชิน) n. การอุทิศ, การอุทิศตัว, คำจารึกอุทิศ, คำอุทิศ, Syn. address |
depression | (ดีเพรส'เชิน) n. การทำให้ตกต่ำ, ภาวะที่เศรษฐกิจตกต่ำ, บริเวณที่มีความกดดันของอากาศต่ำ, ความกดดันของอากาศต่ำ, ที่เป็นแอ่งหลุมหรือเว้า |
devotee | (เดฟ'วะที) n. ผู้มีใจศรัทธา, ผู้อุทิศตัวกับ, ผู้หมกมุ่นใน, Syn. admirer |
devotion | (ดิโว'เชิน) n. การอุทิศตัว, การใส่ใจ, การหมกมุ่นในทาง, การบูชา., Syn. ardour |
devotional | (ดิโว'เชินนัล) adj. ซึ่งเกี่ยวกับการอุทิศตัว n. พิธีสั้น ๆ ในทางศาสนา, See also: devotionality n. |
diecious | (ไดอี'เชิส) adj. ซึ่งมีอวัยวะเพศตัวผู้และเพศตัวเมียอยู่แยกจากกัน., Syn. dioecious |
dioecious | (ไดอี'ชัส) adj. ซึ่งมีอวัยวะเพศตัวผู้และอวัยวะเพศตัวเมียอยู่แยกจากกัน, ซึ่งมีเพศต่างหาก, Syn. diecious |
east | (อีสทฺ) n., adj. ทิศตะวันออก, ภาคตะวันออก, -Phr. (the East ประเทศแถวตะวันออกไกลหรือกลาง), See also: eastness n. ดูeast |
eastern | adj. เกี่ยวกับหรือไปหรือมาจากทางทิศตะวันออก |
eastward | (อีส'เวิร์ด) adj., adv. หันหน้าตั้งอยู่หรือเคลื่อนไปทางตะวันออก. n. ทิศตะวันออก |
egg | (เอก) { egged, egging, eggs } n. ไข่, สิ่งที่คล้ายไข่, เซลล์สืบพันธุ์ของเพศตัวเมีย, บุคคล. vt. ใส่ไข่, จุ่ม (อาหาร) ลงในไข่ที่ตีแล้ว -Phr. (in the egg ในระยะแรกเริ่ม, ซึ่งยังไม่เจริญ, ซึ่งยังไม่พัฒนา) vt. กระตุ้น, ให้กำลังใจ -Phr. (a bad egg คนเลว, คนไม่ซื่อ) คำที่ |
female | (ฟี'เมล) n. คนผู้หญิง, สตรี, สัตว์ตัวเมีย adj. เกี่ยวกับเพศหญิงหรือเพศตัวเมีย |
file creation | การสร้างแฟ้มหมายถึงการสร้างแฟ้มข้อมูลขึ้นมาเพื่อเก็บสารสนเทศต่าง ๆ โดยกำหนดแบ่งเป็นเขตข้อมูลว่า จะให้มีกี่เขต แต่ละเขตจะต้องใช้ความยาวเท่าใด |
heterogynous | adj. ซึ่งมีเพศตัวเมีย 2 ชนิด ชนิดหนึ่งสืบพันธุ์ อีกชนิดหนึ่งสืบพันธุ์ไม่ได้ (เช่นมด) |
heterosexual | adj., n. เกี่ยวกับเพศตรงข้าม, ซึ่งมีความต้องการทางเพศตรงข้าม |
high treason | การทรยศต่อประเทศ |
multinational | (มัลทิแนช'ชะเนิล) n. บริษัทยักษ์ใหญ่ที่มีสาขาหลายแห่งในประเทศต่าง ๆ adj. หลายชาติ |
neutralise | (นิว'เทริลไลซ) vt. ทำให้เป็นกลาง, ทำให้ไม่ได้ผล, ต่อต้าน, ลบล้าง, ถอนพิษ, ประกาศตัวเป็นกลางvi. กลายเป็นกลาง, See also: neutralisation, neutralizer n., Syn. counterbalance, offset |
neutralize | (นิว'เทริลไลซ) vt. ทำให้เป็นกลาง, ทำให้ไม่ได้ผล, ต่อต้าน, ลบล้าง, ถอนพิษ, ประกาศตัวเป็นกลางvi. กลายเป็นกลาง, See also: neutralisation, neutralizer n., Syn. counterbalance, offset |
northeasterly | (นอร์ธอีส'เทอลี) adj., adv. เกี่ยวกับทิศตะวันออกเฉียงเหนือ |
northeastward | (นอร์ธอีสทฺ'เวิร์ด) adj., adv. หันไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ. |
northwest | (นอร์ธ'เวสทฺ) n., adj. พายัพ, ภาคพายัพ, ทิศตะวันตกเฉียงเหนือ., Syn. northwestern |
occident | (ออค'ซิเดินทฺ) n. -Phr. (The Occident ประเทศตะวันตก) (ยุโรปและอเมริกา) , = Western Hemisphere (ดู) , บริเวณตะวันตก, ตะวันตก -Occidental adj., n. |
orient | (โอ'เรียนทฺ, ออ'เรียนท) n. -Phr. (the Orient ประเทศในแถบบูรพาทิศ, บูรพาทิศ) adj. ทิศตะวันออก -v. ปรับ, ปรับตัว, ทำให้เข้าใจ, กำหนดตำแหน่งของ, หันไปทางทิศตะวันออก, Syn. adapt, adjust |
protestant | (พรอท'ทิสเทินทฺ) n. ศาสนิกชนของนิกายศาสนาคริสต์ที่แยกตัวจากโรมันคาทอลิกตั้งแต่ศตวรรษที่ 16, , See also: protestant n. ผู้ประท้วง ผู้คัดค้าน adj. เกี่ยวกับนิกายดังกล่าว, ซึ่งประท้วง |
reformation | (เรฟฟะเม'เชิน) n. การปฏิรูป, การเปลี่ยนรูป, การปรับปรุง, การเข้าแถวใหม่, การกลับเนื้อกลับตัว, การแก้ไขใหม่, การดัดนิสัย, See also: Reformation n. การปฏิรูปศาสนาในศตวรรษที่ 16 ที่ทำให้เกิดนิกายโปรเตสแตนต์ขึ้น -reformational adj. |
renaissance | (เรนนิซานซฺ', -ซานซฺ) n. ความเฟื่องฟู ความรู้ทางศิลปวรรณกรรมในยุโรปสมัยศตวรรษที่ 14-17, สมัยดังกล่าว, See also: renaissance การฟื้นฟูชีวิตพลังความสนใจหรืออื่น ๆ, ชีวิตใหม่ adj. เกี่ยวกับสมัยดังกล่าว, เกี่ยวกับลักษณะศิลปวรรณกรรมในสมัยดังกล่าว |
centenary | (adj ครบ 100) ปี, ครบหนึ่งศตวรรษ |
centenary | (n หนึ่งศตวรรษ, 100 ปี, การฉลองครบ 100) ปี |
century | (n) ศตวรรษ, ร้อยปี, หนึ่งร้อย |
depression | (n) ความเศร้าใจ, ภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ, ความตกต่ำ, ความกดอากาศต่ำ |
east | (adj, adv) ทางทิศตะวันออก, ทางทิศบูรพา, ทางซีกตะวันออก, ทางภาคตะวันออก |
east | (n) ทิศตะวันออก, ทิศบูรพา, ซีกตะวันออก, ภาคตะวันออก |
easterly | (adj) ทางตะวันออก, ไปทางทิศตะวันออก, ไปทางทิศบูรพา |
easterly | (adv) ทางตะวันออก, ซึ่งมาจากทิศตะวันออก, มาจากภาคตะวันออก |
eastern | (adj) ทางตะวันออก, เกี่ยวกับทิศตะวันออก, ของชาวตะวันออก |
easternmost | (adj) สุดทางทิศตะวันออก, อยู่ทางตะวันออกสุด |
eastward | (adj, adv) ทางทิศตะวันออก, ทางด้านตะวันออก, ทางทิศบูรพา |
eastwards | (adj, adv) ทางทิศตะวันออก, ทางด้านตะวันออก, ทางทิศบูรพา |
northeast | (adv) ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ, ไปทางภาคอีสาน |
northeast | (n) ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ, ภาคอีสาน |
northeasterly | (adj, adv) ทางภาคอีสาน, ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ |
northwest | (adj) อยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ, อยู่ทางทิศพายัพ |
northwest | (n) ทิศตะวันตกเฉียงเหนือ, ทิศพายัพ |
northwesterly | (adj, adv) ทางทิศพายัพ, ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ |
occident | (n) ทิศตะวันตก, ภาคตะวันตก |
occidental | (n) ทางทิศตะวันตก, ทางภาคตะวันตก |
Orient | (n) ทิศตะวันออก, ทิศบูรพา, ไข่มุกชั้นดี |
southeast | (adj, adv) ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ |
southeast | (n) ทิศอาคเนย์, ทิศตะวันออกเฉียงใต้ |
southeasterly | (adj, adv) ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ |
southeastward | (adj) ทางภาคตะวันออกเฉียงใต้, ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ |
southwest | (adj, adv) ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ |
southwest | (n) ทิศหรดี, ทิศตะวันตกเฉียงใต้ |
southwesterly | (adj) ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ |
southwestern | (adj) อยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ |
votary | (n) พระ, นางชี, ผู้อุทิศตัว, ศาสนิกชน |
west | (adv) ไปทางทิศตะวันตก |
west | (n) ทิศตะวันตก, ภาคตะวันตก, ทิศประจิม, ประเทศตะวันตก |
westerly | (adj, adv) ทางตะวันตก, มาจากทิศตะวันตก |
westward | (n) ทิศตะวันตก |
chopine | รองเท้าส้นสูงแบบหนึ่งที่สตรีสเปนใส่กันในช่วงศตวรรษที่ 14-17, รองเท้าส้นตึก |
debt service ratio | สัดส่วนภาระหนี้ต่างประเทศต่อรายได้จากการส่งออกสินค้าและบริการ |
diaspora | [ไดอัซพอ'ระ] (n) การพลัดถิ่น การกระจัดกระจายของชาวยิวจากอิสราเอลไปยังบาบิโลเนีย และจากบาบิโลเนียไปทั่วโลก ในคริสตศตวรรษที่ 6, See also: body, dispersion, distribution, scattering |
groat | (n) เงินตราในศตวรรษที่ 20 มีมูลค่าสี่เพนนี |
hierarchy of genres | [ไฮ-รา-คี-ออฟ-เจ็น-เรส] (n) การจัดลำดับคุณค่าของศิลปะ เป็นทฤษฎีการจัดประเภทของศิลปะ (genre) ตามระดับความสำคัญที่ระบุไว้เช่นในการจัดของสมาคมศิลปะแห่งฟลอเรนซ์ และในคริสต์ศตวรรษที่ 17 โดยอังเดร เฟลิเบียงแห่งสถาบันศิลปะฝรั่งเศสที่ลำดับเป็นห้าลำดับ: ภาพประวัติศาสตร์และศาสนา, ภาพเหมือน, ภาพชีวิตประจำวัน, ภาพภูมิทัศน์ และภาพนิ่ง (Source: visual-arts-cork.com) |
Lazarus | [ลาซารัส] (n) นักบุญลาซารัส หรือ นักบุญลาซารัสแห่งเบทธานีเป็นนักบุญในคริสต์ศาสนาของคริสต์ศตวรรที่ 1 ผู้เป็นพี่น้องกับนักบุญแมรี แม็กดาเลน และเป็นผู้ได้รับการชุบชีวิตโดยพระเยซู (Wikepedia.org), See also: Lazarus of Bethany, Syn. Saint Lazarus |
mulled wine | [มัลด-ไวน์] (n) ไวน์ผสมเครื่องเทศ เป็นเครื่องดื่มที่มักจะทำจากไวน์แดงอุ่นให้ร้อนผสมเครื่องเทศ น้ำตาลเล็กน้อย และผลไม้เช่นส้มฝานบาง เสิร์ฟร้อนหรืออุ่น นิยมดื่มกันระหว่างฤดูหนาวในหลายประเทศโดยเฉพาะในเยอรมนีและประเทศต่างๆ ในยุโรป (ข้อมูลจาก wikipedia.org) |
overlapping territorial claims area | (n) พื้นที่ทับซ้อน, พื้นที่ทางบกหรือทางทะเลซึ่งมีประเทศมากกว่า ๑ ประเทศ อ้างสิทธิ์เหนือพื้นที่ดังกล่าว เนื่องจากปัจจัยต่าง ๆ เช่น ความเป็นมาทางประวัติศาสตร์ สงคราม ความเชื่อทางศาสนา ที่ตั้งของชุมชนทางชาติพันธุ์หรือชนกลุ่มน้อย หรือผลประโยชน์แห่งรัฐ เช่น พื้นที่บริเวณปราสาทพระวิหารที่มีปัญหาการอ้างสิทธิ์เหนือพื้นที่ดังกล่าว ระหว่างประเทศไทยกับประเทศกัมพูชา. หมู่เกาะสแปรตลีที่เป็นพื้นที่ทับซ้อน มีหลายประเทศต่างอ้างสิทธิเหนือหมู่เกาะทั้งหมดหรือบางส่วนของหมู่เกาะ ได้แก่ จีน เวียดนาม ฟิลิปปินส์ ไต้หวัน บูรไน และ มาเลเซีย |
panel painting | [แพเนล เพ้นทิง] (n) จิตรกรรมแผง เป็นจิตรกรรมที่เขียนบนแผงที่ทำด้วยไม้ที่อาจจะเป็นแผ่นเดียวหรือหลายแผ่นเชื่อมต่อกัน เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการเขียนภาพมาจนถึงราวคริสต์ศตวรรษที่ 16 ก่อนที่การเขียนบนผ้าใบจะกลายมาเป็นที่นิยมกัน (Wikipedia.org) |
partita | [พาร์ติต้า] เพลงชุดประเภทสวีทประกอบด้วยเพลงสั้น ๆ หลายเพลงหรือชุดของแวริเอชั่นพาร์ติตาได้รับความนิยมในศตวรรษที่ 17 และ 18 |
self-exile | [เซลฟ เอ็กซไซล] (vt) เนรเทศตัวเอง |
Türkiye | (n) ประเทศตุรกี |
vavoom | (n) เสน่ห์ที่ดึงดูดเพศตรงข้าม, Syn. sex appeal |
กิ๊ก | (n) คนที่มีแฟนอยู่แล้ว แต่มีเพื่อนเพศตรงข้ามเพิ่มอีกคนหรือมากกว่าหนึ่งคน ที่ให้ความสำคัญพอๆ กับแฟนแต่ไม่ใช่แฟน |
แรด | (n, vt) N = บุคคลที่แสดงกริยาท่าทางในเชิงลบ ในเรื่องหรือ/และการกระทำต่อเพศตรงข้าม คำนี้มีความหมายตรงข้ามเรียบร้อย เช่น สมศรีแรดมาก S = สามารถใช้เป็นคำแสลง เพื่อแสดงออกในกริยา เช่น วันนี้เค้าไปแรดมา เห็นว่าได้เสื้อมา 2 ตัว (แรด ในที่นี้มีความหมายว่า ไปซื้อของ), See also: A. เรียบร้อย, Syn. กระซู่ |