ผู้ป่วย | น. ผู้ที่ไม่สบายเพราะโรคหรือความไข้หรือเหตุอื่น, คนไข้ ก็ว่า. |
ผู้ป่วยนอก | น. ผู้ป่วยที่มารับการตรวจรักษาที่โรงพยาบาล แต่ไม่ได้นอนพักรักษาตัวในโรงพยาบาล, คนไข้นอก ก็ว่า. |
ผู้ป่วยใน | น. ผู้ป่วยที่พักรักษาตัวอยู่ในโรงพยาบาล, คนไข้ใน ก็ว่า. |
กลูโคส | (กฺลู-) น. นํ้าตาลชนิดหนึ่งประเภทโมโนแซ็กคาไรด์ ชนิดแอลโดเฮ็กโซส มีรสหวานน้อยกว่านํ้าตาลทราย ลักษณะเป็นของแข็งสีขาว หลอมละลายที่ ๑๔๖ °ซ. มีในนํ้าผึ้ง และผลไม้ที่มีรสหวาน เป็นองค์ประกอบปรกติในเลือด และมีในปัสสาวะของผู้ป่วยเป็นโรคเบาหวาน, เดกซ์โทรส ก็เรียก. |
เกลือแกง | น. เกลือปรกติชนิดหนึ่งชื่อโซเดียมคลอไรด์ (NaCl) ลักษณะเป็นผลึกสีขาวละลายนํ้าได้ มีมากในนํ้าทะเล ใช้ปรุงอาหาร ทำเครื่องดองเค็ม, เมื่ออยู่ในสภาพบริสุทธิ์ที่สุด ใช้ละลายในนํ้ากลั่น เรียกว่า นํ้าเกลือ สำหรับให้ผู้ป่วยโดยให้ทางเส้นเลือด ใช้ในอุตสาหกรรมทำสบู่ อุตสาหกรรมผลิตโซดาแผดเผา. |
ไข้หวัดใหญ่ | น. โรคติดต่อเฉียบพลันของระบบทางเดินหายใจ เกิดจากเชื้อไวรัส ผู้ป่วยมีไข้สูงมาก มีอาการหนาวสั่น ปวดกล้ามเนื้อและอ่อนเพลีย. |
ไข้เหลือง | น. โรคติดต่อร้ายแรงชนิดหนึ่ง เกิดจากเชื้อไวรัส มียุงเป็นพาหะ ผู้ป่วยมักมีอาการเวียนศีรษะ คลื่นเหียน อาเจียน ปวดศีรษะ และปวดหลัง ไข้ขึ้นสูงอย่างรวดเร็ว ชีพจรเต้นช้าลง ผิวและตาเหลือง อาจมีอันตรายถึงแก่ชีวิตภายใน ๖-๗ วัน. |
คนไข้ | น. ผู้ป่วย, ผู้บาดเจ็บ. |
คนไข้นอก | น. คนไข้ที่มารับการตรวจรักษาที่โรงพยาบาล แต่ไม่ได้นอนพักรักษาตัวในโรงพยาบาล, ผู้ป่วยนอก ก็ว่า. |
คนไข้ใน | น. คนไข้ที่พักรักษาตัวอยู่ในโรงพยาบาล, ผู้ป่วยใน ก็ว่า. |
คลังเลือด | น. สถานที่เก็บรักษาเลือดไว้เพื่อบริการแก่ผู้ป่วย, ธนาคารเลือด ก็ว่า. |
คลินิก | น. สถานรักษาพยาบาล โดยมากเป็นของเอกชน มักไม่รับผู้ป่วยให้พักรักษาตัวประจำ |
งด | ก. หยุดหรือเว้น คือ ไม่กระทำหรือไม่ดำเนินการตามปรกติ เช่น ผู้ป่วยต้องงดอาหารและน้ำตามที่แพทย์สั่ง. |
จิตบำบัด | (จิดตะ-, จิด-) น. วิธีรักษาผู้ป่วยหรือผู้มีปัญหาทางด้านจิตใจด้วยวิธีที่จิตแพทย์หรือนักจิตวิทยาสนทนากับผู้ที่มารับการรักษา เพื่อให้ทราบถึงสาเหตุของโรคหรือปัญหาแล้วหาทางแก้ไข. |
ซิฟิลิส | น. กามโรคชนิดหนึ่ง เกิดจากเชื้อแบคทีเรียชื่อ Treponema pallidum ติดต่อโดยการสัมผัสหรือร่วมประเวณีกับผู้ป่วยที่เป็นโรคนี้. |
เซรุ่ม | น. น้ำเลือดสีเหลืองใส มีภูมิต้านทานต่อชีวพิษหรือต่อเชื้อโรค แยกได้จากเลือดที่แข็งตัวแล้วของสัตว์เช่นม้าหรือกระต่ายที่ได้รับการกระตุ้นด้วยชีวพิษเช่นพิษงู หรือเชื้อโรคเพื่อให้เกิดภูมิต้านทาน ใช้ฉีดรักษาผู้ป่วยที่ได้รับชีวพิษหรือเชื้อโรคดังกล่าวเพื่อลดพิษหรือทำลายเชื้อโรค. |
ดีซ่าน | น. ชื่อโรคซึ่งเกิดกับผู้ป่วยที่มีสารสีชนิดหนึ่งในนํ้าดี ซึ่งเรียกว่า บิลิรูบิน ปรากฏในเลือดสูงกว่าระดับปรกติในคนธรรมดา ทำให้ผู้ป่วยมีอาการตัวเหลือง. |
ธนาคารเลือด | น. สถานที่เก็บรักษาเลือดไว้เพื่อบริการแก่ผู้ป่วย, คลังเลือด ก็ว่า. |
ปะหงับ, ปะหงับ ๆ | (-หฺงับ) ว. อาการที่ปากอ้าและหุบลงเหมือนอยากจะพูดแต่ไม่มีเสียง, อาการที่ทำปากหงับ ๆ อย่างอาการของผู้ป่วยใกล้จะตาย เช่น นอนเจ็บปะหงับ ๆ. |
ผายปอด | ก. ช่วยทำให้ปอดของผู้ป่วยได้รับออกซิเจนเพียงพอ โดยการกดหลัง การยกศอก เป็นต้น. |
เฝ้าไข้ | ก. คอยดูแล ปรนนิบัติ พยาบาลผู้ป่วยไข้. |
พิษสุนัขบ้า | (พิด-) น. โรคติดเชื้อไวรัสของระบบประสาท ติดต่อจากนํ้าลายของสุนัขหรือแมวที่เป็นโรคนี้ ผู้ป่วยมีอาการเนื่องจากสมองอักเสบ มีไข้ เอะอะ ซึม กลืนอาหารลำบากโดยเฉพาะนํ้า ถึงตายเกือบทุกรายในระยะเวลาประมาณ ๑ สัปดาห์, โรคกลัวนํ้า ก็เรียก. |
รถพยาบาล | น. รถยนต์ของสถานพยาบาลที่ใช้รับส่งผู้ป่วยในกรณีฉุกเฉิน ระหว่างวิ่งเพื่อนำผู้ป่วยส่งสถานพยาบาลจะเปิดไซเรนขอทางให้ยวดยานอื่นหลีกทางให้ |
รถพยาบาล | รถยนต์ขนาดใหญ่ มีแพทย์ พยาบาล และเวชภัณฑ์พร้อมสำหรับไปรักษาพยาบาลผู้ป่วยในท้องถิ่นต่าง ๆ คล้ายโรงพยาบาลเคลื่อนที่. |
หอบหืด | ก. อาการหายใจไม่สะดวก มีเสียงหวีดหวือ เนื่องจากหลอดลมหดเกร็ง มักเกิดในผู้ป่วยโรคหืด. |
อินซูลิน | น. ฮอร์โมนประเภทโปรตีนชนิดหนึ่ง ซึ่งหย่อมเซลล์แลงเกอร์ฮานส์ (islets of Langerhans) ในตับอ่อนผลิตขึ้น มีสมบัติควบคุมการเผาผลาญนํ้าตาลในร่างกาย ในทางแพทย์ใช้เป็นสารลดระดับนํ้าตาลในเลือดของผู้ป่วยโรคเบาหวาน. |
เอดส์ | น. กลุ่มอาการและอาการแสดงที่เกิดขึ้นในผู้ป่วยที่มีภูมิคุ้มกันเสื่อมเหตุไวรัส HIV, กลุ่มอาการภูมิคุ้มกันเสื่อม ก็ว่า. |
ฮิสทีเรีย | น. โรคจิตชนิดหนึ่ง มีอาการแสดงออกได้หลายแบบโดยไม่เกี่ยวข้องกับความพิการของอวัยวะส่วนใด ๆ ของร่างกาย ผู้ป่วยเป็นโรคนี้เพราะในจิตสำนึกหวังได้รับผลประโยชน์ เช่น หวังการหลุดพ้นจากสภาพแวดล้อมที่บีบคั้น. |
patient | ผู้ป่วย, ผู้รับการรักษา, คนไข้ [ มีความหมายเหมือนกับ case ๒ ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
patient | ผู้ป่วย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
patient, apprehensive | ผู้ป่วยหวาดวิตก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pellagrin | ผู้ป่วยเพลแลกรา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
refer | ส่งต่อ (ผู้ป่วย) [ มีความหมายเหมือนกับ transfer ๒ ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
referral | การส่งต่อ (ผู้ป่วย) [ มีความหมายเหมือนกับ transfer ๕ ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
stage, vegetative | สภาพผัก (ผู้ป่วย) [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
sequestration | ๑. การเกิดเศษกระดูกผุ๒. การแยกเดี่ยว (ผู้ป่วย)๓. การกั้นเลือดไหลเวียน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
outpatient | ผู้ป่วยนอก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
apprehensive patient | ผู้ป่วยหวาดวิตก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
cardiac | ๑. -หัวใจ๒. -ปากกระเพาะ๓. ผู้ป่วยโรคหัวใจ [ มีความหมายเหมือนกับ cardiopath ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
case history | ประวัติผู้ป่วย [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
case, index | ผู้ป่วยต้นปัญหา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
case | ๑. กรณี๒. ผู้ป่วย, ผู้รับการรักษา, คนไข้ [ มีความหมายเหมือนกับ patient ]๓. กล่อง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
case fatality rate | อัตราตายของผู้ป่วยรายโรค [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
cardiopath | ผู้ป่วยโรคหัวใจ [ มีความหมายเหมือนกับ cardiac ๓ ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
decline | ๑. ทุเลา (โรค)๒. ทรุดลง (ผู้ป่วย) [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
epileptic | ๑. -โรคลมชัก, -โรคลมบ้าหมู๒. ผู้ป่วยโรคลมชัก, ผู้ป่วยโรคลมบ้าหมู [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
index case | ผู้ป่วยต้นปัญหา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
vegetative stage | สภาพผัก (ผู้ป่วย) [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
vegetative stage | สภาพผัก (ผู้ป่วย) [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
transfer | ๑. ถ่ายโอน๒. ส่งต่อ (ผู้ป่วย) [ มีความหมายเหมือนกับ refer ]๓. ถ่ายทอด๔. การถ่ายโอน๕. การส่งต่อ (ผู้ป่วย) [ มีความหมายเหมือนกับ referral ]๖. การถ่ายทอด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
triage | การคัดแยกผู้ป่วย [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
transference | ๑. กระบวนการถ่ายโอน๒. กระบวนการส่งต่อ (ผู้ป่วย)๓. กระบวนการถ่ายทอด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
hepatopath | ผู้ป่วยโรคตับ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
unit | ๑. หน่วย๒. หอผู้ป่วย [ มีความหมายเหมือนกับ ward ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
ward | หอผู้ป่วย [ มีความหมายเหมือนกับ unit ๒ ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Boron Neutron Capture Therapy | บีเอ็นซีที, รังสีรักษาโดยการจับยึดนิวตรอน, การรักษาผู้ป่วยโรคมะเร็งบางชนิด โดยการฉีดสารประกอบโบรอนเสถียรให้ไปสะสมในเซลล์มะเร็ง แล้วฉายรังสีนิวตรอนไปที่บริเวณนั้น อะตอมโบรอนจะจับยึดนิวตรอนไว้กลายเป็นโบรอนกัมมันตรังสี ซึ่งจะสลายพร้อมกับปล่อยอนุภาคแอลฟาออกมาทำลายเซลล์มะเร็งนั้น (ดู neutron capture ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Radiopharmaceutics | สารเภสัชรังสี, เภสัชภัณฑ์รังสี, ผลิตภัณฑ์ยาที่อยู่ในรูปของสารประกอบหรือสารประกอบเชิงซ้อนที่มีสารกัมมันตรังสีเกาะอยู่ในโมเลกุล ซึ่งผลิตขึ้นตามมาตรฐานสากลเภสัชรังสี ใช้ตรวจวินิจฉัยหรือบำบัดรักษา การให้สารเภสัชรังสีแก่ผู้ป่วยกระทำโดยการฉีดหรือกิน เมื่อเข้าสู่ร่างกายแล้วสารเภสัชรังสีดังกล่าวจะไปกระจายตัวอยู่ในอวัยวะที่ต้องการตรวจหรือรักษา (target organ) โดยแสดงพยาธิสภาพตามความผิดปกติที่เกิดขึ้นในอวัยวะนั้นๆ สารเภสัชรังสีที่ใช้ในปัจจุบัน เช่น <br><sup>99m</sup>Tc-MDP ใช้ตรวจกระดูก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAA ใช้ตรวจปอด</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MIBI ใช้ตรวจกล้ามเนื้อหัวใจ, tumor ทรวงอก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DISIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-BROMIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-HMPAO ใช้ตรวจสมอง</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DTPA ใช้ตรวจสมองและไต</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAG3 ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-Hippuran ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-MIBG ใช้ตรวจต่อมหมวกไต</br> <br>Na13<sup>1</sup>I ใช้ตรวจและรักษาโรคไทรอยด์</br> <br><sup>153</sup>Sm-EDTMP ใช้บรรเทาความเจ็บปวดของผู้ป่วยด้วยโรคมะเร็งกระดูก [นิวเคลียร์] |
Radiopharmaceuticals | สารเภสัชรังสี, เภสัชภัณฑ์รังสี, ผลิตภัณฑ์ยาที่อยู่ในรูปของสารประกอบหรือสารประกอบเชิงซ้อนที่มีสารกัมมันตรังสีเกาะอยู่ในโมเลกุล ซึ่งผลิตขึ้นตามมาตรฐานสากลเภสัชรังสี ใช้ตรวจวินิจฉัยหรือบำบัดรักษา การให้สารเภสัชรังสีแก่ผู้ป่วยกระทำโดยการฉีดหรือกิน เมื่อเข้าสู่ร่างกายแล้วสารเภสัชรังสีดังกล่าวจะไปกระจายตัวอยู่ในอวัยวะที่ต้องการตรวจหรือรักษา (target organ) โดยแสดงพยาธิสภาพตามความผิดปกติที่เกิดขึ้นในอวัยวะนั้นๆ สารเภสัชรังสีที่ใช้ในปัจจุบัน เช่น <br><sup>99m</sup>Tc-MDP ใช้ตรวจกระดูก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAA ใช้ตรวจปอด</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MIBI ใช้ตรวจกล้ามเนื้อหัวใจ, tumor ทรวงอก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DISIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-BROMIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-HMPAO ใช้ตรวจสมอง</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DTPA ใช้ตรวจสมองและไต</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAG3 ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-Hippuran ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-MIBG ใช้ตรวจต่อมหมวกไต</br> <br>Na13<sup>1</sup>I ใช้ตรวจและรักษาโรคไทรอยด์</br> <br><sup>153</sup>Sm-EDTMP ใช้บรรเทาความเจ็บปวดของผู้ป่วยด้วยโรคมะเร็งกระดูก [นิวเคลียร์] |
Radionuclide imaging | การถ่ายภาพทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์, เทคนิคการตรวจวินิจฉัยทางการแพทย์ โดยให้สารเภสัชรังสีแก่ผู้ป่วย และถ่ายภาพการกระจายตัวของสารเภสัชรังสีในอวัยวะที่ต้องการ ตรวจด้วยเครื่องตรวจและสร้างภาพ เช่น Gamma camera หรือ Single Photon Emission Computed Tomography (SPECT) หรือ Positron Emission Tomography (PET) เพื่อแสดงขนาด รูปร่าง ตำแหน่ง และการทำงานของอวัยวะต่างๆ ที่ไม่สามารถตรวจวินิจฉัยได้โดยวิธีอื่น <br>ศัพท์ที่ใช้ทางการแพทย์และมีความหมายคล้ายกัน ได้แก่คำว่า radionuclide organ imaging, nuclear scanning</br>, Example: [นิวเคลียร์] |
Radappertization | การทำปลอดจุลินทรีย์ด้วยรังสี, การฉายรังสีอาหารประเภทเนื้อสัตว์หรือผลิตภัณฑ์จากเนื้อสัตว์ซึ่งบรรจุในภาชนะที่ปิดสนิทด้วยปริมาณรังสีสูงกว่า 10 กิโลเกรย์ เพื่อฆ่าจุลินทรีย์ทั้งหมดที่มีอยู่ ไม่ว่าจะเป็นจุลินทรีย์ที่ก่อให้เกิดโรค หรือ จุลินทรีย์ที่ทำให้อาหารเน่าเสีย เพื่อให้อาหารนั้นเก็บรักษาได้นานหลายเดือนหรือเป็นปีที่อุณหภูมิห้อง อาหารที่ผ่านการฉายรังสีเพื่อทำให้ปลอดจุลินทรีย์ เช่น เนื้อวัว เนื้อไก่งวงรมควัน อาหารสำหรับผู้ป่วย และอาหารสำหรับมนุษย์อวกาศ (ดู food irradiation ประกอบ), Example: [นิวเคลียร์] |
Women patients | ผู้ป่วยสตรี [TU Subject Heading] |
Admission and discharge | การรับและการจำหน่ายผู้ป่วย [TU Subject Heading] |
Ambulatory care | การพยาบาลผู้ป่วยนอกสถานที่ [TU Subject Heading] |
Ambulatory surgical procedures | ศัลยกรรมผู้ป่วยนอก [TU Subject Heading] |
Care of the sick | การดูแลผู้ป่วย [TU Subject Heading] |
Children of AIDS patients | บุตรของผู้ป่วยกลุ่มอาการภูมิคุ้มกันเสื่อม [TU Subject Heading] |
Chronically ill | ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง [TU Subject Heading] |
Cookery for the sick | การปรุงอาหารสำหรับผู้ป่วย [TU Subject Heading] |
Critical care | การดูแลผู้ป่วยหนัก [TU Subject Heading] |
Diabetic diet | การกำหนดอาหารสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน [TU Subject Heading] |
Diabetics | ผู้ป่วยเบาหวาน [TU Subject Heading] |
Discharge planning | การวางแผนจำหน่ายผู้ป่วย [TU Subject Heading] |
Health care team ; Patient care team | กลุ่มผู้ดูแลผู้ป่วย [TU Subject Heading] |
Health care teams | กลุ่มดูแลผู้ป่วย [TU Subject Heading] |
Home care services | บริการดูแลผู้ป่วยในเคหสถาน [TU Subject Heading] |
Hospice care | การดูแลผู้ป่วยวาระสุดท้าย [TU Subject Heading] |
Hospital patients | ผู้ป่วยในโรงพยาบาล [TU Subject Heading] |
Hospital wards ; Patients rooms | หอผู้ป่วย [TU Subject Heading] |
Intensive care units | หน่วยรักษาพยาบาลผู้ป่วยหนัก [TU Subject Heading] |
Medical history taking | การซักประวัติผู้ป่วย [TU Subject Heading] |
Mentally ill | ผู้ป่วยโรคจิต [TU Subject Heading] |
Monitoring, Physiologic | การโมนิเตอร์ผู้ป่วย [TU Subject Heading] |
Nurse and patient | พยาบาลกับผู้ป่วย [TU Subject Heading] |
Outpatient clinics, Hospital | คลินิกผู้ป่วยนอกของโรงพยาบาล [TU Subject Heading] |
Outpatient services | บริการผู้ป่วยนอก [TU Subject Heading] |
Outpatients | ผู้ป่วยนอก [TU Subject Heading] |
Parents of AID patients | บิดามารดาของผู้ป่วยภูมิคุ้มกันเสื่อม [TU Subject Heading] |
Patient acceptance of health care | การยอมรับการดูแลทางการแพทย์ของผู้ป่วย [TU Subject Heading] |
Patient admission | การรับผู้ป่วย [TU Subject Heading] |
Patient advocacy | สิทธิผู้ป่วย [TU Subject Heading] |
Patient care planning | การวางแผนดูแลผู้ป่วย [TU Subject Heading] |
Patient education | การให้การศึกษาผู้ป่วย [TU Subject Heading] |
Patient satisfaction | ความพอใจของผู้ป่วย [TU Subject Heading] |
Physician and patient | แพทย์กับผู้ป่วย [TU Subject Heading] |
Police services for the mentally ill | บริการของตำรวจสำหรับผู้ป่วยโรคจิต [TU Subject Heading] |
Psychiatric hospital patients | ผู้ป่วยในโรงพยาบาลจิตเวช [TU Subject Heading] |
Psychotherapist and patient | นักจิตบำบัดกับผู้ป่วย [TU Subject Heading] |
Psychotherapy patients | ผู้ป่วยจิตเวช [TU Subject Heading] |
Relief of sick and wounded | การบรรเทาทุกข์ผู้ป่วยและผู้บาดเจ็บ [TU Subject Heading] |
Schizophrenics | ผู้ป่วยจิตเภท [TU Subject Heading] |
Sick ; Patients | ผู้ป่วย [TU Subject Heading] |
Sick children | ผู้ป่วยเด็ก [TU Subject Heading] |
Social work with the terminally ill | สังคมสงเคราะห์สำหรับผู้ป่วยใกล้ตาย [TU Subject Heading] |
Terminally ill | ผู้ป่วยใกล้ตาย [TU Subject Heading] |
Transportation of patients | การลำเลียงผู้ป่วย [TU Subject Heading] |
narcolepsy | (n) ชื่อโรคชนิดหนึ่ง อาการของโรคคือผู้ป่วยไม่สามารถควบคุมการหลับได้ ในแต่ละวันผู้ป่วยอาจจะรู้สึกง่วงมากจนต้องหลับไปอย่างกระทันหันได้หลายๆครั้ง ข้อมูลเพิ่มเติม http://www.ninds.nih.gov/disorders/narcolepsy/narcolepsy.htm http://med.stanford.edu/school/Psychiatry/narcolepsy/ |
aftercare | (n) การติดตามผลการรักษา, การดูแลผู้ป่วยหลังจากได้รับการบำบัดรักษา, Syn. after-care |
bedpan | (n) กระโถนสำหรับถ่ายของเสียของผู้ป่วย |
admission | (n) การรับผู้ป่วยไว้ในโรงพยาบาล เช่น I just got back from another admission from the hospital. I had to be transported by ambulance to hospital because I was so sick and weak that I could not walk or even sit. |
homoeopathy | [โฮมีโอพาธี] (n) การบำบัดแบบโฮมีโอพาธีมีแนวคิดหรือปรัชญาพื้นฐานในการทำความเข้าใจร่างกายมนุษย์ที่แตกต่างจากระบบการแพทย์แผนปัจจุบันโดยสิ้นเชิง การมองร่างกายและจิตใจของ ผู้ป่วยจะไม่ได้มองเป็นอวัยวะที่แยกส่วนออกจากกัน แต่จะมองร่างกายและจิตใจของผู้ป่วยเป็นภาพรวมเดียวกัน ดังนั้นก่อนที่จะบำบัดผู้ป่วยจะต้องมีการสัมภาษณ์และคุยกับผู้ป่วยในเรื่องของลักษณะทั่วไป บุคลิกภาพ ประวัติทางการแพทย์ของครอบครัว อารมณ์ ความรู้สึกส่วนบุคคลต่อสิ่งแวดล้อม อาหาร อากาศ ฯลฯ รวมทั้งอาการของโรคด้วย นักบำบัด (practitioner) จะต้องนำคำตอบทั้งหมดมาประมวลและสรุปเป็นภาพรวมโดยเรียกว่า “ภาพของอาการ” (symtom picture)ดังนั้นการประเมินประสิทธิภาพของการบำบัดจึงไม่ควรใช้กรอบและแนวคิดของระบบการแพทย์แผนปัจจุบันประเมินแต่เพียงอย่างเดียว ควรมีการศึกษาและทำความเข้าใจแนวคิดพื้นฐานของการบำบัดแบบโฮมีโอพาธีด้วย โดยสรุปแล้วการบำบัดแบบโฮมีโอพาธีจัดเป็นศาสตร์การรักษาสุขภาพแบบองค์รวมที่เน้นเรื่องการปรับสมดุลสารชีวเคมีและพลังไหลเวียนภายในร่างกาย การให้ยาเป็นไปเพียงเพื่อกระตุ้นให้ร่างกายเกิดการปรับสมดุลด้วยกลไกตามธรรมชาติของร่างกายเอง ไม่ได้มุ่งหมายให้ยาไปขจัดหรือทำลายกลไกของร่างกายหรือสารที่ก่อให้เกิดอาการป่วย รวมทั้งไม่ได้มุ่งหมายที่จะขจัดสิ่งมีชีวิตใด ๆ ออกจากร่างกายด้วย |
alogia | [ออโลเจีย] (n) ความผิดปกติด้านพฤติกรรมของผู้ป่วยโรคจิตเภท เป็นหนึ่งในกลุ่มอาการด้านลบ ลักษณะคือพูดน้อย, เนื้อหาที่พูดมีน้อย , ใช้เวลานานกว่าจะตอบ |
Amyotrophic Lateral Sclerosis (ALS) | (n, name) โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง เป็นโรคที่เกิดจากการเสื่อมสลายของเซลล์ประสาทที่ควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อ พยาธิสภาพของโรคเอแอลเอสอยู่ที่บริเวณแกนสมอง และไขสันหลัง ทำให้ผู้ป่วยมีกล้ามเนื้อแขนขา และลำตัวอ่อนแรง กลืนลำบาก และพูดไม่ชัด คำว่า “Amyotrophic” หมายถึง กล้ามเนื้ออ่อนแรง ฝ่อลีบและเต้นพลิ้ว (fasciculation) ส่วนคำว่า “Lateral sclerosis” หมายถึงรอยโรคในทางเดินของกระแสประสาทซึ่งควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อในไขสันหลัง โรคเอแอลเอสพบน้อยมาก โดยพบได้เพียง 4 ถึง 6 ต่อประชากร 100, 000 คน และโอกาสที่จะพบผู้ป่วยรายใหม่มีเพียง 1.5 ถึง 2.5 ต่อประชากร 100, 000 คนต่อปี โรคนี้เป็นกับผู้ใหญ่วัยใดก็ได้ แต่จะพบบ่อยขึ้นตามอายุ อายุเฉลี่ยของผู้ป่วยโรคนี้ประมาณ 65 ปี โดยมักเป็นในเพศชายมากกว่าเพศหญิง จนถึงปัจจุบัน ยังไม่ทราบแน่ชัดว่าโรคเอแอลเอสเกิดขึ้นได้อย่างไร ผู้ป่วยราวร้อยละ 5 (โดยเฉพาะผู้ป่วยอายุน้อย) อาจมีประวัติโรคนี้ในครอบครัว สิ่งแวดล้อมหรือสารพิษบางชนิด อาจมีผลกับการเกิดโรคนี้ เนื่องจากพบว่าในบางพื้นที่ของโลก เช่นที่เกาะกวม พบโรคนี้มากกว่าที่อื่น นอกจากนั้นการศึกษาทางระบาดวิทยายังพบว่า นักกีฬาบางประเภท โดยเฉพาะนักฟุตบอลอาชีพมีโอกาสเป็นโรคนี้สูงกว่าประชากรทั่วไป ปัจจุบันเชื่อว่าสาเหตุของโรคนี้อาจเกิดจาก กลไกภูมิคุ้มกันต่อตนเองผิดปกติ (Autoimmune attack) หรือเกิดจากกลไกอนุมูลอิสระ (Free radicals) ทำลายเซลล์ประสาทของตนเอง ส่วนอีกทฤษฎีหนึ่งเชื่อว่า การเสื่อมสลายของเซลล์ประสาทในสมองและไขสันหลังเกิดจากสารสื่อนำกระแสประสาท (neurotransmitter) ที่เรียกว่ากลูตาเมต (glutamate) กระตุ้นให้เกิดการทำลายเซลล์ (ข้อมูลจาก ผศ.นพ.รุ่งนิรันดร์ ประดิษฐสุวรรณ สาขาวิชาอายุรศาสตร์ปัจฉิมวัย : http://www.thonburihospital.com/th/tip_detail.asp?id=22 , http://www.inf.ku.ac.th/article/diag/520506/alsmnd.html) |
pandemic | (n) โรคระบาด ที่มีการระบาดกระจายไปในพื้นที่ขนาดใหญ่ เช่น ทั่วประเทศ หลายประเทศในภูมิภาค หรือ กระจายไปทั่วโลก ถือเป็นระดับสูงสุดของการระบาด ที่เริ่มจาก endemic (โรคระบาดประจำถิ่น), outbreak (โรคระบาดประจำถิ่นที่มีการเพิ่มของผู้ป่วยผิดปกติ หรือ โรคใหม่ที่เริ่มการระบาด, epidemic (เริ่มแพร่ระบาดไปในวงกว้าง) และ pandemic (โรคระบาดไปทั่วทั้งประเทศ หรือ หลายพื้นที่ในโลก) |
ambulance | (n) รถพยาบาล, See also: ยานพาหนะส่งผู้ป่วย, Syn. hospital wagon, mobile hospital |
case history | (n) ประวัติบันทึก (ของผู้ป่วยหรือผู้ที่ได้รับความลำบากในสังคม), Syn. record |
catalepsy | (n) การเจ็บป่วยที่ผู้ป่วยไม่สามารถขยับเขยื้อนตนเองได้ |
coma | (n) สภาพไม่รู้สึกตัวของผู้ป่วย, See also: อาการหมดสติที่ยาวนาน, Syn. unconsciousness, trance, insensibility, stupor, torpor |
geriatrics | (n) การศึกษาเกี่ยวกับผู้ป่วยสูงอายุ, Syn. gerontology |
haemophiliac | (n) ผู้ป่วยที่มีสภาวะเลือดไหลไม่หยุด |
ICU | (abbr) หน่วยรักษาพยาบาลผู้ป่วยขั้นวิกฤต (คำย่อ intensive care unit), See also: หน่วยรักษาพยาบาลผู้ป่วยอาการหนัก |
madhouse | (n) โรงพยาบาลรักษาผู้ป่วยทางจิต |
orderly | (n) เจ้าหน้าที่โรงพยาบาล (ที่ไม่มีความรู้ทางการแพทย์ เช่น คนขนส่งผู้ป่วย), Syn. medical orderly |
patient | (n) คนป่วย, See also: คนไข้, ผู้ป่วย, คนเจ็บ, Syn. inpatient, outpatient, sick person |
sanatarium | (n) โรงพยาบาลสำหรับผู้เป็นโรคเรื้อรัง (เช่น วัณโรคหรือโรคจิต), See also: สถานพักฟื้นของผู้ป่วย |
sanatorium | (n) โรงพยาบาลสำหรับผู้เป็นโรคเรื้อรัง, See also: สถานพักฟื้นสำหรับผู้ป่วย, Syn. health resort, sanatorium, hospital |
sickbed | (n) เตียงผู้ป่วย, See also: เตียงคนไข้ |
attending physician | (n) แพทย์ประจำหอผู้ป่วย |
Carer | (n) ผู้ดูแล, พนักงานดูแล, พี่เลี้ยง บุคคลที่คอยดูแลให้ความช่วยเหลือผู้อื่นโดยเฉพาะเด็ก ผู้สูงอายุ ผู้ป่วย หรือผู้ที่มีความผิดปรกติทางด้านร่างกาย จิตใจ หรือสติปัญญา |
chikungunya | [ชิคุนกุนยา] (n) โรคติดเชื้อไวรัสชิคุนกุนยา มียุงลายเป็นพาหะนำโรค ทำให้ผู้ป่วยมีอาการไช้สูงฉับพลัน มีผื่นแดงขึ้นตามร่างกายและอาจมีอาการคัน ตาแดง ในผู้ใหญ่จะพบอาการปวดข้อร่วมด้วย |
Clostridium difficile | [คลอสตริเดียม ดิฟฟิไซล] แบคทีเรียหนึ่งในสาเหตุที่พบมากที่สุดของการติดเชื้อของลำไส้ใหญ่ ในสหรัฐอเมริกามีผลต่อผู้คนนับล้านต่อปี ผู้ป่วยที่ใช้ยาปฏิชีวนะอยู่ในความเสี่ยงของการกลายเป็นติดเชื้อกับการรักษาได้ยาก. ยาปฏิชีวนะจะรบกวนแบคทีเรียปกติของลำไส้, ช่วยให้ดื้อยาแบคทีเรียที่จะกลายเป็นตัวต้านที่อยู่ภายในลำไส้ใหญ่. หลายคนติดเชื้อแบคทีเรียรักษาลำบากเพราะไม่มีอาการ. คนเหล่านี้กลายเป็นผู้ให้บริการของเชื้อแบคทีเรียและสามารถติดเชื้อผู้อื่น ในคนอื่นๆ, สารพิษที่มีผลก่อให้เกิดโรคอุจจาระร่วง, อาการปวดท้อง, การอักเสบอย่างรุนแรงของลำไส้ใหญ่ (ไส้ใหญ่), ไข้, การตรวจนับเม็ดเลือดขาว, อาเจียนและการคายน้ำ. ในผู้ป่วยที่ได้รับผลกระทบอย่างรุนแรง, เยื่อบุภายในของลำไส้ใหญ่จะกลายเป็นที่รุนแรงอักเสบ (สภาพที่เรียกว่าเยื่อแผ่นบาง ๆ รอบเซลล์ผิดปกติ). ไม่ค่อยมีผนังและหลุมพัฒนา (ลำไส้ใหญ่จะไม่ค่อยมีผนังกั้นแต่จะเป็นรูพรุน) ซึ่งสามารถนำไปสู่การติดเชื้อที่คุกคามชีวิตของช่องท้อง |
Hepatorenal Syndrome | กลุ่มอาการโรคไตเนื่องจากโรคตับ เป็นภาวะทางการแพทย์อย่างหนึ่งซึ่งอาจเป็นอันตรายถึงชีวิต ทำให้ผู้ป่วยโรคตับแข็งหรือตับวายเต็มขั้นมีการทำงานของไตเสื่อมลงอย่างเฉียบพลัน โรคนี้มักเป็นอันตรายถึงแก่ชีวิตหากไม่ได้รับการผ่าตัดเปลี่ยนตับ การรักษาอื่นๆ เช่นการฟอกเลือด อาจช่วยชะลอการดำเนินโรคได้ |
nasogastric | [นาซโซ-ก๊าซทริค] การรักษาพยาบาลโดยการเสียบท่อพลาสติกเข้าทางรูจมูก ผ่านลำคอ และลงไปถึงกระเพาะอาหาร (ในบางกรณีย์ ทีมแพทย์อาจใช้วิธีการนี้ในการดูดสารพิษออกจากกระเพาะผู้ป่วย ซึ่งเรียกกันว่า การล้างท้อง) Orogastric Intubation (อ่านว่า ออโร-ก๊าซทริค อินทูเบชั่น) เป็นอีกวิธีการหนึ่งที่มีวัตถุประสงค์เหมือนกัน คือการสอดท่อพลาสติกลงไปในกระเพาะอาหาร หากแต่เสียบท่อพลาสติกเข้าทางปาก ผ่านลำคอเพื่อลงไปสุดที่กระเพาะอาหาร |
nasogastric | [นาซโซ-ก๊าซทริค] การรักษาพยาบาลโดยการเสียบท่อพลาสติกเข้าทางรูจมูก ผ่านลำคอ และลงไปถึงกระเพาะอาหาร (ในบางกรณีย์ ทีมแพทย์อาจใช้วิธีการนี้ในการดูดสารพิษออกจากกระเพาะผู้ป่วย ซึ่งเรียกกันว่า การล้างท้อง) Orogastric Intubation (อ่านว่า ออโร-ก๊าซทริค อินทูเบชั่น) เป็นอีกวิธีการหนึ่งที่มีวัตถุประสงค์เหมือนกัน คือการสอดท่อพลาสติกลงไปในกระเพาะอาหาร หากแต่เสียบท่อพลาสติกเข้าทางปาก ผ่านลำคอเพื่อลงไปสุดที่กระเพาะอาหาร, Syn. nasogastric intubation |
RSV | (abbrev) ไวรัส RSV หรือ Respiratory Syncytial Virus เป็นสาเหตุของการติดเชื้อระบบทางเดินหายใจตั้งแต่ส่วนบนจนถึงส่วนล่าง ส่งผลให้ผู้ป่วยมีอาการหลอดลมฝอยอักเสบ (Acute bronchiolitis) และอาจทำให้ปอดอักเสบติดเชื้อได้ (Pneumonia) โดยเฉพาะผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยง เช่น เด็กที่มีโรคประจำตัว คลอดก่อนกำหนด ฯลฯ อาการเริ่มแรกเหมือนไข้หวัด คือ มีไข้ ไอ น้ำมูกไหล แต่จะมีไอมาก เสมหะเยอะและเหนียวข้น หายใจหอบเหนื่อย หน้าอกบุ๋ม อาจมีเสียหงายใจดังวี๊ดๆ ซึม ไม่กินน้ำ หงุดหงิด กระวุนกระวาย มีสีเขียวคล้ำบริเวณริมฝีปาก หรือ ปลายมือปลายเท้า เนื่องจากร่างกายขาดออกซิเจน หากมีอาการดังกล่าว ควรไปพบแพทย์ ที่มา: เอกสารแผ่นพับจากโรงเรียนอนุบาลชนานันท์ เรียบเรียงโดยก้านแก้ว จากการสัมภาษณ์ เรืออากาศเอกแพทย์หญิงหฤทัย กมลาภรณ์ โรงพยาบาลรามาธิบดี |
Sims position | ตําแหน่งซิมส์เป็นตําแหน่งมาตรฐานที่ผู้ป่วยอยู่ทางด้านซ้ายของพวกเขาด้วยสะโพกขวาและหัวเข่างอ แขนส่วนล่างอยู่ด้านหลังต้นขางอ หัวเข่าซ้ายเอียงเล็กน้อย แขนขวาอยู่ในตําแหน่งที่สะดวกสบายต่อหน้าร่างกายแขนขวาวางอยู่ด้านหลังร่างกาย เรียกอีกอย่างว่าตําแหน่ง "ด้าน" |
Sorbitol | แอลกอฮอล์น้ําตาล(หวาน)ที่มี 4 แคลอรี่ต่อกรัม 2.สารที่ผลิตโดยร่างกายในผู้ป่วยโรคเบาหวานที่อาจทําให้เกิดความเสียหายต่อดวงตาและเส้นประสาท |