313 ผลลัพธ์ สำหรับ *ประธาน*
หรือค้นหา: ประธาน, -ประธาน-

Longdo Unapproved TH - EN
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
ประธานในพิธี(n, phrase) Guest of Honor

Longdo Unapproved TH-DHAMMA - EN
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
พระประธาน(n) principal Buddha image

NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
ประธาน(adj) principal, See also: main, chief, Syn. สำคัญ, Thai Definition: ที่เป็นหลักสำคัญ
ประธาน(n) president, See also: chairman, chief, leader, Syn. นายงาน, เจ้าของ, ผู้บังคับบัญชา, หัวหน้า, ผู้นำ, ผู้มีอำนาจ, Example: ประธานบริษัทจัดงานเลี้ยงต้อนรับพนักงานใหม่, Count Unit: คน, Thai Definition: ตำแหน่งผู้ที่เป็นหัวหน้าหรือเป็นใหญ่ในที่ประชุม
ประธาน(n) subject, Example: คำนามตำแหน่งหน้ากริยาคือประธานของประโยค, Count Unit: ตัว, Notes: ไวยากรณ์
พระประธาน(n) principle Buddha image in a temple, See also: image of Buddha in a temple, Example: พระประธานที่ประดิษฐาน ณ อุโบสถวัดพระราม 9 กาญจนาภิเษกได้รับการออกแบบจากเรืออากาศเอกอาวุธ เงินชูกลิ่น, Count Unit: องค์, Thai Definition: พระพุทธรูปองค์ใหญ่ที่ประดิษฐานอยู่ในพระอุโบสถหรือวิหาร, Notes: (ราชา)
รองประธาน(n) vice chairman, Thai Definition: เป็นตำแหน่งที่สองรองจากตำแหน่งประธาน
ประธานรัฐสภา(n) Speaker of Parliament, See also: President of the National Assembly, Example: พรรคฝ่ายค้านพยายามรวบรวมเสียงของส.ส.เพื่อเข้าชื่อกันขอให้ประธานรัฐสภาเรียกประชุมรัฐสภาสมัยวิสามัญ
ประธานาธิบดี(n) president, Syn. ผู้นำ, ผู้ปกครอง, ประมุข, Example: ประธานาธิบดีถูกลอบสังหารโดยกลุ่มผู้ปฏิวัติ, Count Unit: คน, Thai Definition: ประมุขของประเทศที่ปกครองโดยระบอบสาธารณรัฐ
ประธานกรรมการ(n) committee chairman, See also: chairman of the board, Example: ผมได้รับมอบหมายให้เป็นประธานกรรมการกสช. ในพื้นที่ภาคใต้ 14 จังหวัด, Count Unit: คน
ประธานที่ประชุม(n) chairman, See also: president, Count Unit: คน, ท่าน
รองประธานกรรมการ(n) vice-president, Example: ท่านคงจะต้องปรึกษากับรองประธานกรรมการอีกทีหนึ่ง
ประธานกรรมการผู้บริหารระดับสูง(n) senior executive managing director

พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
ประธาน ๑น. ตำแหน่งผู้ที่เป็นหัวหน้าหรือเป็นใหญ่ในที่ประชุม เช่น ตำแหน่งประธานรัฐสภา ตำแหน่งประธานกรรมการ, เรียกผู้ที่เป็นหัวหน้าหรือเป็นใหญ่ในที่ประชุม เช่น ประธานรัฐสภา ประธานกรรมการ.
ประธาน ๑ว. ที่เป็นหลักสำคัญในที่นั้น ๆ เช่น พระประธาน.
ประธาน ๒น. ผู้กระทำ เช่น เด็กวิ่ง เด็ก เป็นประธานของกริยา วิ่ง คนกินข้าว คน เป็นประธานของกริยา กิน.
ประธาน ๓น. ความเพียร มี ๔ อย่าง คือ ๑. สังวรประธาน เพียรระวังไม่ให้บาปเกิดขึ้นในสันดาน ๒. ปหานประธาน เพียรละบาปที่เกิดขึ้นแล้ว ๓. ภาวนาประธาน เพียรให้กุศลเกิดขึ้นในสันดาน ๔. อนุรักขนาประธาน เพียรรักษากุศลที่เกิดขึ้นแล้วไม่ให้เสื่อม.
ประธานาธิบดี(ปฺระทานาทิบอดี, ปฺระทานาทิบบอดี) น. ประมุขของประเทศที่ปกครองโดยระบอบสาธารณรัฐ.
ประโยคประธานน. หลักไวยากรณ์, หลัก.
พระประธานน. พระพุทธรูปองค์ใหญ่ที่ประดิษฐานอยู่ในพระอุโบสถหรือวิหารเป็นต้น.
ร่วมนอกประธานน. พื้นที่ภายในอุโบสถ วิหาร มีความกว้างตั้งแต่ริมฝาด้านในจนถึงริมนอกของเสาร่วมใน และมีความยาวตลอดถึงฝาหุ้มกลองทั้ง ๒ ด้าน, ร่วมนอก ก็เรียก.
ร่วมในประธานน. พื้นที่ภายในอุโบสถ วิหาร มีความกว้างตั้งแต่ริมนอกของเสาร่วมในแถวหนึ่งถึงริมนอกของเสาร่วมในอีกแถวหนึ่ง และมีความยาวตลอดถึงฝาหุ้มกลองทั้ง ๒ ด้าน, ร่วมใน ก็เรียก.
เสาในประธานน. เสาภายในอุโบสถ วิหาร ที่ตั้งเป็นคู่ ๆ แบ่งพื้นที่ระหว่างเสาเป็นห้อง ๆ ตั้งขึ้นไปรับโครงสร้างหลังคา มีทั้งเสากลม เสาเหลี่ยม เป็นต้น, เสาประธาน หรือ เสาร่วมใน ก็เรียก.
เสาประธานน. เสาภายในอุโบสถ วิหาร ที่ตั้งเป็นคู่ ๆ แบ่งพื้นที่ระหว่างเสาเป็นห้อง ๆ ตั้งขึ้นไปรับโครงสร้างหลังคา มีทั้งเสากลม เสาเหลี่ยม เป็นต้น, เสาในประธาน หรือ เสาร่วมใน ก็เรียก.
หนี้ประธานน. หนี้หลักหรือหนี้ที่เกิดขึ้นโดยตรงจากมูลหนี้อันใดอันหนึ่ง.
กรรตุวาจก(กัดตุ-, กันตุ-) ก. กริยาที่บอกว่าประธานเป็นกรรตุการกคือผู้ทำหรือผู้ใช้ให้ทำ, กริยาของประโยคที่แสดงว่าประธานทำหน้าที่เป็นกรรตุการกคือเป็นผู้ทำหรือผู้ใช้ให้ทำ เช่น ครูเขียนหนังสือ (ประธานเป็นผู้ทำ)ครูให้นักเรียนเขียนหนังสือ (ประธานเป็นผู้ใช้ให้ทำ).
กรรมการก(กำมะ-) น. ผู้ถูกทำ เป็นส่วนสำคัญส่วนหนึ่งใน ๓ ส่วนของประโยคที่กริยาต้องมีกรรมรับ เช่น ตำรวจยิงผู้ร้าย ผู้ร้าย เป็น กรรมการก, ถ้าต้องการให้ผู้ถูกทำเด่น ก็เรียงเป็นภาคประธานของประโยค เช่น ผู้ร้ายถูกตำรวจยิง.
กรรมวาจก(กำมะ-) น. ระเบียบของกริยาที่บอกว่าประธานเป็นกรรมการกหรือผู้ถูกทำ, กริยาของประโยคที่แสดงว่าประธานทำหน้าที่เป็นกรรมการก คือ ผู้ถูกทำ, กริยาของประโยคกรรมต้องใช้สกรรมกริยา คือ กริยาที่ต้องมีกรรมรับ, บางทีก็มีกริยานุเคราะห์ “ถูก” นำ และใช้หมายไปในทางไม่ดี เช่น เด็กถูกตี ถูกตี เป็นกริยา กรรมวาจก เด็กเป็นกรรมการก แต่บางทีก็ไม่ปรากฏกริยานุเคราะห์ “ถูก” เช่น หนังสือเล่มนี้แต่งดีมาก.
การก(กา-รก) ก. กริยาที่ทำหน้าที่ประธาน กรรม หรือส่วนขยายของประโยคที่คล้ายกับนาม มี ๕ ชนิด คือ กรรตุการก กรรมการก การิตการก วิกัติการก และวิเศษณการก.
การิตการก(การิดตะ-) น. ผู้ถูกใช้ให้ทำ, เป็นประธานของประโยค เรียงไว้หน้ากริยา “ถูก-ให้” เช่น คนงานถูกนายจ้างให้ทำงานทั้งกลางวันและกลางคืน, ถ้ามิได้เป็นประธานก็เรียงไว้หลังบุรพบท “ยัง” หรือกริยานุเคราะห์ “ให้” เช่น นายจ้างยังลูกจ้างให้ทำงาน นายจ้างให้ลูกจ้างทำงาน.
การิตวาจก(การิดตะ-) ก. กริยาที่บอกว่าประธานเป็นการิตการกหรือผู้รับใช้, กริยาของประโยคที่แสดงว่าประธานทำหน้าที่เป็นการิตการก คือ เป็นผู้ถูกใช้ กริยาของการิตวาจกใช้กริยานุเคราะห์ “ถูก” “ถูก-ให้” หรือ “ถูกให้” เช่น ลูกจ้างถูกนายจ้างให้ทำงาน.
ขึ้นชื่อว่าใช้เป็นคำประกอบหน้านามที่เป็นประธานหรือใช้ขึ้นต้นข้อความ เช่น ขึ้นชื่อว่าคนพาลละก็ต้องหลีกให้ห่างไกล.
คณะองคมนตรีน. คณะบุคคลซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงเลือกและแต่งตั้งตามพระราชอัธยาศัยจากผู้ทรงคุณวุฒิ ประกอบด้วยประธานองคมนตรีคนหนึ่ง และองคมนตรีอื่นอีกไม่เกินจำนวนที่รัฐธรรมนูญกำหนด มีหน้าที่ถวายความเห็นต่อพระมหากษัตริย์ในพระราช-กรณียกิจทั้งปวงที่พระมหากษัตริย์ทรงปรึกษา และมีหน้าที่อื่นตามที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ.
คว่ำกระดานก. อาการที่ฝ่ายซึ่งเห็นว่าตนกำลังจะแพ้ในการเล่นหมากรุก จึงพาลล้มกระดานเลิกเล่นกันโดยแกล้งปัดตัวหมากรุกบนกระดานให้กระจัดกระจายหรือเทตัวหมากรุกบนกระดานเป็นต้น, โดยปริยายหมายถึงการที่ฝ่ายมีอำนาจล้มเลิกการประชุมหรือกิจการใด ๆ เสียกลางคัน เช่น ประธานเห็นว่าจะคุมเสียงในการประชุมไม่อยู่ เลยสั่งปิดประชุมเป็นการคว่ำกระดานเสีย, ล้มกระดาน ก็ว่า.
เจดีย์ทิศน. เจดีย์บริวารตั้งอยู่บนฐานไพทีหรือลานประทักษิณล้อมเจดีย์ประธาน มี ๔ องค์ เหมือนดังประจำทิศต่าง ๆ ตามคตินิยมทางจักรวาล.
เจว็ดโดยปริยายหมายความว่า ผู้ที่ได้รับยกย่องให้เป็นประธานหรือเป็นใหญ่ แต่ไม่มีอำนาจ เช่น ประธานไม่ได้เป็นเจว็ด ต้องมีสิทธิ์พิจารณาเรื่องที่เสนอได้
เฒ่าแก่ผู้ใหญ่ที่เป็นประธานในการสู่ขอและการหมั้น, เถ้าแก่ ก็ใช้.
ถูก ๑เป็นกริยาช่วยแสดงว่าประธานของประโยคเป็นผู้ถูกทำ (มักใช้ในข้อความที่ทำให้ผู้ถูกทำเดือดร้อนหรือไม่พอใจ) เช่น ถูกเฆี่ยน ถูกลงโทษ.
เถ้าแก่น. ผู้ใหญ่ที่เป็นประธานในการสู่ขอและการหมั้น, เฒ่าแก่ ก็ใช้
แถลง(ถะแหฺลง) ก. บอก เล่า อธิบาย หรือแจ้งให้ทราบเป็นทางการ เช่น ส่วนรายละเอียดรองประธานจะแถลงให้ทราบต่อไป.
ทำดำเนินการ, ปฏิบัติงาน, เช่น ทำหน้าที่ประธาน ทำตามคำสั่ง ทำตามกฎหมาย
ทิศาปาโมกข์น. “ผู้เป็นใหญ่เป็นประธานในทิศ”, อาจารย์ผู้มีความรู้และชื่อเสียงโด่งดัง.
ที่ประชุมใหญ่ของศาลฎีกาน. การประชุมของผู้พิพากษาศาลฎีกาและผู้พิพากษาอาวุโสในศาลฎีกาทุกคนเพื่อปฏิบัติหน้าที่ตามที่มีกฎหมายกำหนด เช่น การวินิจฉัยปัญหาในคดีตามที่ประธานศาลฎีกาเห็นสมควร หรือการเลือกองค์คณะผู้พิพากษาศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง.
ธงชัยพระครุฑพ่าห์น้อยน. ชื่อธงมีลักษณะเป็นผ้าสีเหลืองรูปสี่เหลี่ยม มีภาพครุฑที่กลางผืนธง คันธงท่อนบนทำด้วยเหล็ก ยอดเรียวแหลมคร่ำทอง ท่อนล่างทำด้วยไม้ชัยพฤกษ์ติดกาบโลหะจำหลักเป็นภาพครุฑจับนาคจำนวน ๔ กาบ มีหางนกยูงผูกเป็นแพนเสียบที่กาบ ใช้เชิญนำกระบวนพยุหยาตรา และเชิญประดิษฐานในพิธีมณฑลในการพระราชพิธีต่าง ๆ เป็นต้น เข้าคู่กับ ธงชัยราชกระบี่ธุชน้อย หรือ ธงชัยราชกระบี่ยุทธ โดยธงชัยพระครุฑพ่าห์น้อยอยู่ทางด้านขวาของประธานในงาน และธงชัยราชกระบี่ธุชน้อยหรือธงชัยราชกระบี่ยุทธอยู่ทางด้านซ้าย.
ธงชัยราชกระบี่ธุชน้อยน. ชื่อธงมีลักษณะเป็นผ้าสีแดงรูปสี่เหลี่ยม มีภาพพระกระบี่คือหนุมานที่กลางผืนธง คันธงท่อนบนทำด้วยเหล็ก ยอดเรียวแหลมคร่ำทอง ท่อนล่างทำด้วยไม้ชัยพฤกษ์ติดกาบโลหะจำหลักเป็นภาพหนุมานจำนวน ๔ กาบ มีหางนกยูงเป็นแพนเสียบที่แผ่นกาบ มีอีกชื่อหนึ่งว่า ธงชัยราชกระบี่ยุทธ ใช้เชิญนำกระบวนพยุหยาตรา และเชิญประดิษฐานในพิธีมณฑลในการพระราชพิธีต่าง ๆ เป็นต้น เข้าคู่กับ ธงชัยพระครุฑพ่าห์น้อย โดยธงชัยราชกระบี่ธุชน้อยอยู่ทางด้านซ้ายของประธานในงาน และธงชัยพระครุฑพ่าห์น้อยอยู่ทางด้านขวา.
บริวาร(บอริวาน) น. ผู้แวดล้อมหรือผู้ติดตาม เช่น พระพุทธเจ้ามีภิกษุประมาณ ๕๐๐ รูปเป็นบริวาร, สิ่งที่เป็นส่วนประกอบหรือสมทบสิ่งอื่นที่เป็นประธาน เช่น บริวารกฐิน.
ประชุมโต๊ะกลมน. การประชุมปรึกษาหารือหรืออภิปราย ซึ่งจัดที่นั่งล้อมกันเป็นวงกลม ไม่มีประธาน ทุกคนมีสิทธิ์เสนอความคิดเห็นเท่าเทียมกัน.
ปรัศว์เรียกอาคาร ๒ หลังที่อยู่ขนานกัน ซึ่งอยู่ต่อท้ายพระที่นั่งที่เป็นประธาน ว่า พระปรัศว์ เช่น ในหมู่พระมหามณเฑียร มีพระที่นั่งเทพสถานพิลาสเป็นพระปรัศว์ขวา พระที่นั่งเทพอาศน์พิไลเป็นพระปรัศว์ซ้าย, โบราณเขียนว่า พระปลัด ก็มี.
ปาพจน์น. คำเป็นประธาน, พุทธวจนะ, คำบาลี.
ปาโมกข์น. ผู้เป็นหัวหน้า, ผู้เป็นประธาน.
แปน. ส่วนหนึ่งของโครงสร้างหลังคา วางอยู่บนโครงสร้างอื่น ๆ ได้แก่ จันทัน ปลายเต้า เสาตุ๊กตา ปลายขื่อ และปลายขื่อประธาน ทำหน้าที่รับกลอนหรือรับเครื่องมุงโดยตรง.
แปหัวเสาน. แปซึ่งพาดบนหัวเสาประธาน มักมีรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส.
พระอันดับน. พระลูกวัด, พระอนุจร ก็เรียก, พระผู้มิได้เป็นประธานหรือคู่สวดในสังฆกรรม เช่น พระอันดับนาค (พระอันดับในพิธีบวชนาค) พระอันดับแจง (พระอันดับในพิธีสวดแจง), โดยปริยายหมายถึงผู้น้อยที่เข้าร่วมพิธีโดยมิได้มีบทบาทสำคัญอะไร.
แพแตกว. ลักษณะที่ครอบครัวเป็นต้นแตกกระจัดกระจายแยกย้ายกันไปเพราะหัวหน้าครอบครัวหรือผู้เป็นหลักเป็นประธานประสบความวิบัติหรือเสียชีวิต.
มหาชัยน. ชื่อเพลงไทยโบราณ อัตรา ๒ ชั้น หน้าทับปรบไก่ มี ๒ ท่อน อยู่ในเรื่องทำขวัญ ต่อมาแปลงเป็นทางฝรั่งใช้เป็นเพลงคำนับเมื่อบุคคลสำคัญมาถึงมณฑลพิธี, สำนักพระราชวังและข้อบังคับกระทรวงกลาโหมกำหนดให้ดุริยางค์บรรเลงเพลงมหาชัยรับและส่งเสด็จในพิธีการที่พระบรมวงศ์เสด็จพระราชดำเนินหรือเสด็จไปทรงเป็นประธาน และบรรเลงรับและส่งประธานในพิธีการที่เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ และบรรเลงเป็นเพลงเคารพธงราชวงศ์เวลาผ่านหรือขึ้นลง นายทหารที่มียศจอมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ.
มหาดไทยน. ชื่อกรมที่ปกครองหัวเมืองฝ่ายเหนือในสมัยโบราณ มีสมุหนายกเป็นประธาน, ชื่อกระทรวงที่มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการปกครองท้องที่ บำบัดทุกข์บำรุงสุข การพัฒนาชนบทและชุมชน การส่งเสริมการศึกษาและการประกอบอาชีพ การรักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน การป้องกันสาธารณภัย การผังเมือง การโยธา และการราชทัณฑ์.
แม่เรียกสิ่งที่เป็นประธานของสิ่งต่าง ๆ ในพวกเดียวกัน เช่น แม่กระได แม่แคร่ แม่แบบ
แม่ลายน. ลายตอนที่เป็นประธานมีซํ้า ๆ กันเป็นแถวไป.
โมกข์ ๒ว. หัวหน้า, ประธาน.
ยืนชิงช้าน. เรียกข้าราชการที่เป็นประธานในพิธีโล้ชิงช้าแทนพระเจ้าแผ่นดิน ว่า พระยายืนชิงช้า.
ร่วมนอกพื้นที่ภายในอุโบสถ วิหาร มีความกว้างตั้งแต่ริมฝาด้านในจนถึงริมนอกของเสาร่วมใน และมีความยาวตลอดถึงฝาหุ้มกลองทั้ง ๒ ด้าน, ร่วมนอกประธาน ก็เรียก.
ร่วมในพื้นที่ภายในอุโบสถ วิหาร มีความกว้างตั้งแต่ริมนอกของเสาร่วมในแถวหนึ่งถึงริมนอกของเสาร่วมในอีกแถวหนึ่ง และมีความยาวตลอดถึงฝาหุ้มกลองทั้ง ๒ ด้าน, ร่วมในประธาน ก็เรียก.
รัฐพิธีน. งานที่รัฐบาลจัดขึ้นโดยกราบบังคมทูลพระกรุณาให้ทรงรับไว้มีกำหนดการเป็นประจำ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะเสด็จพระราชดำเนินไปทรงเป็นประธาน เช่นวันที่ระลึกสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช วันที่ระลึกพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว พระมหาเจษฎาราชเจ้า.

ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
presideเป็นประธาน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
Presidentประธานาธิบดี [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
president๑. ประธาน, ประธานที่ประชุม, นายก๒. อธิการบดี [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
Presidentประธานาธิบดี [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
president๑. ประธาน, ประธานที่ประชุม (ก. ทั่วไป)๒. กรรมการผู้จัดการ (ก. พาณิชย์) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
president pro temporeประธานชั่วคราว [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
President, Viceรองประธานาธิบดี [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
president, vice๑. รองประธาน, รองประธานที่ประชุม, อุปนายก๒. รองอธิการบดี [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
president-electว่าที่ประธานาธิบดี [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
principal thingทรัพย์ที่เป็นประธาน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
presidential governmentการปกครองระบบประธานาธิบดี [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
presidential systemระบบประธานาธิบดี [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
presidential-congressional systemระบบประธานาธิบดีและรัฐสภา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
Lord Chancellor; Lord High Chancellorประธานฝ่ายตุลาการอังกฤษ (เป็นประธานสภาขุนนางด้วย) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
Lord High Chancellorประธานศาลสูงของอังกฤษ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
rule, gavelการรักษาระเบียบในสภา (โดยประธานเคาะค้อน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
Speakerประธานสภาผู้แทนราษฎร [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
Speaker of the Houseประธานสภาผู้แทนราษฎร [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
system, presidentialระบบประธานาธิบดี [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
son, favouriteตัวเก็งของท้องถิ่น (ในการเลือกตั้งประธานาธิบดี) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
bronchus, mainหลอดลมประธาน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
main bronchusหลอดลมประธาน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
mainสำคัญ, ประธาน, ใหญ่, หลัก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
catching the Speaker's eyeสบตาประธานสภา (เพื่อขออภิปราย) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
chairmanประธาน, ประธานที่ประชุม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
CIO (chief information officer)ซีไอโอ (ประธานฝ่ายสารสนเทศ) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
CIO (chief information officer)ซีไอโอ (ประธานฝ่ายสารสนเทศ) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
Chancellor, Lord Highประธานศาลสูงของอังกฤษ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
chief executive officer (CEO)ประธานบริหาร (ซีอีโอ) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
chief executive officer (CEO)ประธานบริหาร (ซีอีโอ) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
chief information officer (CIO)ประธานฝ่ายสารสนเทศ (ซีไอโอ) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
chief information officer (CIO)ประธานฝ่ายสารสนเทศ (ซีไอโอ) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
Chief Justice๑. ประธานศาลสูงสุด (อเมริกัน)๒. ประธานศาลฎีกา (ไทย) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
Chief Justiceประธานศาลฎีกา (ไทย), ประธานศาลสูงสุด [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
CEO (chief executive officer)ซีอีโอ (ประธานบริหาร) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
CEO (chief executive officer)ซีอีโอ (ประธานบริหาร) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
gavel ruleการรักษาระเบียบในสภา (โดยประธานเคาะค้อน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
government, presidentialการปกครองระบบประธานาธิบดี [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
favourite sonตัวเก็งของท้องถิ่น (ในการเลือกตั้งประธานาธิบดี) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
Vice Presidentรองประธานาธิบดี [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
vice president๑. รองประธาน, รองประธานที่ประชุม, อุปนายก๒. รองอธิการบดี [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]

คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Presidential candidatesผู้สมัครรับเลือกตั้งประธานาธิบดี [TU Subject Heading]
Presidentsประธานาธิบดี [TU Subject Heading]
Presidents' spousesคู่สมรสประธานาธิบดี [TU Subject Heading]
ASEAN-Australia Forumการประชุมอาเซียน-ออสเตรเลีย เป็นการประชุมระดับอธิบดี จัดขึ้นทุกๆ 18 - 24 เดือน โดยหัวหน้าคณะ ผู้แทนของออสเตรเลียและประเทศผู้ประสานงานของอาเซียนจะเป็นระดับเจ้าหน้าที่ อาวุโส (ปลัดกระทรวงฯ) และเป็นประธานร่วมของการประชุม เพื่อหารือและกำกับดูแลความร่วมมือระหว่างกันในทุกด้าน [การทูต]
Agreement for the Application of the Bolivarian Alternative for the Peoples of our America and the People’s Trade Agreementsความตกลงอัลบา เกิดขึ้นจากแนวความคิดของประธานาธิบดี Hugo Cha'vez แห่งเวเนซุเอลาหลังประกาศถอนตัวจากการเป็นสมาชิกประชาคมแอนเดียนเพื่อแสดง ความไม่พอใจที่โคลัมเบียและเปรูจัดทำความตกลงการค้าเสรีกับสหรัฐฯ ข้อตกลง ALBA จึงเป็นทางเลือกในการจัดทำความตกลงทางการค้าตามแนวสังคมนิยมแทนการจัดทำเขต การค้าเสรีแห่งทวีปอเมริกา (FTAA) ปัจจุบันมีประเทศสมาชิก 3 ประเทศ ได้แก่ เวเนซุเอลา คิวบา และโบลิเวีย [การทูต]
ASEAN Ministerial Meetingการประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียน " เป็นการประชุมประจำปีของรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียน โดยประเทศสมาชิกอาเซียนที่เป็นประธานคณะกรรมการประจำอาเซียนจะเป็น เจ้าภาพ ส่วนใหญ่จะจัดการประชุมในช่วงเดือนกรกฎาคมของทุกปี " [การทูต]
ASEAN Troikaกลุ่มผู้ประสานงานของอาเซียน " เป็นข้อเสนอของไทยในการประชุมสุดยอดอย่างไม่เป็นทางการ ณ กรุงมะนิลา เมื่อ 28 พฤศจิกายน 2542 ซึ่งได้รับความเห็นชอบจาก ผู้นำประเทศ/รัฐบาลอาเซียน เป็นกลไกเฉพาะกิจในระดับรัฐมนตรี มีวัตถุประสงค์เพื่อให้อาเซียนสามารถแก้ไขและร่วมมือกันได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ทันท่วงทีและใกล้ชิดกันมากยิ่งขึ้น ในเรื่องที่ส่งผลกระทบต่อสันติภาพ และในเรื่องที่อาเซียนมีความห่วงกังวลร่วมกันว่ามี แนวโน้มที่จะส่งผลกระทบต่อสันติภาพและเสถียรภาพของภูมิภาค ทั้งนี้ กลุ่มผู้ประสานงานอาเซียนจะปฏิบัติงานโดยยึดหลักการที่สำคัญของอาเซียน คือ หลักฉันทามติ และการไม่แทรกแซงกิจการภายใน กลุ่มผู้ประสานงานอาเซียนประกอบด้วยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของ ประเทศที่เป็นประธานคณะกรรมการประจำของ อาเซียนในปัจจุบัน อดีต และอนาคต " [การทูต]
Asia Europe Meetingการประชุมเอเชีย-ยุโรป " เป็นการประชุมระดับผู้นำจากเอเชีย 10 ประเทศ คือ ไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย สิงคโปร์ เวียดนาม ฟิลิปปินส์ บรูไน ดารุสซาลาม จีน สาธารณรัฐเกาหลี ญี่ปุ่น ผู้นำจากยุโรป 15 ประเทศ คือ สหราช- อาณาจักร ฝรั่งเศส เยอรมนี อิตาลี สเปน โปรตุเกส เนเธอร์แลนด์ เบลเยี่ยม ลักเซมเบิร์ก เดนมาร์ก สวีเดน ไอร์แลนด์ กรีซ ฟินแลนด์ ออสเตรีย และประธานคณะกรรมาธิการยุโรป การประชุมครั้งแรกมีขึ้น ที่กรุงเทพฯ เมื่อปี พ.ศ. 2539 " [การทูต]
East Asia Vision Groupกลุ่มวิสัยทัศน์ในภูมิภาคเอเชียตะวันออก จัดตั้งขึ้นตามข้อเสนอของประธานาธิบดีคิม แด จุง แห่งสาธารณรัฐเกาหลี ในระหว่างการประชุมหัวหน้ารัฐบาลอาเซียนกับจีน ญี่ปุ่น และสาธารณรัฐเกาหลี ที่กรุงฮานอย เมื่อเดือนธันวาคม 2541 เพื่อเป็นเวทีระดมความคิดและแสวงหาแนวทางขยายความร่วมมือระหว่างกันในทุก ด้านและทุกระดับเพื่อมุ่งแก้ไขวิกฤตเศรษฐกิจและพัฒนาภูมิภาคนี้อย่างต่อเนื่อง [การทูต]
Eisenhower Doctrineลัทธิไอเซนฮาวร์ เมื่อวันที่ 5 มกราคม ค.ศ. 1957 ประธานาธิบดีไอเซนฮาวร์ของสหรัฐอเมริกา ซึ่งมีความวิตกห่วงใยในสถานการณ์ที่ล่อแหลมต่ออันตรายในภูมิภาคตะวันออกกลาง ได้อ่านสารพิเศษต่อที่ประชุมร่วมระหว่างสภาผู้แทนกับวุฒิสภาขอร้องให้รัฐสภา สหรัฐฯ ลงมติรับรองโครงการช่วยเหลือทางเศรษฐกิจและทางทหาร เพื่อธำรงรักษาไว้ซึ่งเอกราชแห่งชาติของบรรดาประเทศในภูมิภาคตะวันออกกลาง ให้มีความมั่นคงยิ่งขึ้น ดังนั้น ในการสนองตอบสารพิเศษดังกล่าว รัฐสภาสหรัฐฯ ได้ผ่านข้อมติร่วมกันเมื่อวันที่ 7 มีนาคม ค.ศ. 1957 มอบให้ประธานาธิบดีมีอำนาจให้ความร่วมมือและอำนวยความช่วยเหลือแก่ชาติหรือ กลุ่มชาติต่างๆ ในภูมิภาคตะวันออกกลาง ซึ่งต้องการความช่วยเหลือเช่นนั้น ในการที่จะพัฒนาพลังทางเศรษฐกิจเพื่อรักษาไว้ซึ่งเอกราชแห่งชาติตน และให้จัดโครงการช่วยเหลือทางทหารแก่ชาติต่างๆ ในภาคนั้นซึ่งต้องการความช่วยเหลือดังกล่าว ทั้งได้มอบอำนาจให้ประธานาธิบดีสามารถใช้กองทัพสหรัฐฯ เข้าช่วยเหลือชาติเหล่านั้นที่แสดงเจตนาขอความช่วยเหลือ เพื่อต่อต้านการรุกรานจากประเทศใด ๆ ที่อยู่ใต้อำนาจควบคุมของคอมมิวนิสต์ระหว่างประเทศ [การทูต]
Foreign Policyนโยบายต่างประเทศ คือแผนการดำเนินการในกิจการระหว่างประเทศ ซึ่งผู้กำหนดนโยบายในคณะรัฐบาลเป็นผู้จัดขึ้น ในประเทศที่มีรัฐบาลประชาธิปไตยในรูปรัฐสภา ผู้ที่จะชี้ขาดเรื่องนโยบายต่างประเทศได้แก่คณะรัฐมนตรี อันมีนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้าคณะ และจะได้รับความเห็นชอบจากผู้แทนของประชาชนที่ได้รับการเลือกตั้ง ส่วนรัฐบาลประชาธิปไตยในรูปประธานาธิบดี ตัวประธานาธิบดีเองซึ่งโดยปกติแล้วจะได้รับคำแนะนำจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวง การต่างประเทศ และบุคคลชั้นผู้นำฝ่ายนิติบัญญัติ จะเป็นผู้กำหนดนโยบายต่างประเทศ [การทูต]
General Border Committeeคณะกรรมการชายแดนทั่วไป เป็นกลไกความร่วมมือด้านความมั่นคง ชายแดน ซึ่งมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและประเทศเพื่อนบ้านเป็นประธานร่วม กัน ทำหน้าที่กกำหนดแนวทางและมาตรการที่เหมาะสมเกี่ยวกับการส่งเสริมความร่วมมือ รักษาความสงบเรียบร้อยและเสถียรภาพในพื้นที่บริเวณชายแดน ซึ่งกลไกนี้ไทยมีกับประเทศเพื่อนบ้านที่มีพรมแดนติดต่อกันทั้ง 4 ประเทศ [การทูต]
Heads of Stateผู้แทนที่สำคัญที่สุดของรัฐ หรือประมุขของรัฐ ในบางกรณีอาจทำหน้าที่เป็นตัวแทนของรัฐ ในการเจริญความสัมพันธ์กับประเทศต่างๆ โดยมีอำนาจเต็มที่จะประกอบการใด ๆ ได้ ประมุขของรัฐนั้นอาจได้แก่ พระจักรพรรดิ (Emperor) พระเจ้าแผ่นดิน (King) พระราชินี (Queen) และประธานาธิบดี (President)ประมุขของรัฐย่อมมีสิทธิที่จะได้รับการเคารพ และการยอมรับนับถือจากประเทศอื่นๆ ในสังคมนานาประเทศ ในแง่พิธีการทูต ผู้ที่เป็นกษัตริย์อาจได้รับเกียรติแตกต่างกับผู้ที่เป็นประธานาธิบดี แต่ความแตกต่างเช่นนี้หามีความสำคัญในแง่กฎหมายอย่างใดไม่ เมื่อประมุขของรัฐเดินทางไปเยือนต่างประเทศ ตัวประมุขพร้อมด้วยบุคคลในครอบครัวและบริวารทั้งหลาย ตลอดจนถึงทรัพย์สินของประมุขจะไดรับความคุ้มกัน (Immunity) ทั้งในทางแพ่งและอาญาคำว่าประมุขของรัฐอาจหมายถึงหัวหน้าของรัฐบาลก็ได้ เช่น ในกรณีสหรัฐอเมริกา แต่ในบางประเทศ เช่น อังกฤษ ประมุขของรัฐมิได้เป็นหัวหน้าของรัฐบาล ผู้ที่เป็นหัวหน้าของรัฐบาลได้แก่ นายกรัฐมนตรี (Prime Minister) ในประเทศที่มีการปกครองในรูปสาธารณรัฐ (Republic) ถือว่าอำนาจอธิปไตยตกอยู่กับประชาชน แม้แต่ตัวประธานาธิบดีของประเทศก็ไม่มีอำนาจอธิปไตย หากแต่เป็นประชาชนพลเมืองคนหนึ่ง ซึ่งได้รับการเลือกตั้งให้เข้าไปบริหารประเทศตามกำหนดระยะเวลาหนึ่งภายใต้ รัฐธรรมนูญ และตัวประธานาธิบดี เช่น ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา ก็อาจถูกฟ้องให้ขับออกจากตำแหน่งโดยรัฐสภา หรือสภานิติบัญญัติได้ เรียกว่า Impeachment [การทูต]
High Level Panel on Threats, Challenges and Changeคณะผู้ทรงคุณวุฒิระดับสูงว่าด้วยภัยคุกคาม ความท้าทายและการเปลี่ยนแปลง แต่งตั้งโดยนาย Kofi Annan เลขาธิการสหประชาชาติ ประกอบด้วย ผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 16 คน มีนายอานันท์ ปันยารชุน อดีตนายก - รัฐมนตรีเป็นประธาน [การทูต]
International Civil Aviation Organizationเรียกโดยย่อว่า ICAO คือองค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 14 เมษายน ค.ศ. 1947 หลังจากที่ประเทศสมาชิก 28 แห่ง ได้ให้สัตยาบันแก่อนุสัญญาว่าด้วยการบินพลเรือน ซึ่งได้ร่างขึ้นโดยที่ประชุมองค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศในนครชิคาโก เมื่อปี ค.ศ.1944วัตถุประสงค์ของ ICAO คือการศึกษาปัญหาต่าง ๆ เกี่ยวกับการบินพลเรือนระหว่างประเทศ รวมทั้งจัดวางมาตรฐานระหว่างประเทศ และระเบียบข้อบังคับสำหรับการบินพลเรือนองค์การจะพยายามสนับสนุนให้มีการใช้ มาตรการว่าด้วยความปลอดภัย วางระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับการปฏิบัติให้เสมอเหมือนกันหมด และให้ใช้วิธีปฏิบัติที่สะดวกง่ายขึ้นตรงพรมแดนระหว่างประเทศ องค์การจะส่งเสริมการใช้วิธีการทางเทคนิคและอุปกรณ์เครื่องมือใหม่ ๆ ดังนั้น ด้วยความร่วมมือจากประเทศสมาชิก องค์การจะจัดวางแนวบริการทางอุตุนิยมวิทยา การควบคุมการจราจรทางอากาศ การคมนาคมสื่อสารไฟสัญญาณด้านวิทยุ จัดระเบียบการค้นหาและช่วยเหลือ รวมทั้งอุปกรณ์ความสะดวกอื่น ๆ ซึ่งจำเป็นที่จะให้การบินระหว่างประเทศได้รับความปลอดภัยยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ยังชักจูงให้รัฐบาลประเทศสมาชิกวางแนวทางปฏิบัติด้านศุลกากรให้สะดวกง่าย ขึ้น รวมทั้งการตรวจคนเข้าเมือง และระเบียบเกี่ยวกับสาธารณสุขที่ใช้กับการขนส่งทางอากาศระหว่างประเทศ นอกจากนี้ องค์การยังรับผิดชอบต่องานร่างกฎหมายเกี่ยวกับการบินระหว่างประเทศ ทั้งยังมีส่วนเกี่ยวข้องกับการขนส่งทางอากาศระหว่างประเทศในด้านเศรษฐกิจมาก มายหลายอย่างองค์การ ICAO ดำเนินงานโดยองค์การต่าง ๆ ดังนี้1. สมัชชา (Assembly) ประกอบด้วยผู้แทนของประเทศสมาชิกทุกประเทศ ทำการประชุมกันปีละครั้ง และจะลงมติเกี่ยวกับมาตรการทางการเงิน และจะรับพิจารณาเรื่องต่าง ๆ ที่คณะมนตรีส่งมาให้ดำเนินการ2. คณะมนตรี (Council) ประกอบด้วยผู้แทนจากชาติต่าง ๆ 21 ชาติ ซึ่งสมัชชาเป็นผู้เลือก โดยคำนึงถึงประเทศที่มีความสำคัญในการขนส่งทางอากาศ รวมทั้งประทเศที่มีส่วนเกื้อกูลไม่น้อยในการจัดอำนวยอุปกรณ์ความสะดวกแก่การ เดินอากาศฝ่ายพลเรือนระหว่างประเทศ และจัดให้มีตัวแทนตามจำนวนที่เหมาะสมในเขตภูมิศาสตร์ใหญ่ ๆ ของโลก คณะมนตรีเป็นผู้เลือกตั้งประธาน (President) ขององค์การ3. เลขาธิการ (Secretary-General) ซึ่งเป็นผู้แต่งตั้งคณะเจ้าหน้าที่ขององค์การ [การทูต]
International Conferencesคือการประชุมระหว่างประเทศอย่างเป็นทางการระหว่าง ผู้แทนผู้มีอำนาจเต็มจากหลาย ๆ ประเทศ เพื่อพิจารณาหาทางระงับปัญหาระหว่างประเทศ การประชุมเช่นนี้บางทีเรียกว่า คองเกรสระหว่างประเทศ แม้จะเรียกต่างกัน แต่ก็ไม่มีอะไรแตกต่างกันที่สำคัญระหว่างสองคำนี้ บ้างมีความเห็นว่า ใช้คำคองเกรส ดูจะมีความสำคัญและมีลักษณะเป็นทางการมากกว่าใช้คำ คอนเฟอเรนซ์ผู้แทนจากประเทศที่ร่วมการประชุมในบางโอกาส ได้แก่บุคคลในระดับนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ หรือเอกอัครราชทูต แล้วแต่ว่าการประชุมนั้น ๆ มีความสำคัญระดับใดในการประชุมระหว่างประเทศ แต่เดิมใช้ภาษาอังกฤษและภาษาฝรั่งเศสกันมากทั้งสองภาษา มาในภายหลังมักนิยมใช้ภาษาอังกฤษเกือบทั้งหมด ส่วนการประชุมระหว่างประเทศที่องค์การสหประชาชาติเป็นผู้จัด จะใช้ภาษาอังกฤษ ฝรั่งเศส สเปน รัสเซีย และจีน รวม 5 ภาษาตามปกติ มักจะเลือกหัวหน้าคณะผู้แทนของประเทศเจ้าภาพให้ทำหน้าที่ประธานการประชุม ส่วนเจ้าหน้าที่อื่น ๆ ของการประชุม ได้แก่ รองประธาน เลขานุการของการประชุม ประธานกรรมการ และผู้บันทึกรายงานสำหรับรายงานการประชุม ข้อมติของที่ประชุมและข้อเสนอแนะนั้น จะรวมเข้าไว้ในเอกสารที่เรียกว่า กรรมสารสุดท้าย (Final Act) ซึ่งผู้แทนประเทศผู้มีอำนาจเต็มจะเป็นผู้ลงนามในเอกสารนั้นในการประชุมครั้ง สุดท้าย [การทูต]
International Finance Corporationคือบรรษัทการเงินระหว่างประเทศ ตั้งขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อเดือนกรกฎาคม ค.ศ.1956 และเริ่มมีฐานะเป็นองค์การชำนัญพิเศษที่มีสัมพันธ์กับองค์การสหประชาชาติ เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1957 แม้บรรษัทจะดำเนินงานใกล้ชิดกับธนาคารโลก แต่ก็มีฐานะเป็นสิ่งที่มีตัวตนทางกฎหมายแยกต่างหาก และมีกองทุนที่แตกต่างจากกองทุนของธนาคารโลกด้วยวัตถุประสงค์ของบรรษัทคือ ส่งเสริมการพัฒนาทางเศรษฐกิจ โดยสนับสนุนให้การผลิตของวิสาหกิจของเอกชนในประเทศสมาชิกเจริญเติบโตยิ่ง ขึ้น การที่จะกระทำตามวัตถุประสงค์นี้ได้ บรรษัทจะนำเงินไปลงทุนในวิสาหกิจด้านการผลิตฝ่ายเอกชน โดยดำเนินงานร่วมกับเอกชนผู้ลงทุน ทำหน้าที่เป็นสำนักหักบัญชี (Clearing House) คล้ายกับเป็นแหล่งรวมโอกาสต่าง ๆ ของการลงทุนฝ่ายเอกชนทั้งจากต่างประเทศและในประเทศ รวมทั้งฝ่ายจัดการที่มีประสบการณ์ชำนาญ นอกจากนั้น ยังช่วยกระตุ้นการลงทุนด้านการผลิตของเอกชนทั้งภายในและต่างประเทศด้วย บรรษัทยังได้รับอนุญาตให้ทำการกู้ยืมเงินโดยใช้วิธีขายพันธบัตรของตนเอง รวมทั้งตั๋วสัญญาการใช้เงินบรรษัทการเงินระหว่างประเทศดำเนินงานโดยองค์กร ต่าง ๆ ของตน คืออำนาจทั้งหมดของบรรษัทจะขึ้นอยู่กับคณะผู้ว่าการ (Board of Govemors) ประกอบด้วยผู้ว่าการและผู้ว่าการสำรอง (Altemates) จากธนาคารโลกซึ่งเป็นตัวแทนของประเทศต่าง ๆ อันเป็นสมาชิกของบรรษัทด้วย คณะผู้ว่าการจะคอยควบคุมดูแลการปฏิบัติงานของบรรษัทให้ถูกต้อง ตัวประธานธนาคารโลก จะทำหน้าที่เป็นประธานคณะผู้ว่าการของบรรษัทโดยตำแหน่งด้วย บรรษัทมีสำนักงานตั้งอยู่ที่กรุงวอชิงตันดีซี [การทูต]
The New Partnership for Africa?s Developmentหุ้นส่วนใหม่เพื่อการพัฒนาแอฟริกา เป็นแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของแอฟริกา มีวัตถุประสงค์ในการ ส่งเสริมความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และการพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศแอฟริกา การขจัดความยากจนและการขจัดความเสียเปรียบของประเทศแอฟริกาในยุคโลกาภิวัตน์ NEPAD พัฒนามาจากการประชุม สุดยอดผู้นำกลุ่มประเทศ G8 ที่ญี่ปุ่นเมื่อปี พ.ศ. 2542 ซึ่งในการประชุมนี้ ประธานาธิบดีแอฟริกาใต้ ประธานาธิบดีไนจีเรีย และประธานาธิบดี แอลจีเรียได้เสนอต่อที่ประชุม ขอให้กลุ่มประเทศเหนือและประเทศใต้ร่วมกันแก้ปัญหาที่ทั้งสองกลุ่มประเทศ เผชิญอยู่ บนพื้นฐานของ ผลประโยชน์ร่วมกัน โดยเน้นการพัฒนาประเทศที่ยากจน เช่น ประเทศ ในภูมิภาคแอฟริกา ต่อมาบรรดาผู้นำของกลุ่มประเทศแอฟริกาได้ร่วมกันกำหนดแผนพัฒนาแอฟริกาสำหรับ ใช้ขอรับการสนับสนุนจากประเทศพัฒนาแล้วในเวทีการประชุมระหว่างประเทศต่าง ๆ ที่เรียกว่า New Africa Initiative (NAI) ที่ประชุมองค์การเอกภาพแอฟริกา หรือ OAU (ซึ่งต่อมากลายเป็น African Union ? AU) ได้เห็นชอบต่อแผน NAI ดังกล่าวในเดือนกรกฎาคม 2544 ผู้นำของประเทศแอฟริกาได้นำเสนอ NAI ต่อที่ประชุมสุดยอดผู้นำกลุ่มประเทศ G8 เมื่อปี พ.ศ. 2544 และได้รับการปรับปรุงแก้ไขจนเป็น NEPAD ในปัจจุบัน [การทูต]
New World Orderระเบียบใหม่ของโลก คำนี้มีส่วนเกี่ยวพันกับอดีตประธานาธิบดียอร์ช บุช และเป็นที่รู้จักกันอย่างกว้างขวางใจสมัยหลังจากที่ประเทศอิรักได้ใช้กำลัง ทหารรุกรานประเทศคูเวต เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม ค.ศ. 1990 กล่าวคือ ประธานาธิบดียอร์ช บุช มีความวิตกห่วงใยว่า การที่สหรัฐอเมริกาแสดงปฏิกิริยาต่อการรุกรานของอิรักนี้ ไม่ควรจะให้โลกมองไปในแง่ที่ว่า เป็นการปฏิบัติการของสหรัฐแต่ฝ่ายเดียวหากควรจะมองว่าเป็นเรื่องของหลักความ มั่นคงร่วมกัน (Collective Security ) ที่นำออกมาใช้ใหม่ในสมัยหลังสงครามเย็นในสุนทรพจน์ต่อที่ประชุมสภาร่วมทั้ง สองของรัฐสภาอเมริกันเมื่อวันที่ 11 กันยายน ค.ศ. 1990 ประธานาธิบดีบุชได้วางหลักการง่าย ๆ 5 ข้อ ซึ่งประกอบเป็นโครงร่างของระเบียบใหม่ของโลก ตามระเบียบใหม่ของโลกนี้ โลกจะปลอดพ้นมากขึ้นจากการขู่เข็ญหรือการก่อการร้าย ให้ใช้มาตรการที่เข้มแข็งในการแสวงความยุติธรรม ตลอดจนให้บังเกิดความมั่นคงยิ่งขึ้นในการแสวงสันติสุข ซึ่งจะเป็นยุคที่ประชาชาติทั้งหลายในโลก ไม่ว่าจะอยู่ในภาคตะวันออก ตะวันตก ภาคเหนือหรือภาคใต้ ต่างมีโอกาสเจริญรุ่งเรืองและมีชีวิตอยู่ร่วมกันอย่างกลมเกลียวแม้ว่า ระเบียบใหม่ของโลก ดูจะยังไม่หลุดพ้นจากความคิดขั้นหลักการมาเป็นขั้นปฏิบัติอย่างจริงจังก็ตาม แต่นักวิจารณ์ส่วนใหญ่เห็นพ้องต้องกันว่า อย่างน้อยก็เป็นการส่อให้เห็นเจตนาอันแน่วแน่ที่จะกระชับความร่วมมือระหว่าง ประเทศใหญ่ ๆ ทั้งหลายให้มากยิ่งขึ้น ส่งเสริมให้องค์การระหว่างประเทศมีฐานะเข้มแข็งขึ้น และให้กฎหมายระหว่างประเทศมีความศักดิ์สิทธิ์ยิ่งขึ้น ต่อมา เหตุการณ์ที่ได้เกิดขึ้นในด้านการเมืองของโลกระหว่างปี ค.ศ. 1989 ถึง ค.ศ. 1991 ทำให้หลายคนเชื่อกันว่า ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกำลังผันไปสู่หัวเลี้ยวหัวต่อใหม่ กล่าวคือ ความล่มสลายของลัทธิคอมมิวนิสต์ในยุโรปภาคตะวันออก อวสานของสหภาพโซเวียตในฐานะประเทศอภิมหาอำนาจ การยุติของกติกาสัญญาวอร์ซอว์และสงครามเย็น การรวมเยอรมนีเข้าเป็นประเทศเดียว และการสิ้นสุดของลัทธิอะพาไทด์ในแอฟริกาใต้ (คือลัทธิกีดกันและแบ่งแยกผิว) เหล่านี้ทำให้เกิด ?ศักราชใหม่? ของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ดังจะเห็นได้ว่า บรรดาประเทศต่าง ๆ บัดนี้ต่างพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันมากขึ้น องค์การสหประชาชาติและคณะมนตรีความมั่นคงมีศักยภาพสูงขึ้น กำลังทหารมีประโยชน์น้อยลง เสียงที่กำลังกล่าวขวัญกันหนาหูเกี่ยวกับระเบียบใหม่ของโลกในขณะนี้ คือความพยายามที่จะปฏิรูปองค์การสหประชาติใหม่ และปรับกลไกเกี่ยวกับรักษาความมั่นคงร่วมกันให้เข้มแข็งขึ้นอีก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้สิทธิ์ยับยั้ง (Veto) ในคณะมนตรีความมั่นคง ควรจะเปลี่ยนแปลงเสียใหม่ โดยจะให้สมาชิกที่มีอำนาจใช้สิทธิ์ยับยั้งนั้นได้แก่สมาชิกในรูปกลุ่มประเทศ (Blocs of States) แทนที่จะเป็นประเทศสมาชิกถาวร 5 ประเทศเช่นในปัจจุบันอย่างไรก็ดี การสงครามอ่าวเปอร์เซียถึงจะกระทำในนามของสหประชาชาติ แต่ฝ่ายที่รับหน้าที่มากที่สุดคือสหรัฐอเมริกา แม่ว่าฝ่ายที่รับภาระทางการเงินมากที่สุดในการทำสงครามจะได้แก่ซาอุดิอาระ เบียและญี่ปุ่นก็ตาม ถึงแม้ว่าคติของระเบียบใหม่ของโลกจะผันต่อไปในรูปใดก็ดี สิ่งที่แน่นอนที่สุดก็คือ โลกจะยังคงต้องอาศัยพลังอำนาจ การเป็นผู้นำ และอิทธิพลของสหรัฐอเมริกาต่อไปอยู่นั่นเอง [การทูต]
Open Diplomacyคือการทูตแบบเปิดเผย อดีตประธานาธิบดีวูดโรว์ วิลสัน แห่งสหรัฐอเมริกา เป็นบุคคลที่สนับสนุนและเผยแพร่วิธีการทูตแบบเปิดเผยอย่างเต็มที่ หวังจะให้ชุมชนนานาชาติพร้อมใจกันสนับสนุนการทูตนี้เช่นเดียวกัน เมื่อวันที่ 8 มกราคม ค.ศ. 1918 วูดโรว์ วิลสัน ได้ประกาศให้โลกทราบนโยบายของท่าน 14 ข้อ ข้อหนึ่งในจำนวนนั้นท่านปรารถนาว่า ในอนาคตประเทศต่าง ๆ ควรจะทำความตกลงกันเกี่ยวกับเรื่องสันติภาพอย่างเปิดเผย และต่อไปไม่ควรจะมีการเจรจาทำความตกลงระหว่างประเทศแบบลับเฉพาะอย่างใดทั้ง สิ้นแม้ว่าโดยทั่วไปจะเห็นพ้องด้วยกับนโยบายข้อแรกของ วูดโรว์ วิลสัน คือ ความตกลงหรือสนธิสัญญาใด ๆ เมื่อตกลงเสร็จสิ้นแล้ว ให้ประกาศเปิดเผยให้โลกทราบ แต่สำหรับข้องสองคือการเจรจาในระหว่างทำสนธิสัญญาให้กระทำกันอย่างเปิดเผย นั้น ส่วนใหญ่ยังไม่ค่อยเห็นด้วย เพราะเห็นว่าลำพังการเจรจานั้น โดยสารัตถะสำคัญแล้วควรจะถือเป็นความลับไว้ก่อนจนกว่าจะเสร็จการเจรจา ทั้งนี้ เซอร์เดวิด เคลลี่ อดีตนักการทูตอังกฤษเคยให้ทรรศนะว่า การทูตแบบเปิดเผยนั้นเป็นถ้อยคำที่ขัดกันในตัว คือหากกระทำกันอย่างเปิดเผยเสียแล้วก็ไม่ใช่การทูตเกี่ยวกับเรื่องนี้ มาตรา 102 ของกฎบัตรสหประชาชาติได้บัญญัติว่า ?1. สนธิสัญญาทุกฉบับ และความตกลงระหว่างประเทศทุกฉบับ ซึ่งสมาชิกใด ๆ แห่งสหประชาชาติได้เข้าเป็นภาคี ภายหลังที่กฎบัตรปัจจุบันได้ใช้บังคับ จักต้องจดทะเบียนไว้กับสำนักเลขาธิการโดยเร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ และจักได้พิมพ์ขึ้นโดยสำนักงานนี้ 2. ภาคีแห่งสนธิสัญญา หรือความตกลงระหว่างประเทศเช่นว่าใด ซึ่งมิได้จดทะเบียนไว้ตามบทบัญญัติในวรรคหนึ่งข้อนี้ ไม่อาจยกเอาสนธิสัญญาหรือความตกลงนั้น ๆ ขึ้นกล่าวอ้างต่อองค์กรใด ๆ ของสหประชาชาติ? [การทูต]
Palestinian Liberation Organizationองค์กรปลดปล่อยปาเลสไตน์ สถาปนาขึ้นในปี พ.ศ. 2507 เพื่อเป็นตัวแทนของชาวปาเลสไตน์ มีนาย Yasser Arafat เป็นประธาน PLO มีฐานะเป็นผู้สังเกตการณ์ (observer) ในสหประชาชาติ [การทูต]
Potsdam Proclamationคือคำประกาศ ณ เมืองปอตสแดม ออกเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม ค.ศ. 1945 โดยหัวหน้าคณะรัฐบาลของประเทศสหรัฐอเมริกา อังกฤษ และจีน ลงนามโดยประธานาธิบดีของรัฐบาลจีนคณะชาติ เป็นคำประกาศเมื่อตอนใกล้จะเสร็จสิ้นสงครามโลกครั้งที่สอง โดยฝ่ายสัมพันธมิตรดังกล่าวกำลังทำสงครามขับเคี่ยวอยู่กับฝ่ายญี่ปุ่น พึงสังเกตว่า สหภาพโซเวียต ในตอนนั้นมิได้มีส่วนร่วมในการออกคำประกาศ ณ เมืองปอตสแดมแต่อย่างใดโดยแท้จริงแล้ว คำประกาศนี้เท่ากับเป็นการยื่นคำขาดให้ฝ่ายญี่ปุ่นตัดสินใจเลือกเอาว่าจะทำ การสู้รบต่อไป หรือจะยอมจำนนเพื่อยุติสงคราม คำประกาศได้เตือนอย่างหนักแน่นว่า หากญี่ปุ่นตัดสินใจที่จะสู้รบต่อไป แสนยานุภาพอันมหาศาลของสัมพันธมิตรก็จะมุ่งหน้าโจมตีบดขยี้กองทัพและประเทศ ญี่ปุ่นให้แหลกลาญ แต่หากว่าญี่ปุ่นยอมโดยคำนึงถึงเหตุผล ฝ่ายสัมพันธมิตรก็ได้ตั้งเงื่อนไขไว้หลายข้อ สรุปแล้วก็คือ ลัทธิถืออำนาจทหารเป็นใหญ่จะต้องถูกกำจัดให้สูญสิ้นไปจากโลกอำนาจและอิทธิพล ของบรรดาผู้ที่ชักนำให้พลเมืองญี่ปุ่นหลงผิด โดยกระโจนเข้าสู่สงครามเพื่อครองโลกนั้น จะต้องถูกทำลายให้สิ้นซาก รวมทั้งพลังอำนาจในการก่อสงครามของญี่ปุ่นด้วยจุดต่าง ๆ ในประเทศญี่ปุ่น ตามที่ฝ่ายสัมพันธมิตรจะกำหนด จะต้องถูกยึดครองไว้จนกระทั่งได้ปฏิบัติตามจุดมุ่งหมายของสัมพันธมิตรเป็นผล สำเร็จแล้ว อำนาจอธิปไตยของญี่ปุ่นให้จำกัดอยู่เฉพาะภายในเกาะฮอนซู ฮ็อกไกโด กิวชู ชิโกกุ และเกาะเล็กน้อยอื่น ๆ ตามที่ฝ่ายสัมพันธมิตรจะกำหนด อาชญากรสงครามทุกคนจะต้องถูกนำตัวขึ้นศาล รวมทั้งที่ทำทารุณโหดร้ายต่อเชลยศึกของสัมพันธมิตร รัฐบาลญี่ปุ่นจะต้องกำจัดสิ่งต่าง ๆ ทั้งหมดที่เป็นอุปสรรคต่อการรื้อฟื้น และเสริมสร้างความเชื่อถือในหลักประชาธิปไตยในระหว่างพลเมืองญี่ปุ่น และจัดให้มีเสรีภาพในการพูด การนับถือศาสนา และในการแสดงความคิดเห็น ตลอดจนการเคารพสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐาน อย่างไรก็ดี ญี่ปุ่นจะได้รับอนุญาตให้ดำเนินกิจการด้านอุตสาหกรรมที่จะเกื้อกูลต่อภาวะ เศรษฐกิจของประเทศ และความสามารถที่จะชำระค่าปฏิกรรมสงคราม แต่จะไม่ยอมให้คงไว้ซึ่งกิจการอุตสาหกรรมชนิดที่จะช่วยให้ญี่ปุ่นสร้างสม อาวุธเพื่อทำสงครามขึ้นมาอีก ในทีสุด กำลังทหารสัมพันธมิตรจะถอนตัวออกจากประเทศญี่ปุ่นในทันทีที่จุดประสงค์ต่าง ๆ ได้บรรลุผลเรียบร้อยแล้ว ในตอนท้ายของเงื่อนไข สัมพันธมิตรได้เรียกร้องให้รัฐบาลญี่ปุ่นประกาศยอมแพ้อย่างไม่มีเงื่อนไข เสียโดยไว [การทูต]
Plan Puebla-Panamaสมาชิก เม็กซิโก เบลิซ กัวเตมาลา ฮอนดูรัส เอลซัลวาดอร์ นิการากัว คอสตาริกา และปานามา วัตถุประสงค์ ริเริ่มโดยประธานาธิบดี Vicente Fox ของเม็กซิโก เมื่อปี พ.ศ. 2543 เพื่อแสวงหาความร่วมมือและให้การสนับสนุนด้านเงินทุนแก่ประเทศภูมิภาค อเมริกากลางในการเชื่อมโยงเครือข่ายคมนาคมและสาธารณูปโภค เช่น ถนน สายส่งไฟฟ้า ท่อก๊าซ ฯลฯ ทั้งนี้ เพื่อกระจายความเจริญทางเศรษฐกิจจากเม็กซิโกลงไปยังประเทศทางตอนใต้ ดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศร่วมกัน และเพื่อแก้ไขปัญหาการอพยพของแรงงานผิดกฎหมายจากประเทศในแถบอเมริกากลางเข้า สู่เม็กซิโก หมายเหตุ Puebla เป็นชื่อเมืองทางตะวันตกเฉียงใต้ของเม็กซิโก และเป็นจุดเริ่มต้นโครงการ ซึ่งสิ้นสุดที่ปานามา [การทูต]
Presentation of Credentialsหมายถึง การยื่นสารตราตั้ง เป็นธรรมเนียมปฏิบัติทางการทูตว่า ผู้ใดได้รับแต่งตั้งเป็นเอกอัครราชทูตประจำประเทศใดประเทศหนึ่ง ก่อนที่จะปฏิบัติงานในหน้าที่ จะต้องนำสารตราตั้ง (Credentials) ไปยื่นต่อประมุขของรัฐนั้น ๆ พิธียื่นสารตราตั้งจะกระทำไม่เหมือนกันในแต่ละประเทศ แล้วแต่จะพิจารณาเห็นความเหมาะสม และความเคร่งต่อธรรมเนียมประเพณีที่ปฏิบัติติดต่อกันมาเป็นสำคัญ เช่น อังกฤษเป็นประเทศหนึ่งที่พิธียื่นสารตราตั้งของเอกอัครราชทูตต่อองค์ประมุข ของประเทศค่อนข้างวิจิตรพิสดารมาก ส่วนบางประเทศมีพิธียื่นสารอย่างง่าย ๆ แทบจะไม่มีพิธีรีตองอย่างใดในสหรัฐอเมริกา ณ กรุงวอชิงตันดีซี พิธียื่นสารตราตั้งต่อประธานาธิบดีของสหรัฐฯ กระทำอย่างเรียบง่าย กล่าวคือ พอถึงเวลาที่กำหนดในวันยื่นสารตราตั้ง อธิบดีกรมพิธีการทูตหรือผู้แทนของกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ จะนำรถยนต์ลีมูซีนสีดำไปยังทำเนียบของเอกอัครราชทูต เพื่อรับเอกอัครราชทูตและครอบครัวไปยื่นสารตราตั้งต่อประธานาธิบดี ณ ตึกทำเนียบขาว ( White House)มีข้อน่าสนใจอันหนึ่งคือ ทางฝ่ายสหรัฐฯ จะสนับสนุนให้เอกอัครราชทูตพาภรรยาและบุตรทั้งชายหญิงไปร่วมในการยื่นสารตรา ตั้งนั้นด้วย การแต่งกายของเอกอัครราชทูตก็สวมชุดสากลผูกเน็คไทตามธรรมดา ระหว่างที่ยื่นสารมีการปฏิสันถารกันพอสมควรระหว่างเอกอัครราชทูตกับ ประธานาธิบดีสหรัฐฯมีช่างภาพของทางราชการถ่ายรูปไว้เป็นที่ระลึก และมอบภาพถ่ายให้แก่เอกอัครราชทูตในวันหลัง (ต่างกับพิธีของอังกฤษมาก) เอกอัครราชทูตไม่ต้องพาคณะเจ้าหน้าที่ของสถานเอกอัครราชทูตติดตามไปด้วย หลังจากพบกับประธานาธิบดีสหรัฐฯ แล้ว อธิบดีกรมพิธีการทูตจะนำเอกอัครราชทูตและครอบครัวกลับไปยังทำเนียบที่พักโดย รถยนต์คันเดิม เป็นอันเสร็จพิธียื่นสารตราตั้ง โดยที่ประเทศต่าง ๆ ในโลกต่างมีสถานเอกอัครราชทูตของตนตั้งอยู่ในกรุงวอชิงตันดีซี ดังนั้น ในวันไหนที่มีการยื่นสารตราตั้งต่อประธานาธิบดี ทางการทำเนียบขาวมักจะกำหนดให้เอกอัครราชทูตใหม่จากประเทศต่าง ๆ เข้ายื่นสารในวันนั้นราว 4-5 ประเทศติดต่อกัน มิใช่วันละคนอย่างที่ปฏิบัติในบางประเทศทันทีที่เอกอัครราชทูตยื่นสารตรา ตั้งต่อประธานาธิบดีเรียบร้อยแล้ว เอกอัครราชทูตจะมีหนังสือเวียนไปยังหัวหน้าคณะทูตทุกแห่งในกรุงวอชิงตันดีซี แจ้งให้ทราบว่าในวันนั้น ๆ เขาได้ยื่นสารตราตั้งต่อประมุขของรัฐ ในฐานะเอกอัครราชทูตเรียบร้อยแล้ว พร้อมกับแสดงความหวังในหนังสือว่าความสัมพันธ์อันดีที่มีอยู่ระหว่างคณะผู้ แทนทางการทูตทั้งสอง ทั้งในทางราชการและทางส่วนตัว จะมั่นคงเป็นปึกแผ่นยิ่งขึ้นอีก จากนั้น เอกอัครราชทูตใหม่ก็จะหาเวลาไปเยี่ยมคารวะเอกอัครราชทูตของประเทศต่าง ๆ ที่ประจำอยู่ในกรุงวอชิงตันดีซีทีละราย กว่าจะเยี่ยมหมดทุกคนก็กินเวลานานอยู่หลายเดือนทีเดียว [การทูต]
Subcommittee on Neighbouring Countries Economic Development Cooperationคณะอนุกรรมการพัฒนาความร่วมมือทางเศรษฐกิจกับ ประเทศเพื่อนบ้าน มติคณะรัฐมนตรีเมื่อ 18 พฤศจิกายน 2546 ให้จัดตั้งคณะอนุกรรมการพัฒนาความร่วมมือทางเศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบ้าน (อพบ.) ซึ่งคณะกรรมการนโยบายเศรษฐกิจระหว่างประเทศ ได้มีคำสั่งที่ 4 / 2547 เมื่อ 6 พฤษภาคม 2547 จัดตั้ง อพบ. แล้ว โดยมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศเป็นประธาน ผู้แทนหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจากภาครัฐและเอกชนเป็นอนุกรรมการ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติกับกรมเศรษฐกิจระหว่าง ประเทศ กระทรวงการต่างประเทศเป็นอนุกรรมการและฝ่ายเลขานุการ อพบ. มีหน้าที่พิจารณากลั่นกรองเสนอแนะนโยบาย แผนงานและโครงการตามแผนงานการจัดระบบเศรษฐกิจตามแนวชายแดนและการพัฒนาความ ร่วมมือทางเศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบ้าน ซึ่งครอบคลุมการดำเนินงาน ACMECS ด้วย ทั้งนี้ ในส่วนของ ACMECS มีสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติทำหน้าที่เป็นหน่วย งานหลักในการประสานกับหน่วยงานภายในของไทยให้ดำเนินงานเป็นไปตามแผนปฏิบัติ การ และกระทรวงการต่างประเทศทำหน้าที่เป็นหน่วยงานหลักในการประสานกับประเทศ สมาชิก ACMECS [การทูต]
Termination of Consular Officeการยุติลงของการหน้าที่ทางการกงสุล กล่าวคือ หน้าที่ของหัวหน้าคณะในสถานที่ทำการทางกงสุลจะยุติลงเนื่องจาก 1. วายชนม์2. รัฐผู้ส่งเรียกตัวกลับ3. รัฐผู้รับเพิกถอนอนุมัติบัตร (Exequatur)4. การหน้าที่ของผู้นั้นได้ถึงกำหนดครบวาระหรือยุติลง5. เกิดสงครามระหว่างรัฐผู้ส่งและรัฐผู้รับไม่เหมือนกับกรณีคณะผู้แทนทางการทูต สถานที่ทำการทางกงสุลนั้น ภาระหน้าที่จะไม่ยุติลงเนื่องจากมีการเปลี่ยนกษัตริย์หรือประธานาธิบดีของ รัฐผู้ส่งหรือรัฐผู้รับ ข้อ 25 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาบัญญัติไว้ว่า ?การหน้าที่ของบุคคลในสถานที่ทำการกงสุลจะยุติลงก) เมื่อรัฐผู้ส่งได้บอกกล่าวไปยังรัฐผู้รับว่า การหน้าที่ของบุคคลดังกล่าวได้ยุติลงแล้วข) เมื่อมีการเพิกถอนอนุมัติบัตรค) เมื่อรัฐผู้รับได้บอกกล่าวไปยังรัฐผู้ส่งว่า รัฐผู้รับได้เลิกถือว่าบุคคลนั้นเป็นบุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุล [การทูต]
visitการเยือน " - State Visit การเยือนอย่างเป็นทางการในระดับประมุขของรัฐ หมายถึง การเยือนของบุคคลสำคัญของต่างประเทศในระดับประมุขของรัฐ ที่มีสถานะเป็นกษัตริย์หรือประธานาธิบดี โดยเป็นการเยือนอย่างเป็นทางการในฐานะแขกของรัฐผู้รับ รัฐผู้รับจะจัดพิธีการต้อนรับอย่างเป็นทางการเต็มรูปแบบ - Official Visit การเยือนอย่างเป็นทางการในฐานะแขกของ รัฐบาล หมายถึง การเยือนเป็นทางการของประมุขของรัฐ มกุฎราชกุมาร หัวหน้ารัฐบาล หรือหัวหน้าองค์การระหว่างประเทศที่มีตำแหน่ง เทียบเท่า โดยเป็นแขกรับเชิญของรัฐบาล และจัดพิธีการรับรองต่าง ๆ อย่างเป็นทางการเต็มรูปแบบ - Visit as Guest of the Royal Thai Government การเยือนในฐานะแขกของรัฐบาล หมายถึง การเยือนของประมุขของรัฐ หัวหน้ารัฐบาลและหัวหน้า องค์การระหว่างประเทศที่มีตำแหน่งเทียบเท่าซึ่งไม่ได้เดินทางมาเยือนอย่าง เป็นทางการหรือเพื่อเจรจาทำงาน รวมทั้งการเสด็จฯ เยือนของพระราชวงศ์ รองประธานาธิบดีและบุคคลสำคัญอื่น ๆ ที่มีตำแหน่งเทียบเท่า ซึ่งรัฐบาลไทยปรารถนาที่จะแสดงไมตรีจิตโดยเชิญให้มาเยือนประเทศไทยในฐานะแขก ของรัฐบาล และจัดการต้อนรับให้ เหมาะสมและสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการเยือนในแต่ละกรณี - Working Visit การเยือนเพื่อเจรจาทำงาน หมายถึง การเยือนของบุคคลสำคัญจากต่างประเทศในระดับประมุขของรัฐ หัวหน้ารัฐบาล และหัวหน้าองค์การระหว่างประเทศที่มีตำแหน่งเทียบเท่าที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อ เจรจาในปัญหาหรือประเด็นใดเป็นการเฉพาะในระยะเวลาอันสั้น - Visit as Guest of Their Majesties the King and Queen of Thailand การเยือนในฐานะพระราชอาคันตุกะส่วนพระองค์ หมายถึง การเสด็จเยือนของพระราชวงศ์ต่างประเทศ หรือการเยือนของบุคคลสำคัญจากต่างประเทศ ในฐานะพระราชอาคันตุกะส่วน พระองค์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ - Private Visit การเยือนส่วนตัวหรือแวะผ่าน หมายถึง การเยือนของบุคคลสำคัญจากต่างประเทศในระดับประมุขของรัฐ พระราชวงศ์ หัวหน้ารัฐบาล หรือผู้นำองค์การระหว่างประเทศที่มีตำแหน่งเทียบเท่า และบุคคลสำคัญอื่น ๆ ที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อเยือนเป็นการส่วนตัวหรือการแวะผ่านประเทศในระยะเวลา อันสั้น รัฐผู้รับจะจัดการอำนวยความสะดวกต่าง ๆ ให้ตามความเหมาะสม " [การทูต]
white tieชุดราตรีสโมสร " เสื้อสูทหางยาวสีดำ กางเกงสีดำมีผ้าผูกคอหูกระต่าย (bow-tie) สีขาว เสื้อเชิ้ตสีขาว แถบดิ้นไหมสีดำ ใช้ในโอกาสงานกลางคืนที่จัดอย่างเป็นทางการ (งานราตรีสโมสร-formal evening entertainments) เช่น งานพระราชทานเลี้ยงกระยาหารค่ำเพื่อเป็นเกียรติแก่ประธานาธิบดี ซึ่งมาเยือนไทยอย่างเป็นทางการ งานแสดงอุปรากร งานเต้นรำ " [การทูต]
Fragments, Mainชิ้นประธาน [การแพทย์]

Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา[kān leūaktang prathānāthibødī Saharat Amērikā] (xp) EN: United States presidential election   FR: élections présidentielles américaines [ fpl ]
เป็นประธาน[pen prathān] (v, exp) EN: preside (over)  FR: présider
พระประธาน[phraprathān] (n) EN: principle Buddha image in a temple ; image of Buddha in a temple ; biggest Buddha in a temple
ผู้เป็นประธาน[phū pen prathān] (n, exp) EN: president ; chairman
ประธาน[prathān] (n) EN: chairman ; president ; chief ; leader  FR: président [ m ]
ประธาน[prathān] (n) EN: subject  FR: sujet [ m ]
ประธานาธิบดี[prathānāthibødī] (n) EN: president (of a republic)  FR: président (d'un pays) [ m ] ; président de la république [ m ]
ประธานาธิบดี[prathānāthibødī] (adj) EN: presidential  FR: présidentiel
ประธานาธิบดีของสหรัฐอเมริกา[prathānāthibødī khøng Saharat Amērikā] (n, exp) EN: President of the United-States of America  FR: président des États-Unis d'Amérique [ m ]
ประธานบริษัท[prathān børisat] (n, exp) EN: president of the company  FR: président de la société [ m ]
รองประธาน[røng-prathān] (n) EN: vice-chairman  FR: vice-président [ m ]
ตำแหน่งประธาน[tamnaeng prathān] (n, exp) EN: chairmanship
ทำเนียบประธานาธิบดี[thamnīep prathānāthibødī] (n, exp) FR: palais présidentiel [ m ]

Longdo Approved EN-TH
state of the union(n) การแถลงนโยบายประจำปีต่อรัฐสภาของประธานาธิบดีสหรัฐ
secret service(name) หน่วยตำรวจลับซึ่งมีหน้าที่อารักขาประธานาธิบดีสหรัฐ

NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
active(adj) ซึ่งประธานเป็นผู้กระทำ(คำกริยา)
agreement(n) ความสอดคล้องทางไวยากรณ์, See also: ความสอดคล้องระหว่างประธานและกริยา
Air Force One(n) เครื่องบินสำหรับประธานาธิบดีของประเทศสหรัฐอเมริกา
chair(vt) ดำรงตำแหน่งประธาน, See also: ทำหน้าที่ในฐานะประธาน, Syn. preside
chair(n) ตำแหน่งประธาน, Syn. chairmanship, headship
chairman(n) ประธาน, Syn. chairperson, president
chairman(vt) เป็นประธาน, Syn. chair
chairmanship(n) ความเป็นประธาน, See also: ความเป็นหัวหน้า, Syn. headship, chair
chairperson(n) ประธาน, Syn. chairman, president
chairwoman(n) ประธานที่เป็นผู้หญิง
Chief Executive(n) ประธานาธิบดีของประเทศสหรัฐอเมริกา
electoral vote(n) คะแนนเสียงที่ผู้แทนรัฐลงให้เพื่อเลือกประธานาธิบดีและรองประธานาธิดีของสหรัฐอเมริกา
Inauguration Day(n) วันประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกาสาบานตนเข้ารับตำแหน่ง (20 ม.ค.)
is(aux) เป็น / อยู่ / คือ (กริยาช่วยที่ใช้กับประธานเอกพจน์)
Lincoln, Abraham(n) ประธานาธิบดีคนที่ 16 ของประเทศสหรัฐอเมริกา
moderate(vt) เป็นประธาน, See also: เป็นผู้เปิดงาน, Syn. chair, lead
Monroe(n) ประธานาธิบดีมอนโร (คนที่ห้า) ของอเมริกา
Mr.President(n) ท่านประธานาธิบดี
national convention(n) การประชุมพรรคเพื่อเลือกผู้สมัครเลือกตั้งประธานาธิบดี
nominative(adj) ซึ่งเป็นประธานของประโยค
nominative(n) รูปคำนาม/สรรพนาม/คุณศัพท์เมื่อเป็นประธานของประโยค
presidency(n) ตำแหน่งประธานาธิบดี, See also: , Syn. position, chairmanship
presidency(n) งานรับผิดชอบของประธานาธิบดี
president(n) ประธานาธิบดี
president(n) ประธาน, See also: อธิการบดี, ผู้มีอำนาจในการบริหาร, บุคคลสำคัญขององค์กร, Syn. director, chairman, VIP, Ant. laborer
president-elect(n) ผู้ได้รับเลือกเป็นประธานาธิบดีแต่ยังไม่ได้เข้ารับตำแหน่ง
presidential(adj) เกี่ยวกับประธานาธิบดี
presidentship(n) ทำเนียบประธานาธิบดี
prexy(n) ประธาน (คำสแลง)
Prez(n) ประธานาธิบดีของสหรัฐอเมริกา
prolocutor(n) ประธานหรือประธานสภา
provost(n) ผู้เป็นประธาน, Syn. supervisor
preside at(phrv) เป็นประธาน (ในพิธี), Syn. preside over
preside over(phrv) เป็นประธาน, See also: ทำหน้าที่นำการประชุม, Syn. preside at
reflexive(adj) ซึ่งเป็นสรรพนามที่ย้อนกลับไปหาประธาน (ทางไวยากรณ์)
subject(n) ประธานของประโยค
Van Buren, Martin(n) ประธานาธิบดีคนที่ 8 ของอเมริกา (ค.ศ 1837-1841)
veep(n) รองประธานาธิบดี (คำสแลง)
vice president(n) รองประธานาธิบดี, See also: รองประธานบริษัท
Vice President(n) รองประธานาธิบดี
vice-chairman(n) รองประธาน
vice-presidencial(adj) เกี่ยวกับรองประธาน
vice-presidency(n) การเป็นรองประธาน
vice-president(n) รองประธาน, See also: รองประธานาธิบดี, Syn. administrator
White House(n) ทำเนียบประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกาในกรุงวอชิงตัน ดี ซี, Syn. Executive Mansion

Hope Dictionary
amphictyon(แอมฟิค' ทิยัน) n. รองประธานสภาของ amphictyony
canst(แคนสฺทฺ) auxv. ดูcan (ใช้เมื่อประธานเป็นthou)
ceo(ซีอีโอ) ย่อมาจาก chief executive officer หรือ ประธานกรรมการบริหาร เป็นตำแหน่งสูงสุดในการบริหารงานที่ใช้กันในศูนย์คอมพิวเตอร์ใหญ่ ๆ หรือหน่วยงานอื่น ๆ ทั่วไป
chairman(แชร์'เมิน) n.ประธาน, -vt. เป็นประธานที่ประชุม
chairmanship n.ตำแหน่งหรือประธาน
cheerleadern. ประธานเชียร์
chief executiven. ประธานาธิบดีของสหรัฐอเมริกา
chief information officerประธานฝ่ายสารสนเทศใช้ตัวย่อว่า CIO (อ่านว่า ซีไอโอ) งานสารสนเทศเป็นงานที่สำคัญที่สุดงานหนึ่ง เพราะหน่วยงานนี้ก็คือหน่วยงานที่ใช้คอมพิวเตอร์เป็นหลักนั่นเอง เป็นที่เก็บรวบรวมข้อมูล ประมวลผล และวิเคราะห์ แล้วส่งผล (สารสนเทศ) ให้ผู้ที่มีอำนาจ ใช้ในการตัดสินใจ หรือเพื่อไม่ให้ผู้ที่มีอำนาจตัดสินใจผิดพลาดเพราะขาดข้อมูล (บางทีใช้ในความหมายเดียวกันกับหัวหน้าฝ่ายคอมพิวเตอร์)
cio(ซีไอโอ) ย่อมาจาก chief information officer หรือประธานฝ่ายสารสนเทศ งานสารสนเทศเป็นงานที่สำคัญที่สุดงานหนึ่ง เพราะหน่วยงานนี้ก็คือหน่วยงานที่ใช้คอมพิวเตอร์เป็นหลักนั่นเอง เป็นที่เก็บรวบรวมข้อมูล ประมวลผล และวิเคราะห์ แล้วส่งผล (สารสนเทศ) ให้ผู้ที่มีอำนาจ ใช้ในการตัดสินใจ หรือเพื่อไม่ให้ผู้ที่มีอำนาจตัดสินใจผิดพลาดเพราะขาดข้อมูล (บางทีใช้ในความหมายเดียวกันกับหัวหน้าฝ่ายคอมพิวเตอร์)
cochairmann. ประธานร่วม -pl. cochairmen
commander in chief(-อินชีฟ) n. ผู้บัญชาการทหารสุงสุด, จอมทัพ, แม่ทัพ, ประธานาธิบดี -pl. (commanders in chief)
commodore(คอม'มะดอร์) n. พลเรือจัตวา, นาวาเอกพิเศษ, ผู้บังคับการขบวนเรือพาณิชย์ขนาดใหญ่, ประธานหรือหัวหน้าสโมสรเล่นเรือ
electoral voteคะแนนเสียงที่ลงโดยผู้แทนรัฐ (electoral college) ในการเลือกประธานาธิบดีและรองประธานาธิบดีของสหรัฐอเมริกา
grand inquisitorประธานคณะผู้สอบสวนความผิด
inauguration dayวันเข้ารับตำแหน่งเป็นทางการของประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา (วันที่ 20 มกราคม หลังจากได้รับเลือกตั้ง)
lord chancellorn. อธิบดีศาลสูงสุด, ประธานสภาขุนนาง
lord high chancellorn. อธิบดีศาลสูงสุด, ประธานสภาขุนนาง
moderate(มอด'เดอริท) adj. ปานกลาง, พอสมควร, พอประมาณ, ไม่รุนแรง, ไม่มากเกินไป, เพลา ๆ n. ผู้มีข้อคิดเห็นไม่รุนแรง v. บรรเทา, ทำให้น้อยลง, เป็นพิธีกร, เป็นประธานการดำเนินงาน., See also: moderately adv. moderateness n., Syn. sparing
moderator(มอด'ดะเรเทอะ) n. พิธีกร, ประธานการประชุม, See also: moderatorial adj., Syn. mediator, master of ceremony
nominative(นอม'มะเนทิฟว) adj. เกี่ยวกับการเสนอชื่อเข้ารับเลือกตั้ง, ระบุชื่อ. n. ประธานของประโยค, กรรตุการก
preside(พรีไซดฺ') vi. นำการประชุม, เป็นประธานการประชุม, บรรเลงนำ, ควบคุม., See also: presider n., Syn. chair, moderate
presidency(เพรส'ซิเดินซี) n. ตำแหน่งประธาน, ตำแหน่งประธานาธิบดี, ตำแหน่งนายก
president(เพรส'ซิเดินทฺ) n. ประธาน, นายก, ประธานาธิบดี, ประมุข, ประธานบริษัท, อธิการบด' (ของมหาวิทยาลัยอเมริกา) , คณบดี (ของมหาวิทยาลัยในอังกฤษ), Syn. chairman
president-elect(เพรส'ซิเดินทฺ'-) n. ประธานาธิบดีที่ได้รับการเลือกตั้งแต่ยังไม่ได้เข้าดำรงตำแหน่ง
prex(เพรค'ซี) n. ประธาน (โดยเฉพาะอธิการบดีมหาวิทยาลัย, Syn. president
prexy(เพรค'ซี) n. ประธาน (โดยเฉพาะอธิการบดีมหาวิทยาลัย, Syn. president
principal(พริน'ซะเพิล) adj. อันดับแรก, อันดับหนึ่ง, สำคัญที่สุด, หัวหน้า, ตัวการ, รายใหญ่, เงินต้น, ทุน. n. หัวหน้า, ผู้อำนวยการ, ครูใหญ่, อธิการบดี, ประธาน, เงินต้น, ต้นทุน, ผู้ว่าอ้าง, ตัวการสำคัญ, โครงร่างสำคัญ., See also: principalship n.
provost(พรอฟ'โวสทฺ, โพร'โวสทฺ) n. ผู้เป็นประธาน, ผู้ดำรงตำแหน่งบริหารชั้นสูงของมหาวิทยาลัยหรือวิทยาลัย, พระครู, หัวหน้าพระศาสนา, See also: provostship n., Syn. chairman, president
right(ไรทฺ) adj. ถูก, ถูกต้อง, ปกติ, เป็นธรรม, ยุติธรรม, (ด้าน) หน้า, (ด้าน) บน, (ข้าง) ขวา, ตรงไป, เป็นมุมฉาก n. ธรรม, ความยุติธรรม, ความถูกต้อง, สิทธิ, สิทธิตามกฎหมาย, การหันขวา, การเลี้ยวขวา, ฝ่ายที่ถูกต้อง, สมาชิกฝ่ายขวา, สมาชิกรัฐสภาที่นั่งอยู่ทางด้านขวาของประธานสภา vt. ทำให้เรียบร้อย, ทำให่เหทาะสม, แก้แค้น, แก้ไข vi. ทรงตัว, ตั้งตรง adv .เป็นเส้นตรง, อย่างถูกต้อง, แม่นยำ, เหมาะสม
speaker(สพี'เคอะ) n. ผู้พูด, ผู้บรรยาย, ประธานสภานิติบัญญัติ, เครื่องขยายเสียง, หนังสือฝึกพูด., See also: speakership n., Syn. lecturer, orator
subject(ซับ'จิคทฺ) n. เรื่อง, กรณี, ประเด็น, บัญหา, ข้อ, หัวข้อ, สาขาวิชา, สาเหตุ, มูลเหตุ, ประชากร, ข้า, ไพร่ฟ้าข้าแผ่นดิน, ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชา, ผู้รับการทดสอบ, (ไวยากรณ์) ประธานประโยค, (ปรัชญา) ตัวหลัก, ตัวของตัวเอง. adj. ภายใต้การควบคุม, เปิดเผย, อยู่ในสังกัด, อยู่ในความควบคุม,
vice presidentรองประธาน, รองประธานาธิบดี, See also: vice presidency n. vice-presidency n. vice-presidential adj., Syn. vice-president.
vice-chairman(ไวสฺ'แชร์'เมิน) n. รองประธาน pl. vice-chairmen
white housen. ทำเนียบประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกาในกรุงวอชิงตัน , รัฐบาลสหรัฐอเมริกา

Nontri Dictionary
chairman(n) ประธาน
chairmanship(n) ตำแหน่งประธาน
cheerleader(n) ประธานเชียร์, ผู้นำเชียร์, เชียร์ลีดเดอร์
gavel(n) ค้อนเล็กสำหรับผู้เป็นประธานใช้เคาะโต๊ะ, ตะลุมพุก
moderator(n) ผู้เป็นประธาน, ผู้ไกล่เกลี่ย, ผู้ดำเนินรายการ, พิธีกร
nominative(n) ประธานของประโยค
presidency(n) ตำแหน่งประธานาธิบดี, ตำแหน่งประธาน
president(n) ประธานาธิบดี, ประธาน, ประมุข, ผู้อำนวยการ, ผู้จัดการใหญ่
presidential(adj) เกี่ยวกับประธานาธิบดี, เกี่ยวกับประธาน
provost(n) ประธาน, หัวหน้าพระ, นายกเทศมนตรี, พระครู
speaker(n) ผู้พูด, โฆษก, พิธีกร, ผู้บรรยาย, ลำโพงวิทยุ, ประธาน, การแสดงสุนทรพจน์
subject(n) เรื่อง, คนในบังคับ, ประธาน, วิชา, หัวข้อ

Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
ceo(abbrev) ประธานคณะเจ้าหน้าที่บริหาร
chief executive officerประธานเจ้าหน้าที่บริหาร
creep(n) คณะกรรมการการเลือกตั้งประธานาธิบดี (สมัยนิกสัน), Syn. Committee for the Re-Election of the President Nixon's 1972 campaign organizatio
presidency(n) ระยะเวลาการดำรงตำแหน่งประธานาธิบดี
principal Buddha image(n) พระประธาน
road map[โร๊ด แมป] (n) แนวทางการดำเนินการ eg. "the president said he had a road map for normalizing relations with Vietnam" "ท่านประธานธิบดี บอกว่า เขามีแนวทางดำเนินการเพื่อให้ความสัมพันธ์กับ ประเทศเวียตนาม กลับมาเหมือนเดิม", See also: วิธีการ, วิธี, Syn. แนวปฏิบัติ

Longdo Approved JP-TH
大統領[だいとうりょう, daitouryou] (n) ประธานาธิบดี
社長[しゃちょう, shachou] (n) ประธานบริษัท, กรรมการผู้จัดการ
総裁[そうさい, sousai] (n) ประธาน, ผู้ว่าการ

Longdo Unapproved JP-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
大統領選[だいとうりょうせん, daitouryousen] การเลือกตั้งประธานาธิบดี
大統領選挙[だいとうりょうせんきょ, daitouryousenkyo] การเลือกตั้งประธานาธิบดี
会長[かいちょう, kaichou] (n) ประธานกรรมการบริหาร
実行委員長[じっこういいんちょう, jikkouiinchou] (n) ประธานกรรมการดำเนินงาน

Saikam JP-TH-EN Dictionary
召し上がる[めしあがる, meshiagaru] TH: รับประทาน(รูปสุภาพใช้กับประธานที่เป็นผู้อื่น ไม่ใช่ผู้พูด)  EN: to eat (pol)

Longdo Approved DE-TH
Präsident(n) |der, pl. Präsidenten| ประธานาธิบดี, ประธาน, See also: die Präsidentin
Vorsitzende(n) |der/die, pl. Vorsitzende| ประธาน (ทั้งชายและหญิง)
der(artikel) คำนำหน้านามเพศชายที่เฉพาะเจาะจง (คล้าย the ในภาษาอังกฤษ) ที่อยู่ในรูปประธาน
einหนึ่งชิ้น หนึ่งคนหรืออื่นๆ เป็นคำนำหน้านามเอกพจน์ของเพศชายและเพศกลางที่ไม่เฉพาะเจาะจงในรูปประธาน เช่น ein Hund (m)สุนัขตัวหนึ่ง, ein Haus (n) บ้านหนึ่งหลัง, See also: eins
eineหนึ่งชิ้น หนึ่งคนหรืออื่นๆ เป็นคำนำหน้านามเอกพจน์ของเพศหญิงที่ไม่เฉพาะเจาะจงในรูปประธาน เช่น eine Schule โรงเรียนแห่งหนึ่ง, See also: ein
er(pron) เขา หรือ สรรพนามสำหรับคำนามเพศชายในรูปประธาน, See also: sie, es
esมัน เป็นสรรพนามสำหรับคำนามเพศกลางทั้งรูปประธาน(Nominativ) และกรรมตรง (Akkusativ)
ich(pron) ฉัน, ดิฉัน, ผม (คำสรรพนามบุรุษที่ 1รูปประธาน) เช่น Ich bin groß.
du(pron) เธอ, นาย (คำสรรพนามบุรุษที่ 2 รูปประธาน) เช่น Du bist groß.
sie(pron) หล่อน, เธอ (คำสรรพนามบุรุษที่ 3 รูปประธานเพศหญิง) เช่น Sie ist groß.
es(pron) มัน (คำสรรพนามบุรุษที่ 3 รูปประธานเพศกลาง) เช่น Es ist groß.
er(pron) เขา (คำสรรพนามบุรุษที่ 3 รูปประธานเพศชาย) เช่น Er ist groß.
wir(pron) พวกเรา (คำสรรพนามบุรุษที่ 1 รูปประธานพหูพจน์) เช่น Wir sind groß.
sie(pron) พวกเขา (คำสรรพนามบุรุษที่ 3 รูปประธานพหูพจน์) เช่น Sie sind groß.
Sie(pron) คุณ (คำสรรพนามบุรุษที่ 2 รูปประธาน ใช้แสดงความสุภาพ เขียนขึ้นต้นด้วยตัวใหญ่เสมอไม่ว่าจะอยู่ส่วนใดของประโยค)เช่น Sie sind groß.
Sie(pron) พวกคุณ (คำสรรพนามบุรุษที่ 2 รูปประธานพหูพจน์ ใช้แสดงความสุภาพ เขียนขึ้นต้นด้วยตัวใหญ่เสมอไม่ว่าจะอยู่ส่วนใดของประโยค) เช่น Sie sind groß.
ihr(pron) พวกเธอ (คำสรรพนามบุรุษที่ 2 รูปประธานพหูพจน์ ) เช่น Ihr seid groß.
jede|+ คำนามเพศหญิง หรือ เป็นคำแทนนามเพศหญิง รูปประธานและกรรม| ทุกๆ เช่น Fast jede Frau mag Blumen. ผู้หญิงเกือบทุกคนชอบดอกไม้
jeder|+ คำนามเพศชาย หรือ เป็นคำแทนนามเพศชาย รูปประธาน| ทุกๆ เช่น Jeder in meiner Familie ist groß. ทุกคนในครอบครัวของผมสูงใหญ่ (jeder = jeder Mann), Jeder Film ist auf Deutsch. ภาพยนตร์ทุกเรื่องเล่นเป็นภาษาเยอรมัน
jedes|+ คำนามเพศกลาง หรือ เป็นคำแทนนามเพศกลาง รูปประธานและกรรม| ทุกๆ เช่น Hast du jedes Buch schon gelesen? เธออ่านหนังสือทุกเล่มหรือยังเอ่ย
werden(vi) |ich werde, du wirst, er/sie/es wird, sie/Sie werden, ihr/Ihr werdet, wurde + Partizip 2 ท้ายประโยค| ถูก(กระทำ) เป็นกริยาช่วยในประโยคที่ประธานถูกกระทำ เช่น Werden Sie schon bedient? คุณถูก(ได้รับ)บริการแล้วหรือยังครับ
es gibt etw.มีสิ่งใดสิ่งหนึ่ง (โดยไม่มีการเฉพาะเจาะจงประธาน) เช่น Es gibt gar kein einziges Ei im Kühlschrank. ไม่มีไข่สักฟองในตู้เย็น
mein1) ของฉัน |คำสรรพนามของประธานบุรุษที่หนึ่งรูป Nominativ ที่แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามเพศชายและกลางเอกพจน์| เช่น mein alter Tisch, mein altes Haus
meine1) ของฉัน |คำสรรพนามของประธานบุรุษที่หนึ่งรูป Nominativ และ Akkusativ ที่แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามเพศหญิงเอกพจน์| เช่น meine alte Hose
mein2) ของฉัน |คำสรรพนามของประธานบุรุษที่หนึ่งรูป Akkusativ ที่แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามเพศกลางเอกพจน์| เช่น mein altes Haus
meine2) ของฉัน |คำสรรพนามของประธานบุรุษที่หนึ่งรูป Nominativ และ Akkusativ ที่แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามเพศใดๆ พหูพจน์| เช่น meine alten Tische, meine alten Häuser, meine alten Hosen
meinen1) ของฉัน |คำสรรพนามของประธานบุรุษที่หนึ่งรูป Akkusativ ที่แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามเพศชายเอกพจน์| เช่น meinen alten Tisch
euren1) ของพวกเธอ |คำสรรพนามของประธานบุรุษที่สองพหูพจน์รูป Akkusativ ที่แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามเพศชายเอกพจน์| เช่น euren alten Tisch
meinemของฉัน |คำสรรพนามของประธานบุรุษที่หนึ่งรูป Dativ ที่แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามเพศชายและเพศกลางเอกพจน์| เช่น meinem alten Haus, meinem alten Tisch
meinerของฉัน |คำสรรพนามของประธานบุรุษที่หนึ่งรูป Dativ ที่แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามเพศกลางเอกพจน์| เช่น meiner alten Hose
meinen2) ของฉัน |คำสรรพนามของประธานบุรุษที่หนึ่งรูป Dativ ที่แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามเพศใดๆ พหูพจน์| เช่น meinen alten Tische, meinen alten Häuser, meinen alten Hosen
meinesของฉัน |คำสรรพนามของประธานบุรุษที่หนึ่งรูป Genetiv ที่แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามเพศชายและเพศกลางเอกพจน์| เช่น meines alten Hauses, meines alten Tisches (สังเกต s หรือ es ท้ายคำนาม)
meinerของฉัน |คำสรรพนามของประธานบุรุษที่หนึ่งรูป Genetiv ที่แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามเพศหญิงเอกพจน์| เช่น meiner alten Hose
meinerของฉัน |คำสรรพนามของประธานบุรุษที่หนึ่งรูป Genetiv ที่แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามเพศใดๆ พหูพจน์| เช่น meiner alten Hosen, meiner alten Häuser, meiner alten Tische
deinของเธอ |คำสรรพนามของประธานบุรุษที่สองรูป Nominativ ที่แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามเพศชายและกลางเอกพจน์| เช่น dein alter Tisch, dein altes Haus
deine1) ของเธอ |คำสรรพนามของประธานบุรุษที่สองรูป Nominativ และ Akkusativ ที่แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามเพศหญิงเอกพจน์| เช่น deine alte Hose
deinของเธอ |คำสรรพนามของประธานบุรุษที่สองรูป Akkusativ ที่แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามเพศกลางเอกพจน์| เช่น dein altes Haus
deine2) ของเธอ |คำสรรพนามของประธานบุรุษที่สองรูป Nominativ และ Akkusativ ที่แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามเพศใดๆ พหูพจน์| เช่น deine alten Tische, deine alten Häuser, deine alten Hosen
deinen1) ของเธอ |คำสรรพนามของประธานบุรุษที่สองรูป Akkusativ ที่แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามเพศชายเอกพจน์| เช่น deinen alten Tisch
eure1) ของพวกเธอ |คำสรรพนามของประธานบุรุษที่สองพหูพจน์รูป Nominativ และ Akkusativ ที่แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามเพศใดๆ พหูพจน์| เช่น eure alten Tische, eure alten Häuser, eure alten Schulen
deinemของเธอ |คำสรรพนามของประธานบุรุษที่สองรูป Dativ ที่แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามเพศชายและเพศกลางเอกพจน์| เช่น deinem alten Haus, deinem alten Tisch
deiner1) ของเธอ |คำสรรพนามของประธานบุรุษที่สองรูป Dativ ที่แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามเพศกลางเอกพจน์| เช่น deiner alten Hose
deinen2) ของเธอ |คำสรรพนามของประธานบุรุษที่สองรูป Dativ ที่แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามเพศใดๆ พหูพจน์| เช่น deinen alten Tische, deinen alten Häuser, deinen alten Hosen
deinesของฉัน |คำสรรพนามของประธานบุรุษที่สองรูป Genetiv ที่แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามเพศชายและเพศกลางเอกพจน์| เช่น deines alten Hauses, deines alten Tisches (สังเกต s หรือ es ท้ายคำนาม)
deiner2) ของเธอ |คำสรรพนามของประธานบุรุษที่สองรูป Genetiv ที่แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามเพศหญิงเอกพจน์| เช่น deiner alten Hose
Ihrของคุณ(เอกพจน์), ของพวกคุณ(พหูพจน์) |คำสรรพนามของประธานบุรุษที่สองรูป Nominativ ที่แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามเพศชายและกลางเอกพจน์| เช่น Ihr alter Tisch, Ihr altes Haus
Ihre1) ของคุณ(เอกพจน์), ของพวกคุณ(พหูพจน์) |คำสรรพนามของประธานบุรุษที่สองรูป Nominativ และ Akkusativ ที่แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามเพศหญิงเอกพจน์| เช่น Ihre alte Hose
Ihrของคุณ(เอกพจน์), ของพวกคุณ(พหูพจน์) |คำสรรพนามของประธานบุรุษที่สองรูป Akkusativ ที่แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามเพศกลางเอกพจน์| เช่น Ihr altes Haus
Ihre2) ของคุณ(เอกพจน์), ของพวกคุณ(พหูพจน์) |คำสรรพนามของประธานบุรุษที่สองรูป Nominativ และ Akkusativ ที่แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามเพศใดๆ พหูพจน์| เช่น Ihre alten Tische, Ihre alten Häuser, Ihre alten Hosen
Ihren1) ของคุณ(เอกพจน์), ของพวกคุณ(พหูพจน์) |คำสรรพนามของประธานบุรุษที่สองรูป Akkusativ ที่แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามเพศชายเอกพจน์| เช่น Ihren alten Tisch

Longdo Approved FR-TH
je(n) ประธานบุรุษที่ 1 เอกพจน์, ฉัน, ผม
vous(n) ประธานบุรุษที่สอง หมายถึง 1. ท่าน (คนเดียวหรือเอกพจน์) 2. ท่านทั้งหลาย (พหูพจน์) หรือ 3. พวกเธอทั้งหลาย
tu(n) ประธานบุรุษที่ 2 เอกพจน์, เธอ
nous(n) ประธาน และ กรรม บุรุษที่ 1 พหูพจน์, พวกเรา
il(n) ประธานบุรุษที่ 3 เอกพจน์ เพศชาย, เขา, มัน
elle(n) ประธานบุรุษที่ 3 เอกพจน์เพศหญิง, เธอ(ผู้หญิง), มัน(ผู้หญิง)
ils(n) ประธานบุรุษที่ 3 พหูพจน์ที่มีเพศชายอย่างน้อย 1 คนในนั้น, พวกเขา, พวกมัน
elles(n) ประธานบุรุษที่ 3 พหูพจน์ที่เป็นเพศหญิงทั้งหมด, พวกหล่อน, พวกมัน(ผู้หญิง)
vais((présent)) je vais = ฉันไป ( กริยาผันรูปปัจจุบัน ของ aller กับประธานบุรุษที่ 1 เอกพจน์ je = ผม, ฉัน )เช่น je vais partir. = ผมจะไปแล้วหละ

Longdo Unapproved FR-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
be supposed toน่าจะ, ควรจะ, เป็นการแสดงความคาดหวังของผู้พูดต่อประธานในประโยคว่าน่าจะทำกริยาที่ระบุไว้

Time: 0.7993 secondsLongdo Dict -- https://dict.longdo.com/