การพาณิชยนาวี | น. การขนส่งทางทะเล การประกันภัยทางทะเล การเดินเรือ กิจการอู่เรือ กิจการท่าเรือ และกิจการที่เกี่ยวเนื่องหรือเป็นส่วนประกอบกับกิจการดังกล่าว. |
ฉลอมท้ายญวน | น. ชื่อเรือใบเดินทะเลรูปท้ายตัด ใช้ทางทะเลด้านตะวันออก. |
ฉลาง | (ฉะหฺลาง) น. ชื่อชนชาติเดิมพวกหนึ่ง อยู่ทางทะเลด้านตะวันตกของแหลมมลายู, ชาวนํ้า หรือ ชาวเล ก็เรียก. (ม. ว่า ซะลัง) |
ชาวน้ำ | น. ชื่อชนชาติเดิมพวกหนึ่ง อยู่ทางทะเลด้านตะวันตกของแหลมมลายู, ฉลาง หรือ ชาวเล ก็เรียก. |
ทิวทัศน์ | (ทิวทัด) น. ลักษณะภูมิประเทศที่ปรากฏเห็นตามธรรมชาติ เช่น ทิวทัศน์ทุ่งนา ทิวทัศน์ป่าเขา ทิวทัศน์ทางทะเล, เรียกภาพเขียนหรือภาพถ่ายจากทิวทัศน์ ว่า ภาพทิวทัศน์. |
ทุ่นระเบิด | น. เครื่องกีดขวางที่มีอำนาจระเบิด ผูกโซ่ถ่วงให้ลอยประจำอยู่ใต้นํ้าเพื่อทำลายหรือต่อต้านการบุกรุกของฝ่ายศัตรูทางทะเล, ถ้าใช้ฝังพรางไว้บนบก เรียกว่า ทุ่นระเบิดบก, เรียกอาณาบริเวณที่วางทุ่นระเบิดไว้เพื่อป้องกันปิดล้อม หรือจำกัดการเคลื่อนไหวของฝ่ายศัตรูทั้งทางทะเลและทางบก ว่า สนามทุ่นระเบิด, เรียกลักษณะการทำลายทุ่นระเบิดที่ศัตรูวางไว้ในทะเล ว่า กวาดทุ่นระเบิด. |
สถานี | ที่ที่กำหนดให้ทหารเรือประจำเพื่อปฏิบัติการตามภารกิจต่าง ๆ เช่น สถานีรบ สถานีจอดเรือ สถานีออกเรือ สถานีช่วยคนตกน้ำ สถานีรับส่งสิ่งของทางทะเล |
Marine biotechnology | เทคโนโลยีชีวภาพทางทะเล [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Marine microbiology | จุลชีววิทยาทางทะเล [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Average (Maritime law) | การเฉลี่ยค่าเสียหาย (ในการประกันภัยทางทะเล) [เศรษฐศาสตร์] |
Marine biology | ชีววิทยาทางทะเล [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Marine scientist | นักวิทยาศาสตร์ทางทะเล [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Convention on limitation of liability for Maritime Claims (1976) | อนุสัญญาว่าด้วยการจำกัดความรับผิดสำหรับสิทธิเรียกร้องทางทะเล (ค.ศ. 1976) [TU Subject Heading] |
Convention on the Prevention of Marine Pollution by Dumping of Wastes and the Other Matter (1972) | อนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันภาวะมลพิษทางทะเลจากการทิ้งเทของเสียและสสารอื่นๆ (ค.ศ. 1972) [TU Subject Heading] |
Exotic marine organisms | สิ่งมีชีวิตต่างถิ่นทางทะเล [TU Subject Heading] |
Insurance, Marine | ประกันภัยทางทะเล [TU Subject Heading] |
Liability for marine accidents | ความรับผิดสำหรับอุบัติเหตุทางทะเล [TU Subject Heading] |
Marine accidents | อุบัติเหตุทางทะเล [TU Subject Heading] |
Marine biology | ชีววิทยาทางทะเล [TU Subject Heading] |
Marine biotechnology | เทคโนโลยีชีวภาพทางทะเล [TU Subject Heading] |
Marine parks and reserves | อุทยานแห่งชาติทางทะเล [TU Subject Heading] |
Marine pollution | มลพิษทางทะเล [TU Subject Heading] |
Marine resources | ทรัพยากรทางทะเล [TU Subject Heading] |
Marine resources conservation | การอนุรักษ์ทรัพยากรทางทะเล [TU Subject Heading] |
Marine sciences | วิทยาศาสตร์ทางทะเล [TU Subject Heading] |
Marine terminals | สถานีขนส่งทางทะเล [TU Subject Heading] |
Maritime Labour Convention (2006) | อนุสัญญาแรงงานทางทะเล (ค.ศ. 2006) [TU Subject Heading] |
Maritime liens | บุริมสิทธิทางทะเล [TU Subject Heading] |
Naval strategy | ยุทธศาสตร์ทางทะเล [TU Subject Heading] |
Ocean freight forwarders | ผู้รับขนของทางทะเล [TU Subject Heading] |
Salvage | การกู้ภัยทางทะเล [TU Subject Heading] |
Sea control | การควบคุมทางทะเล [TU Subject Heading] |
Sea-power | อำนาจทางทะเล [TU Subject Heading] |
United Nations Convention on the Carriage of Goods by sea (1978) | อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการขนส่งของทางทะเล (ค.ศ. 1978) [TU Subject Heading] |
Life in Marine Ecosystem | สิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศทางทะเล, Example: เนื่องจากระบบนิเวศทางทะเลมี พื้นที่กว้างขวางมาก ดังนั้นจึงพบสิ่งมีชีวิตเป็นจำนวนมาก ซึ่ง สามารถแบ่งออกเป็น 3 กลุ่มใหญ่ คือ Pleustic organism, Pelagic organism และ Benthic organism ดู Pleustic organism หรือ Pelagic organism หรือ Benthic organism เพิ่มเติม [สิ่งแวดล้อม] |
ASEAN Senior Officials on the Environment | เจ้าหน้าที่อาวุโสอาเซียนด้านสิ่งแวดล้อม " ประกอบด้วยผู้แทนระดับปลัดกระทรวง มีหน้าที่ดูแลความร่วมมือด้านสิ่งแวดล้อมระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน และกับประเทศและองค์กรอื่น ๆ มีการประชุมปีละครั้ง แยกเป็น 1 คณะผู้เชี่ยวชาญและ 3 คณะทำงาน ซึ่งได้แก่ (1) คณะทำงานเฉพาะกิจทางเทคนิคด้านปัญหาหมอกควัน (2) คณะทำงานอาเซียนด้านสิ่งแวดล้อมชายฝั่งและทางทะเล (3) คณะทำงานอาเซียนเกี่ยวกับความตกลงพหุภาคีด้านสิ่งแวดล้อม และ (4) คณะทำงานอาเซียนด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพ " [การทูต] |
ASEAN Committee on Science and Technology | คณะกรรมการอาเซียนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี " มีหน้าที่ดูแลความร่วมมือด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างประเทศสมาชิกอา เซียนและกับประเทศคู่เจรจาและองค์กรอื่น ๆ ประชุมปีละ 2 ครั้ง โดยแยกเป็นอนุกรรมการ 9 คณะ คือ (1) ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอาหาร (2) ด้านอุตุนิยมวิทยาและธรณีฟิสิกส์ (3) ด้านไมโครอิเล็กทรอนิกส์และเทคโนโลยีสารสนเทศ (4) ด้านวัสดุศาสตร์และเทคโนโลยี (5) ด้านเทคโนโลยีชีวภาพ (6) ด้านการวิจัยพลังงานนอกแบบ (7) ด้านวิทยาศาสตร์ทางทะเล (8) ด้านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและทรัพยากรด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี (9) ด้านเทคโนโลยีอวกาศและการประยุกต์ " [การทูต] |
delimitation | การกำหนดเขตแดน (ทางบก) / การแบ่งเขตแดน (ทางทะเล) การกำหนด หรือการอธิบาย หรือการจำกัดความขอบเขตของดินแดนของประเทศ [การทูต] |
International Maritime Organization | องค์การกิจการทางทะเลระหว่างประเทศ " เป็นทบวงการชำนัญพิเศษขององค์การสหประชาชาติ ตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2502 โดยมีวัตถุประสงค์ที่จะเป็นเวทีระหว่างประเทศสมาชิก ในการกำหนดมาตรฐาน และแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับความปลอดภัย ในการเดินเรือ และการคุ้มครองสิ่งแวดล้อมทางทะเล รวมทั้งเป็นกลไกในการสร้างความร่วมมือทางวิชาการระหว่างประเทศสมาชิก ปัจจุบัน มีสมาชิก 155 ประเทศ สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่กรุงลอนดอน สหราชอาณาจักร " [การทูต] |
Inter-Governmental Maritime Consultative Organization | องค์การที่ปรึกษาทางทะเลระหว่างรัฐบาล หมายถึงองค์การที่ปรึกษาเกี่ยวกับการเดินเรือทางทะเล ระหว่างรัฐบาล องค์การนี้มีฐานะเป็นองค์การชำนัญพิเศษแห่งหนึ่งขององค์การสหประชาชาติ ประเทศทั้งหมดรวม 35 ประเทศ ได้ประชุมร่วมกันจัดทำอนุสัญญาขององค์การนี้ขึ้นเป็นครั้งแรก ในการประชุมขององค์การที่ปรึกษาการเดินเรือทางทะเล ณ กรุงเจนีวา เมื่อวันที่ 6 มีนาคม ค.ศ. 1948 อนุสัญญามีผลบังคับใช้เมื่อ วันที่ 17 มีนาคม ค.ศ. 1958 เมื่อมีประเทศต่าง ๆ รวม 21 ประเทศได้ให้สัตยาบัน ซึ่งในจำนวนนี้ 7 ประเทศเป็นอย่างน้อยจะต้องมีเรือเดินทะเลของตนไม่น้อยกว่า 1 ล้านตัน (Gross tons) วัตถุประสงค์ขององค์การ IMCO คือ1. จัดวางกลไกเพื่อความร่วมมือกันระหว่างรัฐบาลประเทศสมาชิก ในด้านการวางระเบียบข้อบังคับของราชการ และการปฏิบัติซึ่งเกี่ยวข้องกับเรื่องทางวิชาการหรือเทคนิค รวมทั้งเรื่องที่เกี่ยวกับความปลอดภัยทางทะเล2. สนับสนุนให้มีการยกเลิกการกระทำที่เลือกที่รักมักที่ชัง และข้อจำกัดต่าง ๆ ที่ไม่จำเป็นของรัฐบาล3. รับพิจารณาเรื่องต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติในทำนองตั้งข้อจำกัดอย่างไม่ยุติธรรมของบริษัท หรือองค์การเดินเรือทั้งหลาย4. รับพิจารณาเรื่องใด ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเดินเรือ ที่องค์การหนึ่งใดหรือองค์การชำนัญพิเศษของสหประชาชาติส่งมาให้พิจารณา 5. จัดให้มีการแลกเปลี่ยนข่าวสารข้อสนเทศใด ๆ ระหว่างรัฐบาลเกี่ยวกับเรื่องที่องค์การ IMCO กำลังพิจารณาอยู่องค์การนี้ยังจัดให้มีการร่างอนุสัญญาและความตกลงต่าง ๆ รวมทั้งส่งข้อเสนอแนะเหล่านี้ไปให้รัฐบาล และองค์การระหว่างรัฐบาลทั้งหลาย รวมทั้งจัดการประชุมเท่าที่พิจารณาเห็นว่าจำเป็นองค์การนี้ประชุมกันทุกสอง ปี มีหน้าที่วางนโยบายเกี่ยวกับการเดินเรือทางทะเล ระหว่างสมัยประชุมจะมีคณะเจ้าหน้าที่ขององค์การ เรียกว่า คณะมนตรี (Council) ทำหน้าที่บริหารงานในองค์การ คณะมนตรีประกอบด้วยสมาชิก 16 คน ในจำนวนนี้ 8 คน เป็นผู้แทนจากประเทศที่สนใจให้การบริการเกี่ยวกับการเดินเรือระหว่างประเทศ และอีก 8 คนเป็นตัวแทนจากประเทศที่สนใจการค้าทางทะเลระหว่างประเทศ องค์การมีสำนักเลขาธิการ ประกอบด้วยตัวเลขาธิการ เลขานุการคณะกรรมการเกี่ยวกับความปลอดภัยทางทะเล และเจ้าหน้าที่ประจำตามจำนวนที่องค์การต้องการแล้วแต่กรณี สำนักงานใหญ่ขององค์การตั้งอยู่ในกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ [การทูต] |
International Law Commission of the United Nations | คือคณะกรรมการกฎหมายระหว่างประเทศของสหประชาชาติ มีวัตถุประสงค์ที่จะส่งเสริมปรับปรุงกฎหมายระหว่า ประเทศ รวมทั้งการทำประมวลกฎหมายให้ก้าวหน้าและทันสมัยคณะกรรมาธิการนี้ประกอบด้วย สมาชิกรวม 25 คน ซึ่งได้รับการเลือกตั้งให้ดำรงอยู่ในตำแหน่งสมาชิกคราวละ 5 ปี และจะทำงานในคณะกรรมาธิการในฐานะตัวบุคคล มิใช่เป็นตัวแทนจากประเทศของตน ตลอดการประชุมสมัชชาสหประชาชาติเป็นจำนวนหลายสมัยมาแล้ว คณะกรรมาธิการได้ทำหน้าที่ร่างกฎหมายในเรื่องต่าง ๆ ที่เป็นกฎหมายระหว่างประเทศเป็นจำนวนไม่น้อย บางเรื่องได้ริเริ่มขึ้นเองโดยคณะกรรมาธิการ แต่บางเรื่องทางสมัชชาสหประชาชาติหรือคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม ได้ส่งไปให้พิจารณาดำเนินการคณะกรรมาธิการได้ร่างสัญญาเกี่ยวกับกฎหมายทาง ทะเลไปแล้วไม่น้อยกว่า 4 ฉบับ เช่น อนุสัญญาว่าด้วยทะเลหลวง อนุสัญญาว่าด้วยอาณาเขตทางทะเลและพื้นที่ติดชายฝั่งอนุสัญญาเกี่ยวกับการจับ ปลา การอนุรักษ์ทรัพยากรที่มีชีวิตในท้องทะเลหลวง พร้อมทั้งได้รับสัตยาบันสารจากประเทศต่าง ๆ ไว้แล้วเป็นจำนวนมาก เมื่อ ค.ศ.1961 และ 1963 คณะกรรมาธิการได้จัดให้มีการประชุมใหญ่สองครั้งตามลำดับ ณ กรุงเวียนนา พร้อมทั้งได้ลงมติรับรองอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต และอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุล [การทูต] |
Joint Development Area | พื้นที่พัฒนาร่วม " หมายถึง พื้นที่พัฒนาร่วมระหว่างไทยกับมาเลเซีย อันเป็นผลสืบเนื่องมาจากการแก้ไขปัญหาเขตแดนทางทะเลระหว่างทั้งสองประเทศ ทั้งนี้ ทั้งสองฝ่ายได้ตกลงที่จะแปรปัญหาเขตทับซ้อนในไหล่ทวีป ซึ่งมีพื้นที่ 7,250 ตารางกิโลเมตร ให้เป็นพื้นที่พัฒนาร่วม โดยการแสวงหาและนำเอาทรัพยากรปิโตรเลียมในพื้นที่ดังกล่าวมาใช้และแบ่งปันผล ประโยชน์ บนพื้นฐานของความเท่าเทียมกันในลักษณะ 50 : 50 ซึ่งนับว่าเป็น ตัวอย่างที่ดีในการแก้ไขกรณีพิพาทเกี่ยวกับเขตทับซ้อนทางทะเลสำหรับประเทศ อื่น ๆ " [การทูต] |
maritime casualities | ความเสียหายอันเนื่องมาจากภัยพิบัติทางทะเล [การทูต] |
order at sea | การจัดระเบียบทางทะเล " เช่น ความร่วมมือระหว่างกองทัพเรือไทย-เวียดนามในการลดความ ขัดแย้งในทะเลระหว่างกัน อาทิ การล่วงล้ำน่านน้ำและลักลอบทำประมง โดยมีมาตรการสำคัญ คือ การลาดตระเวนร่วมในพื้นที่ประชิดกันทางทะเลระหว่างกองทัพเรือทั้งสองฝ่าย เป็นประจำ " [การทูต] |
Sanctions | การบังคับตามกฎระหว่างประเทศ หมายถึงการที่หลาย ๆ ชาติได้ลงมติใช้มาตรการบังคับหรือจูงใจพร้อม ๆกันเพื่อบังคับให้ชาติหนึ่งที่ละเมิดกฎหมายระหว่างประเทศ ทำการยับยั้ง (Desist) หรือยินยอมให้มีการชี้ขาดตัดสิน (Adjudication) หรือกล่าวอย่างสั้น ๆ แซ็งชั่นก็คือ หนทางที่บังคับพันธกรณีทางกฎหมายให้เป็นไปตามกฎหมายเรื่องแซ็งชั่นนี้ กฎบัตรสหประชาชาติได้กล่าวไว้ในบทที่ 7 ข้อ 41 และ 42 มีข้อความดังนี้ ?ข้อ 41 คณะมนตรีความมั่นคงอาจวินิจฉัยว่า จะต้องใช้มาตรการอันใดอันไม่มีการใช้กำลังอาวุธ เพื่อยังผลให้เกิดแก่คำวินิจฉัยของคณะมนตรี และอาจเรียกร้องให้สมาชิกแห่งสหประชาชาติใช้มาตรการเช่นว่านั้น มาตรการเหล่านี้อาจรวมถึงการตัดสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ และการคมนาคมทางรถไฟ ทางทะเล ทางอากาศ ทางไปรษณีย์โทรเลข ทางวิทยุ และวิถีทางคมนาคมอย่างอื่นโดยสิ้นเชิงหรือแต่บางส่วน และการตัดความสัมพันธ์ทางการทูต ข้อ 42 หากคณะมนตรีความมั่นคงพิจารณาเห็นว่ามาตรการที่บัญญัติไว้ในข้อ 41 น่าจะไม่เพียงพอ หรือได้พิสูจน์แล้วว่าไม่เพียงพอ คณะมนตรีก็อาจดำเนินการใช้กำลังทางอากาศ ทางทะเล หรือทางพื้นดินเช่นที่เห็นจำเป็น เพื่อธำรงไว้ หรือสถาปนากลับคืนมาซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ การดำเนินการเช่นว่านี้ อาจรวมถึงการแสดงแสนยานุภาพ การปิดล้อม และการปฏิบัติอย่างอื่นโดยกำลังทางอากาศ ทางทะเล หรือทางพื้นดินของบรรดาสมาชิกแห่งสหประชาชาติ [การทูต] |
The Hague Peace Conferences | การประชุมสันติภาพ ณ กรุงเฮก ในประเทศเนเธอร์แลนด์ การประชุมนี้ได้กระทำกันเป็นครั้งแรกเมื่อปี ค.ศ. 1899 โดย พระเจ้าซาร์ นิโคลัสที่สอง ของประเทศรัสเซียเป็นผู้จัดให้มีขึ้น ณ กรุงเฮก เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม ค.ศ. 1899 ที่ประชุมได้รับรองอนุสัญญาว่าด้วยการระงับข้อพิพาทระหว่างประเทศโดยสันติ วิธี ได้ตกลงจัดตั้งศาลซึ่งตัดสินประเทศโดยสันติวิธี พร้อมทั้งได้ตกลงจัดตั้งศาลซึ่งตัดสินโดยอนุญาโตตุลาการเป็นการถาวร และเสนอแนะให้วางประมวลพิจารณาโดยอนุญาโตตุลาการ ทั้งยังได้ตกลงรับรองอนุสัญญาและปฏิญญาต่าง ๆ หลายฉบับ ในจำนวนนี้ ที่สำคัญที่สุดได้แก่ อนุสัญญาควบคุมกฎหมายและขนบประเพณีว่าด้วยการทำสงครามภาคพื้นดินการประชุม สันติภาพ ณ กรุงเฮกครั้งที่สอง หรือการประชุม ณ กรุงเฮกปี ค.ศ.1907 ตามคำขอร้องของรัฐบาลรัสเซีย ได้มีขึ้นเมื่อวันที่ 15 มิถุนายน ค.ศ.1907 วัตถุประสงค์สำคัญของการประชุมคือต้องการปรับปรุงและขยายข้อความในอนุสัญญา ต่าง ๆ ที่ทำไว้เมื่อปี ค.ศ. 1899 ว่าด้วยการระงับข้อพิพาทระหว่างประเทศโดยสันติวิธี รวมทั้งกฎหมายและขนบประเพณีเกี่ยวกับสงครามภาคพื้นดิน ตลอดจนรับรองอนุสัญญาเกี่ยวกับกฎหมายและขนมประเพณีของการทำสงครามทางทะเล การประชุม ณ กรุงเฮกครั้งที่สองนี้ยังได้เสนอแนะให้ที่ประชุมกำหนดให้ประเทศผู้ลงนาม รับรองและนำออกใช้ซึ่งร่างอนุสัญญาว่าด้วยการก่อตั้งศาลสถิตยุติธรรม เพื่อพิจารณาโดยอนุญาโตตุลาการอีกด้วย [การทูต] |
การค้าทางทะเล | [kānkhā thāng thalē] (n, exp) EN: maritime trade |
การขนส่งทางทะเล | [kān khonsong thāng thalē] (n, exp) EN: seaborne transport |
การลำเลียงทางทะเล | [kān lamlīeng thāng thalē] (n, exp) FR: transport par mer |
การประกันภัยทางทะเล | [kān prakanphai thāng thalē] (n, exp) EN: maritime insurance |
การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ทางทะเล | [kān thøngthīo choēng anurak thāng thalē] (n, exp) EN: marine ecotourism |
กรมธรรม์ประกันภัยทางทะเล | [krommathan prakanphai thāng thalē] (n, exp) EN: marine insurance policy |
ลำเลียงทางทะเล | [lamlīeng thāng thalē] (v, exp) EN: transport by sea |
ภัยพิบัติทางทะเล | [phaiphibat thāng thalē] (n, exp) EN: perils of the sea FR: périls de la mer [ mpl ] |
ผู้เชี่ยวชาญทางทะเล | [phūchīochān thāng thalē] (n, exp) EN: marine expert [ m ] |
ประกันภัยทางทะเล | [prakanphai thāng thalē] (n, exp) EN: maritime insurance ; marine insurance |
ระบบนิเวศทางทะเล | [rabop niwēt thāng thalē] (n, exp) EN: marine ecosystem FR: écosystème marin [ m ] |
ทางทะเล | [thāng thalē] (adj) EN: maritime FR: maritime |
ทางทะเล | [thāng thalē] (adv) EN: by sea |
วิทยาศาสตร์ทางทะเล | [witthayāsāt thāng thalē] (n) EN: oceanography FR: sciences océanographiques [ fpl ] ; océanographie [ f ] ; sciences marines [ fpl ] ; hydrologie marine [ f ] |
maritime | (adj) ทางทะเล, See also: เกี่ยวกับทะเล, Syn. nautical, naval, marine |
nautical | (adj) ทางทะเล, See also: ทางการเดินเรือ, ทางนาวิกโยธิน, Syn. seafaring, oceanic |
nautical mile | (n) ระยะทางทะเล (ประมาณ 1852 เมตร), Syn. sea mile |
navigator | (n) นักเดินทางสำรวจทะเล, See also: นักเดินเรือ, นักบุกเบิกทางทะเล, Syn. explorer, seaman |
sea | (n) เกี่ยวกับทะเล, See also: ทางทะเล, Syn. marine, maritime, seafaring |
sea power | (n) ประเทศมหาอำนาจทางทะเล, See also: แสนยานุภาพทางทะเล, แสนยานุภาพของกองทัพเรือ, Syn. naval strength, naval forces |
seaborne | (adj) ขนส่งทางทะเล, See also: ผ่านทางทะเล, ขนส่งทางเรือ, ลอยในทะเล, Syn. seafaring, aflat |
seafaring | (adj) เกี่ยวกับการเดินเรือทะเล, See also: เกี่ยวกับการขนส่งทางทะเล, เกี่ยวกับการเดินทางในทะเล, Syn. naval, nautical, maritime, ocean-going |
seaward | (adv) ซึ่งหันไปสู่ทะเล, See also: หันไปทางทะเล, มุ่งไปสู่ทะเล, Syn. offshore, out to sea, Ant. inland, landward |
seaward | (adj) หันไปสู่ทะเล, See also: ไปยังทะเล, หันไปทางทะเล, มุ่งไปทางทะเล |
surface | (adj) ซึ่งขนส่งทางพื้นดินหรือทางทะเล, Syn. transported over land or sea |
waters | (n) เขตน่านน้ำ, See also: น่านน้ำ, บริเวณหรือเขตแดนทางทะเลที่เป็นของประเทศใดประเทศหนึ่งโดยเฉพาะ |