23 ผลลัพธ์ สำหรับ *ฉันทลักษณ์*
หรือค้นหา: ฉันทลักษณ์, -ฉันทลักษณ์-

พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
ฉันทลักษณ์(ฉันทะลัก) น. ลักษณะแบบแผนคำประพันธ์ประเภทร้อยกรอง, ชื่อตำราไวยากรณ์ตอนที่ว่าด้วยลักษณะของคำประพันธ์.
กระทู้ ๒ในฉันทลักษณ์ หมายเอาข้อความอันเป็นเค้าเงื่อนนำหน้าบทกลอน เช่น โคลงที่แต่งตามเค้าเงื่อนนั้น เรียกว่า โคลงกระทู้.
กฤษฎาญชลี(กฺริดสะดานชะลี) ก. มีอัญชลีอันกระทำแล้ว, กระทำอัญชลี, เช่น กฤษฎาญชลียะยุ่งแล (ม. คำหลวง ทศพร), ในวรรณคดีแผลงไปเป็นรูปต่าง ๆ คือ กฤษฎาญชลิต เช่น กฤษฎาญชลิตไหว้ (มาลัยคำหลวง), กฤษฎาญชวลิตวา เช่น อันว่ากฤษฎาญชวลิตวา (มาลัยคำหลวง), กฤษฎาญชวลิศ เช่น อนนว่าเจ้าสากลกฤษฎาญชวลิศท่านธแล้ว (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์), กฤษฎาญชวเลศ เช่น ถวายกฤษฎาญชวเลศ ทูลแถลงเหตุนุสนธ์ (เพชรมงกุฎ), กฤษฎาญชุลี เช่น กฤษฎาญชุลีน้อม (ฉันทลักษณ์).
เข้าลิลิตก. สัมผัสคําระหว่างบทตามแบบการแต่งลิลิตที่กําหนดไว้ในตําราฉันทลักษณ์ เช่นคํา “สม” กับ “สนม” ในตัวอย่างต่อไปนี้
(ตะเลงพ่าย).
ครุ ๒(คะรุ) ว. หนัก, ใช้ในตำราฉันทลักษณ์ หมายถึง พยางค์ที่มีเสียงหนัก ได้แก่ พยางค์ที่ประกอบด้วยสระเสียงยาวและสระเกินทั้ง ๔ คือ สระอำ ใอ ไอ เอา เช่น ตา ดำ (สระอำถือเป็น ครุ ก็ได้ ลหุ ก็ได้) และพยางค์ที่มีตัวสะกดทั้งสิ้น เช่น หัด เรียน ใช้เครื่องหมาย ั แทน, คู่กับ ลหุ ซึ่งใช้เครื่องหมาย ุ แทน.
โคลง ๑(โคฺลง) น. คำประพันธ์ประเภทหนึ่ง มีจำนวนคำในวรรคสัมผัสและบังคับเอกโทตามตำราฉันทลักษณ์.
บทบูรณ์(บดทะ-) น. พยางค์ที่ทำให้บทประพันธ์ครบคำตามฉันทลักษณ์ ไม่สู้มีความหมาย เช่น แต่งอเนกนุประการ คำ “นุ” เป็นบทบูรณ์, บาทบูรณ์ ก็เรียก.
บวรโตฎก(บอวอระโตดก) น. ชื่อกลอนกลบทแบบหนึ่ง กำหนดให้ ๓ พยางค์ต้นวรรคแต่ละวรรคเป็นสะคณะคือพยางค์เบา ๒ พยางค์ พยางค์หนัก ๑ พยางค์ เช่น ชลเนตรไหลนองร้องร่ำรัก ชลไนยไหลหนักอาวรณ์หวาม ชนนีห้ามบุตรสุดไม่ตาม ชลนานองน้ำพระเนตรนอง (สารานุกรมศัพท์วรรณกรรมไทย ภาคฉันทลักษณ์).
บังคับกฎเกณฑ์ของการประพันธ์ที่บัญญัติใช้ในฉันทลักษณ์ เช่น บังคับครุลหุ บังคับเอกโท บังคับสัมผัส.
ร้อยกรองแต่งหนังสือดีให้มีความไพเราะ, เรียบเรียงถ้อยคำให้เป็นระเบียบตามบัญญัติแห่งฉันทลักษณ์.
ร้อยกรองน. คำประพันธ์, ถ้อยคำที่เรียบเรียงให้เป็นระเบียบตามบัญญัติแห่งฉันทลักษณ์.
ลหุใช้ในตำราฉันทลักษณ์ หมายถึง พยางค์ที่มีเสียงเบา ได้แก่ พยางค์ที่ประกอบด้วยสระเสียงสั้นที่ไม่มีตัวสะกด เช่น จะ มิ ดุ, ใช้เครื่องหมาย แทน, คู่กับ ครุ ซึ่งใช้เครื่องหมาย แทน.
สัมผัสข้อบังคับที่ใช้ในฉันทลักษณ์เพื่อให้เสียงรับกัน.
สัมผัสนอกน. สัมผัสนอกวรรคหรือระหว่างวรรคตามข้อบังคับแห่งฉันทลักษณ์ซึ่งเป็นสัมผัสสระและไม่ซ้ำเป็นคำเดียวกัน เช่น
(อภัย),
(ตะเลงพ่าย).


ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
prosodyฉันทลักษณ์ [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕]
scansionฉันทลักษณ์พินิจ [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕]

NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
prosody(n) ฉันทลักษณ์, See also: การศึกษาเกี่ยวกับการประพันธ์, Syn. versification, metrics
versification(n) การแต่งบทกลอน, See also: ฉันทลักษณ์, ศิลปะการประพันธ์บทร้อยกรอง, Syn. imambic, poetry, prosody, verse

Hope Dictionary
gradus(เกร'ดัส) n., (pl. -duses) พจนานุกรมฉันทลักษณ์, พจนานุกรมสัมผัส
poetics(โพเอท'ทิคซฺ) n. ฉันทลักษณ์, บทกวีนิพนธ์, อารมณ์แห่งกวีนิพนธ์
prosody(พรอส'ซะดี) n. ฉันทลักษณ์, วิชาฉันทลักษณ์, วิชาเกี่ยวกับจังหวะและเสียงสัมผัสของบทกวี, แบบแผนการเปล่งเสียง., See also: prosodic adj. prosodical adj.

Nontri Dictionary
prosody(n) ฉันทลักษณ์
versification(n) การแต่งบทกวี, การแต่งโคลงกลอน, ฉันทลักษณ์

Time: 0.5003 secondsLongdo Dict -- https://dict.longdo.com/