37 ผลลัพธ์ สำหรับ *ความหนืด*
หรือค้นหา: ความหนืด, -ความหนืด-

NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
ความหนืด(n) viscosity, Example: เวลาที่ใช้งานได้หลังจากเปิดเครื่องยังมากอยู่เพราะมีความหนืดในการหมุนแผ่นดิสก์ให้เร็วเป็นพันๆ รอบต่อนาที

ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
VI (viscosity index)วีไอ (ดรรชนีความหนืด) [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
viscometer; viscosimeterมาตรความหนืด [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
viscosimeter; viscometerมาตรความหนืด [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
viscosityความหนืด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
viscosityความหนืด [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕]
viscosityความหนืด [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
viscosity index (VI)ดรรชนีความหนืด (วีไอ) [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
viscosity ratingค่าประเมินความหนืด [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕]

คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Viscosityความหนืด, Example: หน่วยวัดความต้านทานภายในของการไหลของของเหลวหรือก๊าซ ความหนืดจะลดลงเมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น [ปิโตรเลี่ยม]
Viscosityความหนืด [TU Subject Heading]
Viscosityความหนืด, Example: หน่วยวัดความต้านทานภายในของการไหลของของเหลว หรือแก๊ส ความหนืดจะลดลงเมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น [สิ่งแวดล้อม]
ดัชนีความหนืดดัชนีความหนืดของน้ำมันหล่อลื่นเป็นตัวบ่งชี้ว่าน้ำมันหล่อลื่นชนิดนี้จะมี ความหนืดเปลี่ยนแปลงไปตามอุณหภูมิอย่างไร ถ้าน้ำมันหล่อลื่นมีค่าดัชนีความหนืดมาก แสดงว่าน้ำมันหล่อลื่นชนิดนี้ความหนืดจะเปลี่ยนแปลงน้อยเมื่ออุณหภูมิเปลี่ยน ในขณะที่น้ำมันหล่อลื่นที่มีค่าดัชนีความหนืดต่ำ แสดงว่าน้ำมันหล่อลื่นชนิดนั้น ความหนืดจะเปลี่ยนแปลงมากเมื่ออุณหภูมิเปลี่ยน น้ำมันที่มีดัชนีความหนืดสูงจะเป็นน้ำมันคุณภาพดี สามารถใช้งานได้ดี แม้มีการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิมาก [ปิโตรเลี่ยม]
Constant viscosity rubberยางธรรมชาติที่มีการเติมสารเคมี เช่น hydroxylamine ลงไปในน้ำยางก่อนที่จะเติมกรดเพื่อทำให้ยางจับตัว สารดังกล่าวจะเข้าไปทำปฏิกิริยากับหมู่อัลดีไฮด์ ป้องกันไม่ให้เกิดพันธะไฮโดรเจนระหว่างโมเลกุลของยางดิบที่เก็บไว้ก่อนนำมา ใช้แปรรูป ทำให้ค่าความหนืดคงที่ ไม่เปลี่ยนแปลงตามระยะเวลาการเก็บรักษา [เทคโนโลยียาง]
Field or Fresh latexน้ำยางธรรมชาติที่ได้จากต้นยางพารา มีลักษณะเป็นของเหลวสีขาวคล้ายน้ำนม มีสภาพเป็นคอลลอยด์หรือสารแขวนลอย มีความหนาแน่นอยู่ระหว่าง 0.975-0.980 กรัมต่อมิลลิลิตร มีค่า pH ประมาณ 6.5-7.0 ความหนืดของน้ำยางมีค่าประมาณ 12-15 เซนติพอยส์ โดยที่จะเติมหรือไม่เติมสารรักษาสภาพ (preservative) ก็ได้ ขึ้นกับระยะเก็บก่อนที่จะนำไปทำให้เข้มข้น หรือไปผ่านกระบวนการอื่นๆ ต่อไป [เทคโนโลยียาง]
Liquid natural rubberยางธรรมชาติเหลวได้จากการนำยางธรรมชาติมาทำให้โมเลกุลของยางเกิดการ สลายตัวตรงตำแหน่งพันธะคู่หรือเป็นกระบวนการตัดสายโซ่โมเลกุลของพอลิไอโซพรี นที่มีน้ำหนักโมเลกุลสูงให้มีน้ำหนักโมเลกุลต่ำลง จนกระทั่งยางมีความหนืดต่ำ สามารถไหลได้ที่อุณหภูมิห้องหรือที่อุณหภูมิต่ำกว่า 100 องศาเซลเซียส สามารถเตรียมได้ทั้งในรูปของน้ำยางและยางแห้ง [เทคโนโลยียาง]
Masticationขั้นตอนการบดให้ยางนิ่ม มักใช้กับยางธรรมชาติเนื่องจากยางธรรมชาติมีน้ำหนักโมเลกุลสูงมาก (ความหนืดสูงมาก) การบดยางให้นิ่มเป็นการทำให้โมเลกุลฉีกขาด น้ำหนักโมเลกุลของยางลดลง (ใช้แรงเฉือน และออกซิเจนในอากาศ) สามารถทำได้โดยการบดยางล้วนๆ หรืออาจเพิ่มประสิทธิภาพในการบดยางได้โดยการเติมเพปไทเซอร์ลงไปเล็กน้อยและ การใช้อุณหภูมิสูง ผลที่ได้ทำให้ยางนิ่มลง เมื่อผสมสารเคมีลงไปจะทำให้สารเคมีนั้นให้เข้าเป็นเนื้อเดียวกับยางได้ง่าย ขึ้น ส่วนยางสังเคราะห์ที่มีการควบคุมน้ำหนักโมเลกุลตั้งแต่ขั้นตอนการสังเคราะห์ ทำให้ความหนืดเริ่มต้นไม่สูงมาก จึงไม่จำเป็นต้องนำมาบดให้นิ่มก่อน [เทคโนโลยียาง]
Mooney viscometerเครื่องมือวัดความหนืดของยางคอมพาวด์หรือยางที่ยังไม่ได้ผ่านกระบวนการ คงรูป นิยมใช้ในอุตสาหกรรมเพื่อควบคุมสมบัติการไหลของยางคอมพาวด์ ค่าความหนืดที่วัดได้จะเรียกว่าความหนืดมูนนี่ Mooney viscosity) วิธีการวัดค่าความหนืดมูนนี่ได้แสดงไว้ในมาตรฐาน ISO 289-1, ASTM D 1646, BS 1673: Part 3 [เทคโนโลยียาง]
Mooney viscosityความหนืดของยางดิบหรือยางคอมพาวด์ ทดสอบด้วยเครื่องวัดความหนืด Mooney viscometer ซึ่งเครื่องวัดดังกล่าวมีจานโลหะหมุนอยู่ในห้องใส่ยางภายใต้อุณหภูมิและความ ดันตามที่กำหนดไว้ การหมุนของจานโลหะในยางทำให้เกิดแรงบิด (torque) ขึ้น และจะขับให้สปริงรูปตัวยูเกิดการเคลื่อนที่ ใช้ไมโครมิเตอร์วัดขนาดการเคลื่อนที่ให้ออกมาเป็นมาตรที่เรียกว่า Mooney Viscosity เช่น 50 ML 1+4 (100C) 50 หมายถึง ค่าความหนืดที่วัดได้ในหน่วยมูนนี่ M หมายถึง Mooney L หมายถึง จานหมุนขนาดใหญ่ (ถ้าใช้จานหมุนขนาดเล็กให้ใช้อักษร S) 1 หมายถึง ระยะเวลาที่ใช้ในการอุ่นยางก่อนทดสอบ เป็นนาที 4 หมายถึง เวลาที่ใช้ในการทดสอบ เป็นนาที 100 degree C หมายถึง อุณหภูมิที่ใช้ในการทดสอบ [เทคโนโลยียาง]
Non-reinforcing or inert fillerสารตัวเติมไม่เสริมแรงหรือสารตัวเติมเฉื่อย คือ สารตัวเติมที่เติมลงไปในยางแล้วทำให้ความหนืดของยางเพิ่มขึ้นเล็กน้อย แต่ทำให้สมบัติเชิงกลต่างๆ ของยางคงรูปด้อยลงหรือเปลี่ยนแปลงไปเพียงเล็กน้อย ตัวอย่างสารตัวเติมไม่เสริมแรง ได้แก่ ทัลคัม แคลเซียมคาร์บอเนต และดินขาว [เทคโนโลยียาง]
Peptizerสารช่วยในกระบวนการผลิตที่เติมลงไปในยางเพื่อลดความหนืดของยาง โดยการย่อยหรือตัดโมเลกุลของยางโดยทางเคมี (chemical scission) ในขั้นตอนการบดยาง (mastication) ช่วยลดเวลาในการบดยางและทำให้ประหยัดพลังงานในกระบวนการผสมมากขึ้น [เทคโนโลยียาง]
Processing aidสารช่วยในกระบวนการผลิต คือ สารตัวเติมที่ใส่ลงไปในยางเพื่อช่วยให้กระบวนการผลิตในขั้นตอนต่างๆ เช่น การผสม (mixing) หรือการขึ้นรูป (shape forming) เป็นไปได้ง่ายยิ่งขึ้น สารบางตัวในกลุ่มนี้ช่วยลดความหนืดของยางคอมพาวด์ ทำให้ยางไหลได้ง่ายยิ่งขึ้น จึงลดระยะเวลาและพลังงานที่ใช้ในการผลิต [เทคโนโลยียาง]
Softenerสารทำให้ยางนิ่ม คือ วัสดุที่เติมลงไปในยางปริมาณเล็กน้อยแล้วทำให้ความแข็งของยางผสมหรือยางคง รูปลดลงหรือทำให้กระบวนการผลิตเป็นไปได้ง่ายขึ้น (ปรับความหนืดของยางให้ลดลง ทำให้ยางไหลได้ง่ายขึ้น) หรือทำให้สารตัวเติมสามารถเข้าไปผสมกับยางได้ง่ายยิ่งขึ้น [เทคโนโลยียาง]
Storage hardeningปรากฏการณ์ที่ความหนืดของยางดิบหรือยางที่ยังไม่ได้ผ่านการคงรูปเพิ่ม ขึ้นระหว่างการเก็บ เนื่องจากหมู่อัลดีไฮด์ (aldehyde group) ที่มีอยู่ในยางธรรมชาติเข้าไปทำปฏิกิริยาควบแน่นกัน เกิดเป็นโครงสร้างสามมิติที่มีการเชื่อมโยง (crosslink) ระหว่างโมเลกุลยางมีผลทำให้ยางแข็งขึ้น [เทคโนโลยียาง]
Styrene-butadiene rubberยางเอสบีอาร์เป็นยางสังเคราะห์ชนิดหนึ่งซึ่งผลิตโดยการเตรียมโคพอลิ เมอร์ระหว่างสไตรีนและบิวทาไดอีนด้วยวิธีพอลิเมอไรเซชั่นแบบอิมัลชัน (Emulsion polymerization) มีชื่อเรียกว่า Buna-S (สมัยสงครามโลกครั้งที่ 1) และ GR-S (สมัยสงครามโลกครั้งที่ 2) เป็นยางที่ใช้ในงานทั่วไป ราคาไม่แพง มีหลายเกรดขึ้นกับกระบวนการสังเคราะห์ ยางเอสบีอาร์เมื่อเปรียบเทียบกับยางธรรมชาติจะมีคุณภาพสม่ำเสมอกว่า มีสิ่งเจือปนน้อยกว่า และที่สำคัญคือ ไม่ต้องบดยางให้นิ่มก่อนทำการผสมเคมียางเนื่องจากยางชนิดนี้ถูกสังเคราะห์มา ให้มีน้ำหนักโมเลกุลที่ไม่สูงมากนัก จึงมีความหนืดที่เหมาะสมทำให้สารเคมีกระจายตัวได้ดี ไหลได้ง่ายในระหว่างการขึ้นรูป มีแนวโน้มที่จะเกิดยางตายในระหว่างกระบวนการผลิตน้อยกว่า มีอัตราเร็วในการคงรูปช้ากว่าและถูกออกซิไดซ์ได้ช้ากว่ายางธรรมชาติ ทำให้สามารถผสมยางในเครื่องผสมระบบปิดที่อุณหภูมิสูงกว่าได้ แม้ว่ายางเอสบีอาร์จะมีค่าความทนต่อแรงดึงและความทนต่อการฉีกขาดต่ำกว่ายาง ธรรมชาติ เนื่องจากไม่สามารถเกิดการตกผลึกได้เมื่อถูกยืด แต่ถ้ามีการเติมสารตัวเติมเสริมแรงลงไปก็สามารถทำให้ค่าดังกล่าวสูงใกล้ เคียงหรือต่ำกว่ายางธรรมชาติเพียงเล็กน้อย สามารถนำไปใช้งานได้หลากหลาย เช่น การผลิตสายพาน พื้นรองเท้า ฉนวนหุ้มสายไฟ และส่วนมากจะถูกนำไปใช้ในอุตสาหกรรมผลิตยางล้อยานพาหนะขนาดเล็กโดยใช้ผสมกับ ยางชนิดอื่นๆ เช่น ยางธรรมชาติ ยางบิวทาไดอีน [เทคโนโลยียาง]
Blood Viscosityเลือด, ความหนืด;ความหนืดของเลือด [การแพทย์]
Capillary Viscometersเครื่องวัดความหนืดชนิดอาศัยการไหลของของเหลวผ่าน [การแพทย์]
Coefficient of Viscosityสัมประสิทธิ์ของความหนืด [การแพทย์]
Falling Drop Testการทดสอบความหนืด [การแพทย์]
kinematic viscositykinematic viscosity, ความหนืดจลน์ [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ]
viscosimeterviscosimeter, เครื่องวัดความหนืด [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ]
Gelling Agentsสารเพิ่มความหนืด [การแพทย์]
Inertial Workงานจากความหนืด [การแพทย์]

Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
ความหนืด[khwām neūt] (n) EN: viscosity  FR: viscosité [ f ]

NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
viscosity(n) ความเหนียว, See also: ความหนืด, หน่วยวัดความหนืด, Syn. thickness, consistency
viscousness(n) ความเหนียว, See also: ความหนืด, Syn. thickness, consistency

Hope Dictionary
viscosity(วิสคอส'ซิที) n. ความเหนียว, ความหนืด, หน่วยวัดความหนืด

Time: 0.7524 secondsLongdo Dict -- https://dict.longdo.com/