Drug stability | ความคงตัวของยา [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Cerebral Palsy | สมองพิการ, กลุ่มอาการที่เกิดจากความผิดปกติหรือมีพยาธิสภาพเกิดขึ้นกับสมองส่วนที่ควบคุมการเคลื่อนไหว ทำให้ผู้พิการไม่สามารถควบคุมการเคลื่อนไหวของร่างกายได้ สภาพพิการที่เกิดขึ้นจะเป็นแบบคงตัว และเกิดขึ้นในช่วงระยะเวลาที่ยังมีการเจริญเติบโตของสมองอยู่ คือ ตั้งแต่อยู่ในครรภ์มารดาจนไปถึงระยะที่สมองมีการเจริญเติบโตเต็มที่ โดยทั่วไปถือเกณฑ์ไม่เกิน ๘ ขวบ [Assistive Technology] |
Drug stability | ความคงตัวของยา [TU Subject Heading] |
Antibodies | แอนติบอดีย์จำเพาะ, อิมมูนแอนติบอดี้, แอนตี้บอดี้, แอนติบอดีย์ที่ไม่คงตัว, สิ่งต่อต้าน, ภูมิต่อต้านโรค, ภูมิคุ้มกัน, แอนติบอดี, แอนติบอดี้, ภูมิต้านทาน, สารต่อต้านโรค, แอนติบอดีย์, สารแอนติบอดีย์, แอนติโบดี, แอนตีบอดี, ความต้านทาน, แอนติบอดี้, แอนตี้โบดี้, สารต่อต้าน, ภูมิคุ้มกันโรค, แอนติบอดี, ภูมิคุ้มกันร่างกาย, ภูมิคุ้มกันโรค [การแพทย์] |
Chemical Stability | ความคงตัวทางเคมี [การแพทย์] |
Colloid Stability | ความคงตัวของระบบคอลลอยด์ [การแพทย์] |
Complex, Stable | สารเชิงซ้อนที่เสถียร, สารเชิงซ้อนที่คงตัว [การแพทย์] |
Compounds, Stable | สารประกอบคงตัว [การแพทย์] |
Dielectric Constant | สารที่มีค่าคงที่ไดอิเล็กตริก, ไดอิเล็กตริกคอนสแตนต์, ค่าคงตัวไดอีเลคตริค [การแพทย์] |
Droplets, Stabilization of | การทำให้หยดเล็กๆมีความคงตัว [การแพทย์] |
Drug Stability | ยา, ความคงตัว [การแพทย์] |
Emulsions, Stability of | ความคงตัวของอิมัลชั่น [การแพทย์] |
Fastness Properties | คุณสมบัติความคงตัว [การแพทย์] |
Fastness, Excellent | ความคงตัวของสีดีเยี่ยม [การแพทย์] |
Fastness, Fair | ความคงตัวดีพอใช้ [การแพทย์] |
Fastness, Good | ความคงตัวดี [การแพทย์] |
Fastness, Moderate | ความคงตัวของสีดีปานกลาง [การแพทย์] |
Fastness, Poor | ความคงตัวของสีไม่ดี [การแพทย์] |
Fastness, Very Good | ความคงตัวของสีดีมาก [การแพทย์] |
Fastness, Very Poor | ความคงตัวของสีไม่ดีมาก [การแพทย์] |
stem cell lines | stem cell lines, หมายถึงเซลล์ที่มีความคงตัวในด้านพันธุกรรม และไม่สามารถพัฒนาเป็นตัวเต็มวัยได้ [ชีวจริยธรรม] |
inverse variation | การแปรผกผัน, การแปรผกผัน เมื่อ x และ y แทนปริมาณใด ๆ y แปรผกผันกับ x เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ หมายถึง เมื่อ k เป็นค่าคงตัวและ k ¹ 0 [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
joint variation | การแปรผันเกี่ยวเนื่อง, เมื่อ x, y และ z แทนปริมาณใด ๆ x แปรผันเกี่ยวเนื่องกับ y และ z แทนด้วยสัญลักษณ์ หมายถึง เมื่อ k เป็นค่าคงตัวและ k ¹ 0 [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
direct variation | การแปรผันตรง, เมื่อ x และ y แทนปริมาณใด ๆ y แปรผันโดยตรงกับ x เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ หมายถึง เมื่อ k เป็นค่าคงตัวและ k [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
step function | ฟังก์ชันขั้นบันได, ฟังก์ชันที่มีค่าคงตัวเป็นช่วง ๆ และกราฟของฟังก์ชันมีลักษณะคล้ายขั้นบันได [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
constant function | ฟังก์ชันคงตัว, ฟังก์ชันที่เขียนได้ในรูป f(x) = c เมื่อ c เป็นจำนวนจริง [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
absolute value function | ฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์, ฟังก์ชันที่อยู่ในรูปค่าสัมบูรณ์ เช่น f(x) = |x - c| เมื่อ c เป็นค่าคงตัวใด ๆ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
algebraic function | ฟังก์ชันพีชคณิต, ฟังก์ชันที่ค่าของฟังก์ชัน เขียนในรูปสัญลักษณ์ทางพืชคณิต ที่ประกอบด้วยค่าคงตัว ตัวแปร และเครื่องหมาย บวก ลบ คูณ หาร กรณฑ์ กำลัง เช่น y = 2x + 1 เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
method of least-square | วิธีกำลังสองน้อยสุด, วิธีการประมาณค่าของจำนวนคงตัวซึ่งปรากฏอยู่ในสมการที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร โดยอาศัยหลักที่ว่า สมการที่สร้างขึ้นจะดีที่สุด ถ้าผลรวมของกำลังสองของความแตกต่างระหว่างค่าที่ได้จากความสัมพันธ์เชิงฟิงก์ชันที่สร้างขึ้น กับค่าที่เกิดขึ้นจริงทุก ๆ ค่า มีค่า [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
geometric sequence [ geometric progression ] | ลำดับเรขาคณิต, ลำดับที่อัตราส่วนร่วมระหว่างพจน์ที่ n + 1 กับพจน์ที่ n มีค่าคงตัว เช่น ลำดับ 1, 2, 4, 8, [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
arithmetic progression (A.P.) [ arithmetic sequence ] | ลำดับเลขคณิต, ลำดับที่มีผลต่างร่วมคงตัว เช่น 2, 4, 6, 8, ... เป็นลำดับเลขคณิต และมีผลต่างร่วมคือ 2 [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
ellipse | วงรี, เซตของจุดทุกจุดในระนาบซึ่งผลบวกของระยะทางจากจุดใด ๆ ในเซตนี้ไปยังจุดคงที่สองจุด มีค่าคงตัว จุดคงที่ทั้งสองนี้เรียกว่า โฟกัส ดูรูปประกอบ F1, F2 คือโฟกัสของวงรี [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
normal equation | สมการปรกติ, สมการที่หาได้โดยระเบียบวิธีกำลังสองน้อยที่สุดและมีจำนวนสมการเท่ากับจำนวนค่าคงตัวที่ต้องการหา [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
coefficient | สัมประสิทธิ์, จำนวนหรือสัญลักษณ์ที่มีค่าคงตัวซึ่งเป็นตัวคูณของตัวแปรใด ๆ เช่น 2x มี 2 เป็นสัมประสิทธิ์ของ x [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
monomial | เอกนาม, จำนวนที่สามารถเขียนให้อยู่ในรูปของการคูณของจำนวนคงตัวใด ๆ กับตัวแปรตั้งแต่หนึ่งตัวขึ้นไป โดยที่กำลังของตัวแปรแต่ละตัวเป็นศูนย์หรือจำนวนเต็มบวก [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
hyperbola | ไฮเพอร์โบลา, เซตของจุดทุกจุดในระนาบ ซึ่งผลต่างของระยะทางจากจุดใด ๆ ในเซตไปยังจุดคงที่(จุดโฟกัส) 2 จุด บนระนาบมีค่าคงตัว ซึ่งมากกว่าศูนย์ แต่น้อยกว่าระยะห่างระหว่างจุดคงที่ทั้งสอง ดูรูป [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
dynamic equilibrium | สมดุลไดนามิก, สมดุลจลน์, 1. เคมี: ภาวะสมดุลซึ่งยังคงมีทั้งการเปลี่ยนแปลงไปข้างหน้าและการเปลี่ยนแปลงย้อนกลับเกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลา 2. ฟิสิกส์: สมดุลของวัตถุที่เคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัว หรือ หมุนโดยมีความเร็วเชิงมุมคงตัว [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
law of conservation of mechanical energy | กฎการอนุรักษ์พลังงานกล, กฎเกี่ยวกับพลังงานกลของวัตถุ ซึ่งกล่าวว่า พลังงานกลรวมของวัตถุมีค่าคงตัวเสมอ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
law of conservation of momentum | กฎการอนุรักษ์โมเมนตัม, กฎเกี่ยวกับโมเมนตัมของวัตถุซึ่งกล่าวว่า เมื่อไม่มีแรงลัพธ์ใด ๆ มากระทำต่อระบบแล้ว ผลรวมของโมเมนตัมของระบบจะมีค่าคงตัว เช่น เมื่อวัตถุชนกัน ผลรวมของโมเมนตัมวัตถุก่อนการชนจะเท่ากับผลรวมของโมเมนตัมของวัตถุภายหลังการชน [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Coulomb's law | กฎของคูลอมบ์, กฎของคูลอมบ์ กฎที่ว่าด้วยแรงกระทำระหว่างประจุสองประจุอาจเป็นแรงดูดหรือแรงผลัก ซึ่งเป็นไปตามสูตร เมื่อ F เป็นแรงกระทำระหว่างประจุ Q1 และ Q2 เป็นค่าของประจุ R เป็นระยะทางระหว่างประจุ และ K เป็นค่าคงตัว [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Charles' law | กฎของชาร์ล, กฎที่ว่าด้วยความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิและปริมาตรของแก๊สในภาชนะปิด คือ เมื่อความดันคงตัวปริมาตรของแก๊สจะเป็นปฏิภาคตรงกับอุณหภูมิสัมบูรณ์ของแก๊ส [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
inertial frame of reference | กรอบอ้างอิงเฉื่อย, กรอบอ้างอิงซึ่งอยู่นิ่งหรือเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัวสัมพัทธ์กับโลก [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
latent heat | ความร้อนแฝง, ปริมาณความร้อนที่สารให้หรือรับไว้เพื่อใช้ในการเปลี่ยนสถานะ โดยที่สารนั้นมีอุณหภูมิคงตัว ความร้อนแฝงที่ใช้ในการเปลี่ยนสถานะของสารหนึ่งหน่วยมวลเรียกว่า ความร้อนแฝงจำเพาะ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
decay constant | ค่าคงตัวการสลาย, ความน่าจะเป็นหรือโอกาสที่นิวเคลียสกัมมันตรังสีจะสลายได้ใน 1 หน่วยเวลา เป็นค่าคงตัวสำหรับธาตุกัมมันตรังสีหนึ่ง ๆ ใช้สัญลักษณ์ λ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
gas constant | ค่าคงตัวแก๊ส, ค่าคงตัวสำหรับแก๊สทุกชนิด ใช้สัญลักษณ์ R โดย R = 8.314 JK-1mol-1 [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Planck's constant | ค่าคงตัวของพลังค์, ค่าคงตัวสากลใช้สัญลักษณ์ h มีค่าเท่ากับ 6.261 x 10-34 จูลวินาที [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Boltzmann constant | ค่าคงตัวโบลต์ซมันน์, ค่าคงตัวสากลค่าหนึ่งซึ่งใช้ในการศึกษาเกี่ยวกับทฤษฎีจลน์ของแก๊ส ใช้สัญลักษณ์ kB มีค่า 1.3806 x 10-23JK-1 [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
spring constant | ค่าคงตัวสปริง, แรงที่ทำให้สปริงยืดหรือหดต่อหนึ่งหน่วยระยะทาง [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
universal gravitation constant | ค่าคงตัวโน้มถ่วงสากล, ค่าคงตัวของแรงดึงดูดระหว่างมวล เป็นค่าเดียวกันเสมอไม่ว่าวัตถุที่ดึงดูดกันจะเป็นวัตถุใดๆ ก็ตามในเอกภพซึ่งมีค่าเท่ากับ 6.67 x 10-11 นิวตัน เมตร2 กิโลกรัม-2 [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
quantum theory | ทฤษฎีควอนตัม, ทฤษฎีของพลังค์ที่อธิบายการแผ่รังสีของวัตถุร้อนในลักษณะเดียวกับการแผ่รังสีของวัตถุดำ ตามทฤษฎีนี้ พลังงานจะถูกปล่อยออกมาเป็นควอนตัม แต่ละควอนตัมมีค่าเท่ากับผลคูณของความถี่ของรังสีที่แผ่ออกมากับค่าคงตัวของพลังค์ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |