ขาลาก | ว. อาการที่เดินยกขาไม่ขึ้น. |
ขาล | (ขาน) น. ชื่อปีที่ ๓ ของรอบปีนักษัตร มีเสือเป็นเครื่องหมาย |
ขาล | เสือ. |
ขึ้นเขาลงห้วย | ก. ลำบากสมบุกสมบัน เช่น ชีวิตของฉันไม่ได้สะดวกสบาย ต้องขึ้นเขาลงห้วยมาตลอด |
ขึ้นเขาลงห้วย | ไป (ใช้ในความประชด) เช่น จะขึ้นเขาลงห้วยที่ไหนก็ไป ฉันไม่สนใจแล้ว. |
ขี้ปาก | คนสำหรับเขาล้อด่าว่าและติเตียน. |
เขา ๓ | น. ชื่อนกขนาดกลางหลายชนิดหลายสกุล ในวงศ์ Columbidae ปากสั้นตรงปลายโค้งเล็กน้อย ขนลำตัวสีเทาหรือเทาอมน้ำตาล ขนปีกมีลาย ขาสีชมพู มักอยู่เป็นคู่หรือเป็นฝูง กินเมล็ดพืชบนพื้นดิน ในประเทศไทยมีหลายชนิด เช่น เขาใหญ่หรือเขาหลวง [ Streptopelia chinensis (Scopoli) ] เขาลายเล็ก [ Macropygia ruficeps (Temminck) ] เขาเขียว [ Chalcophaps indica (Linn.) ] เขาชวาหรือเขาเล็ก [ Geopelia striata (Linn.) ] . |
ชะตาชีวิต | น. ความเป็นไปในชีวิตที่เชื่อว่าถูกกำหนดไว้แล้ว เช่น ชะตาชีวิตเขาลุ่ม ๆ ดอน ๆ มาตลอด, ความเป็นไปในชีวิต เช่น พ่อแม่บางคนชอบกำหนดชะตาชีวิตลูก. |
ชั้นฉาย | น. ชื่อหน่วยในมาตราวัดเวลาในสมัยโบราณ วัดโดยอาศัยการวัดเงาของตัวคนที่เกิดจากแสงแดดด้วยระยะความยาวของฝ่าเท้าของบุคคลนั้น ตอนเช้าหรือเย็นเงาจะทอดยาว และตอนเที่ยงเงาจะสั้นที่สุดหรืออาจไม่มีเลย เงาจะเปลี่ยนสั้นยาวได้จากเดือนหนึ่งไปสู่อีกเดือนหนึ่ง, เงายาว ๑ ฝ่าเท้า เรียกว่า ๑ ชั้นฉาย สามารถเทียบเวลาได้ ถ้าเป็นตอนเช้าเท่ากับ ๑๑.๔๕ นาฬิกา ถ้าเป็นตอนบ่ายเท่ากับ ๑๒.๑๕ นาฬิกา เช่น ปีขาลวันอังคารเดือนห้า ตกฟากเวลาสามชั้นฉาย (ขุนช้างขุนแผน). |
โดด ๒, โดด ๆ | ว. อันเดียวเด่น เช่น เขาลูกนี้ตั้งอยู่โดด ๆ ปืนลูกโดด. |
ทั้งที่, ทั้ง ๆ ที่ | ว. ในขณะที่ เช่น เขาออกจากบ้านไปทั้งที่ฝนกำลังตก เขาลาออกทั้ง ๆ ที่หน้าที่การงานกำลังเจริญก้าวหน้า. |
นักษัตร ๒ | (นักสัด) น. ชื่อรอบเวลา กำหนด ๑๒ ปี เป็น ๑ รอบ เรียกว่า ๑๒ นักษัตร โดยกำหนดให้สัตว์เป็นเครื่องหมายในปีนั้น ๆ คือ ชวด–หนู ฉลู–วัว ขาล–เสือ เถาะ–กระต่าย มะโรง–งูใหญ่ มะเส็ง–งูเล็ก มะเมีย–ม้า มะแม–แพะ วอก–ลิง ระกา–ไก่ จอ–หมา กุน–หมู. |
ยี่ ๒ | น. ปีขาล. |
ลงทุน | ก. นำเงินหรือทรัพย์สินเป็นทุนเพื่อประกอบธุรกิจ, โดยปริยายหมายความว่า ยอมทำสิ่งที่ยากและไม่น่าจะทำได้ เช่น เขาลงทุนโกนหัวแสดงละคร. |
ล้มลุกคลุกคลาน | ก. หกล้มหกลุก เช่น ฝนตกหนักถนนเป็นโคลน เขาต้องวิ่งหนีฝนล้มลุกคลุกคลานไปตลอดทาง สะดุดตอไม้ล้มลุกคลุกคลาน, โดยปริยายหมายความว่า ซวดเซ, ไม่มั่นคง, ตั้งตัวไม่ติด, เช่น ชีวิตของเขาต้องล้มลุกคลุกคลานอยู่ตลอดเวลา เขาล้มลุกคลุกคลานมาหลายปีกว่าจะตั้งตัวได้. |
ล้มหมอนนอนเสื่อ | ก. ป่วยจนต้องนอนรักษาตัว เช่น เขาล้มหมอนนอนเสื่อเสียหลายวัน. |
ล่วงลับ | ก. ตาย เช่น เขาล่วงลับไปแล้ว. |
ล่อหน้า | ก. โผล่หน้ามาพอให้เห็น เช่น มีการมีงานเขาล่อหน้ามาเดี๋ยวเดียวก็ไป. |
ล่อง | ว. อาการที่แล่นไปตามทางจากเหนือลงใต้ เช่น รถล่อง ขาล่อง. |
ลอม | อาการที่โค้งเข้าหากันเป็นวง เช่น ควายเขาลอม, รอม ก็ว่า. |
ละโลก | ก. ตาย เช่น เขาละโลกไปแล้ว. |
ลับกาย, ลับตัว | ว. เพิ่งออกไปหยก ๆ เช่น เขาเพิ่งเดินลับกายไป เขาลับตัวไปเมื่อกี้นี้เอง. |
ลาโรง | ก. เลิกการแสดงมหรสพ เช่น โขน ละคร ลิเกครั้งหนึ่ง ๆ, (ปาก) เลิกกิจการหรืองานที่เคยทำมา เช่น เขาลาโรงจากการเมืองแล้ว. |
ลีบ | มีเนื้อไม่สมบูรณ์เท่าที่ควร เช่น ขาลีบ แขนลีบ |
ลื่น | ก. เคลื่อนที่ไปบนพื้นที่มีความฝืดน้อยด้วยความเร็วจนควบคุมหรือยั้งไม่ได้ เช่น เขาลื่นหกล้ม ลูกแก้วลื่นไปตามราง, ลื่นไถล ก็ว่า. |
ลื่นไถล | ก. เคลื่อนที่ไปบนพื้นที่มีความฝืดน้อยด้วยความเร็วจนควบคุมหรือยั้งไม่ได้ เช่น เขาลื่นไถลไปตามทางที่ลาดชัน, ลื่น ก็ว่า. |
ลืม | ก. หายไปจากความจำ, นึกไม่ได้, นึกไม่ออก, เช่น เขาลืมความหลัง ลืมชื่อเพื่อน, ระลึกไม่ได้เพราะขาดความเอาใจใส่เป็นต้น เช่น ลืมทำการบ้าน ลืมรดน้ำต้นไม้. |
ลืมตัว | ก. ขาดสติไปชั่วคราว, เผลอตัวไปชั่วคราว, เช่น เวลาโกรธเขาลืมตัวไม่กลัวตาย |
ลืมตัว | ลืมตน, ขาดความระลึกถึงฐานะเดิมของตน, เช่น เมื่อเป็นใหญ่เป็นโตขึ้นมา มีคนประจบสอพลอมาก ทำให้เขาลืมตัว. |
ลืมตาอ้าปาก, ลืมหน้าอ้าปาก | ก. มีฐานะดีขึ้นกว่าเดิมพอทัดเทียมเพื่อน เช่น เดี๋ยวนี้เขาลืมตาอ้าปากได้แล้ว เขาลืมหน้าอ้าปากได้แล้ว, เงยหน้าอ้าปาก ก็ว่า. |
ลือ | ก. พูดกันทั่วไป แต่ยังไม่มีอะไรยืนยันได้แน่นอน เช่น เขาลือว่าจะเกิดเหตุที่ท่าน้ำ, (โบราณ ใช้ ฦๅ). |
วงกต | น. ชื่อภูเขาลูกหนึ่งในเรื่องมหาเวสสันดรชาดก ซึ่งมีทางเข้าออกวกวนอาจทำให้หลงทางได้, เรียกสั้น ๆ ว่า เขาวงก์ ก็มี, เรียกสิ่งที่ทำคล้ายคลึงเช่นนั้นในงานเทศน์มหาชาติหรืองานรื่นเริงอื่น ๆ เพื่อความสนุก ว่า เขาวงกต, โดยปริยายหมายถึงวกวนหาทางออกไม่ได้. |
สิ้นเนื้อประดาตัว | ว. ไม่มีทรัพย์สมบัติเหลือติดตัว เช่น เขากลายเป็นคนสิ้นเนื้อประดาตัวเพราะหมกมุ่นในการพนัน กิจการค้าของเขาล้มเหลวจนสิ้นเนื้อประดาตัว. |
เสมอตัว | ว. ไม่ได้ไม่เสีย, ไม่ขาดทุน, เช่น เขาลงทุนครั้งนี้มีแต่เสมอตัว ไม่มีหวังได้กำไร. |
หลุด | ลืมบท ไม่สามารถเล่นต่อไปได้ (ใช้ในการร้องเพลงและเล่นละคร) เช่น เขาลืมท่องบท เลยหลุดบท |
ไหล่เขา | น. ส่วนของเขาที่ถัดยอดเขาลงมา. |
อัฐศก | น. เรียกปีจุลศักราชที่ลงท้ายด้วยเลข ๘ เช่น ปีขาล อัฐศก จุลศักราช ๑๓๔๘. |
amphitheater | (แอม' ฟิเธียเทอะ) n. อาคารรูปครึ่งวงกลม, โรงละครหรือมหรสพรูปครึ่งวงกลม, ห้องใหญ่ที่มีที่นั่งจัดเป็นรูปครึ่งวงกลม, ที่ดินเว้ารูปโค้ง.อัฒจันทร์, ที่มีเขาล้อมรอบ. -amphitheatric (al) adj. |
canyon | (แคน'เยิน) n. หุบเขาลึก, Syn. ravine |
clough | (คลัฟ) n. หุบเขาที่แคบ, หุบเขาลึก, ห้วยลึก |
gap | (แกพ) n. ช่องว่าง, ปากโหว่, ช่องห่าง, ความแตกต่าง, ความไม่เหมือนกัน, หุบเขาลึก, ห้วยลึก. vt. ทำให้เกิดช่องว่าง |
gully | (กัล'ลี) n. ห้วยลึก, หุบเขาลึก, ลำธาร, ท่อน้ำรวม, รางน้ำชายคา vt. ทำท่อน้ำรวม, ทำรางน้ำชายคา, ทำร่องน้ำ, Syn. channel |
hill | (ฮิล) n. เนินเขา, ภูเขาลูกเล็ก ๆ , เขาเตี้ย ๆ -Phr. (over the hill ผ่านพ้นสมัยรุ่งเรืองหรือสมัยมีอำนาจ) . vt. ล้อมรอบเนินเขา, กลายเป็นเนิน |
kloof | (คลูฟ) n. หุบเขาลึก |
ravine | (ระวีน') n. หุบเขาลึก (มักมีลำธาร) ห้วยลึก |
vale | (เวล) n. หุบเขา, หุบเขาลำธาร |
valley | (แวล'ลี) n. หุบเขา, หุบเขาลำธาร, ห้วยเขา, หว่างเขา, แอ่งลึก., Syn. dale, dell |