Laser welding | การเชื่อมเลเซอร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Welding | การเชื่อม [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Gas metal are welding | การเชื่อมอาร์กโลหะก๊าซคลุม [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
topology | รูปแบบการเชื่อมต่อ, Example: ลักษณะการนำคอมพิวเตอร์มาเชื่อมต่อกันให้เป็นระบบเครือข่าย โดยดูว่าเป็นการเชื่อมต่อสถานีงานหลายเครื่องเข้าสู่คอมพิวเตอร์แม่ข่ายเครื่องเดียวกันเรียกว่า เป็นรูปแบบดาว (star network) ถ้าเชื่อมต่อสถานีงานและข่ายงานต่อๆกันไปเป็นวงกลม ก็เรียกว่ารูปแบบวงแหวน (ring network) หรือเชื่อมต่อโดยให้มีสายเคเบิลหลักหนึ่งเส้นเดินเป็นกระดูกสันหลัง แล้วนำสถานีงาน และเครื่องแม่ข่ายมาเกาะกับสายเคเบิลหลักนี้ก็เรียกว่าเป็นรูปแบบบัส (bus network) [คอมพิวเตอร์] |
Cohesion (Linguistics) | การเชื่อมโยงข้อความ (ภาษาศาสตร์) [TU Subject Heading] |
Electric welding | การเชื่อมไฟฟ้า [TU Subject Heading] |
Free space optical interconnects | ช่องว่างในการเชื่อมต่อเชิงแสง [TU Subject Heading] |
Gas metal arc welding | การเชื่อมอาร์กโลหะก๊าซคลุม [TU Subject Heading] |
Intertextuality | การเชื่อมโยงเนื้อหา [TU Subject Heading] |
Laser welding | การเชื่อมเลเซอร์ [TU Subject Heading] |
Optical interconnects | การเชื่อมต่อเชิงแสง [TU Subject Heading] |
Programmable peripheral interfaces | การเชื่อมต่ออุปกรณ์ที่สามารถโปรแกรมได้ [TU Subject Heading] |
Welding ; Weldability | การเชื่อม [TU Subject Heading] |
Ayeyawady - Chao Phraya - Mekong Economic Cooperation Strategy | ยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ อิระวดี ? เจ้าพระยา ? แม่โขง ACMECS หรือชื่อเดิม ยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างกัมพูชา ลาว พม่า และไทย (ECS : Economic Cooperation Strategy among Cambodia, Lao PDR, Myanmar and Thailand) คือ กรอบความร่วมมือระหว่าง 5 ประเทศ คือ กัมพูชา ลาว พม่า ไทย และเวียดนาม ACMECS เป็นแนวคิดที่ พ.ต.ท. ดร. ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีได้หยิบยกขึ้นหารือกับผู้นำกัมพูชา ลาว และพม่า ในช่วงการประชุมผู้นำอาเซียนสมัยพิเศษว่าด้วยโรค SARS เมื่อ 29 เมษายน 2546 ที่กรุงเทพฯ และได้มีพัฒนาการอย่างรวดเร็วต่อเนื่องจนถึงการประชุมระดับผู้นำ ACMECS ครั้งที่ 1 ที่เมืองพุกาม สหภาพพม่า เมื่อ 12 พฤศจิกายน 2546 โดยผู้นำทั้ง 4 ประเทศร่วมกันออกปฏิญญาพุกาม (Bagan Declaration) รวมทั้งแผนปฏิบัติการ (Plan of Action) ครอบคลุมความร่วมมือ 5 สาขา ได้แก่ การอำนวยความสะดวกด้านการค้าและการ ลงทุน ความร่วมมือทางด้านเกษตรและอุตสาหกรรม การเชื่อมโยงเส้นทางคมนาคม การท่องเที่ยว และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ บนหลักการที่เน้นการส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างยั่งยืนและยกระดับความ เป็นอยู่ของประชาชน รวมทั้งเปิดกว้างให้นานาประเทศและองค์การระหว่างประเทศได้มีส่วนร่วมเป็น หุ้นส่วนเพื่อการพัฒนา (Development Partner) ในโครงการต่างๆ ของ ACMECS ด้วย * เวียดนามร่วมเป็นสมาชิก ACMECS เมื่อ 10 พฤษภาคม 2547 สถานะล่าสุด ระหว่างวันที่ 1-2 พฤศจิกายน 2547 ที่จังหวัดกระบี่ ไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมระดับเจ้าหน้าที่อาวุโสสมัยพิเศษและการประชุม รัฐมนตรี ACMECS อย่างไม่เป็นทางการ รวมทั้งการประชุมร่วมกับ Development Partners (ผู้แทนจากออสเตรเลีย ฝรั่งเศส เยอรมนี ญี่ปุ่น นิวซีแลนด์ และธนาคารเพื่อการพัฒนาแห่งเอเชีย) ซึ่งการประชุมประสบผลสำเร็จอย่างดียิ่ง สมาชิก ACMECS ทั้ง 5 ประเทศได้ร่วมกันแสดงความเป็น เอกภาพ โดยยืนยันเจตนารมณ์ที่จะดำเนินการตามกรอบความร่วมมือ ACMECS อย่าง เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันต่อผู้แทนของ Development Partners รวมทั้งมีการหารือถึงความคืบหน้าของการดำเนินโครงการระหว่างกันอย่างเป็น รูปธรรม นอกจากนี้ ยังสามารถมีข้อสรุปที่สำคัญๆ เกี่ยวกับกลไกการประสานงานระหว่างกันซึ่งจะช่วยให้การดำเนินกิจกรรมความร่วม มือของ ACMECS มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นต่อไป * ไทยมีกำหนดเป็นเจ้าภาพจัดประชุมระดับผู้นำ ACMECS ครั้งที่ 2 ในเดือนธันวาคม 2548 ที่กรุงเทพฯ [การทูต] |
Peacebuilding Commission | คณะกรรมาธิการเสริมสร้างสันติภาพ จัดตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2548 เพื่อให้คำปรึกษาเรื่องการเสวริมสร้างสันติภาพในกรอบสหประชาชาติแก่ประเทศ ที่เพิ่งผ่านพ้นความขัดแย้ง รวมทั้งเป็นตัวกลางในการเชื่อมต่อระหว่างกระบวนการสร้างสันติภาพ (peace enforcement) การรักษาสันติภาพภาพ (peacekeeping) และการเสริมสร้างสันติภาพ (peacebuilding) [การทูต] |
Plan Puebla-Panama | สมาชิก เม็กซิโก เบลิซ กัวเตมาลา ฮอนดูรัส เอลซัลวาดอร์ นิการากัว คอสตาริกา และปานามา วัตถุประสงค์ ริเริ่มโดยประธานาธิบดี Vicente Fox ของเม็กซิโก เมื่อปี พ.ศ. 2543 เพื่อแสวงหาความร่วมมือและให้การสนับสนุนด้านเงินทุนแก่ประเทศภูมิภาค อเมริกากลางในการเชื่อมโยงเครือข่ายคมนาคมและสาธารณูปโภค เช่น ถนน สายส่งไฟฟ้า ท่อก๊าซ ฯลฯ ทั้งนี้ เพื่อกระจายความเจริญทางเศรษฐกิจจากเม็กซิโกลงไปยังประเทศทางตอนใต้ ดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศร่วมกัน และเพื่อแก้ไขปัญหาการอพยพของแรงงานผิดกฎหมายจากประเทศในแถบอเมริกากลางเข้า สู่เม็กซิโก หมายเหตุ Puebla เป็นชื่อเมืองทางตะวันตกเฉียงใต้ของเม็กซิโก และเป็นจุดเริ่มต้นโครงการ ซึ่งสิ้นสุดที่ปานามา [การทูต] |
Thailand ? Cambodia Joint Development Study for Economic Cooperation Plan | โครงการจัดทำแผนความร่วมมือทางเศรษฐกิจและแผน ปฏิบัติการระหว่างไทย-กัมพูชา มีวัตถุประสงค์เพื่อกำหนดที่ที่มีศักยภาพในการพัฒนา ตลอดจนสาขาทางเศรษฐกิจที่ควรมีความร่วมมือต่อกันเพื่อกระตุ้นให้เกิดความ ร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างไทย-กัมพูชาในระยะสั้น ระยะปานกลางและระยะยาว รวม 5 สาขา ได้แก่ โครงสร้างทางกายภาพ (ถนนและไฟฟ้า) อุตสาหกรรมการเกษตรและประมง อุตสาหกรรมเบา การพัฒนาการท่องเที่ยว และการเชื่อมโยงทางการค้า โดยจะส่งเสริมให้ภาคเอกชนเข้ามามีบทบาทและลงทุนในกิจกรรมทางเศรษฐกิจดัง กล่าว ทั้งนี้ โครงการและกิจกรรมต่าง ๆ จะใช้ระยะเวลาดำเนินการ 15 ปี เริ่ม ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2545 เป็นต้นไป [การทูต] |
The Great Wonders of Suwannabhumi | โครงการสิ่งมหัศจรรย์แห่งสุวรรณภูมิ หมายถึง โครงการพัฒนาการท่องเที่ยวระหว่างกลุ่มประเทศอนุภูมิภาคที่นับถือศาสนาพุทธ อันประกอบด้วย ไทย ลาว กัมพูชา และพม่า โดยร่วมกันจัดรายการนำเที่ยวในโบราณสถานที่สำคัญต่าง ๆ ซึ่งถือว่าเป็นสิ่งมหัศจรรย์ของ 4 ประเทศ ได้แก่ วัดพระศรีรัตนศาสดารามในกรุงเทพฯ นครวัดในกัมพูชา โบราณสถานในพุกาม/มัณฑะเลย์ในพม่า และแขวงหลวงพระบางในลาว เพื่อที่จะดึงดูดชาวต่างชาติให้มาสนใจในดินแดนแห่งนี้ และนำมาซึ่งการพัฒนาสถานที่ดังกล่าว รวมทั้งยังจะเป็นการเชื่อมโยงการเดินทางระหว่าง 4 ประเทศอย่างสมบูรณ์ โครงการนี้เสนอโดย ฯพณฯ ดร. สุรินทร์ พิศสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ และได้รับความเห็นชอบจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศลาว กัมพูชา และพม่า เมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน 2542 ในระหว่างการประชุมสุดยอดอาเซียนอย่างไม่เป็นทางการ ครั้งที่ 3 ที่กรุงมะนิลา [การทูต] |
FDDI | FDDI, มาตรฐานของ LAN แบบหนึ่ง ใช้โทโพโลยีหรือวิธีการเชื่อมต่อแบบวงแหวน โดยใช้สายสัญญาณเป็นสายใยแก้วนำแสงมีอัตราการส่งข้อมูลถึง 100 Mbps [คอมพิวเตอร์] |
Coupling agent | สารเติมแต่งที่ทำหน้าที่เพิ่มอันตรกิริยา (เกิดการเชื่อมโยง) ระหว่างยางกับสารเสริมแรงประเภทซิลิกาให้มีแรงยึดเหนี่ยวเพิ่มสูงขึ้น โดยหมู่อัลคอกซีบนสารคู่ควบจะทำปฏิกิริยาเคมีกับหมู่ไซลานอลที่อยู่บนพื้น ผิวของซิลิกาเกิดเป็นพันธะไซลอกเซนที่เสถียร ทำให้หมู่ไซลานอลลดลง อันตรกิริยาระหว่างอนุภาคของซิลิกาจึงลดลงด้วย ตัวอย่างของสารคู่ควบ ได้แก่ ไทรเอทอกซีไซลีลโพรพีลเททระซัลไฟด์ (Si-69) เมอร์แคปโตโพรพีลไทรเมทอกซีไซเลน (A-189) ไทโอไซยาเนโตโพรพีลไทเอทอกซีไซเลน (Si-264) เป็นต้น [เทคโนโลยียาง] |
Crosslinking | การทำให้เกิดการเชื่อมโยงระหว่างโมเลกุลของพอลิเมอร์ เช่น การเติมกำมะถันในยางธรรมชาติ (กระบวนการเรียกว่า vulcanization) ทำให้เกิดการเชื่อมโยงระหว่างโมเลกุลของยางโดยกำมะถัน ได้ยางที่มีโครงสร้างแบบเชื่อมโยง (crosslink) หรือร่างแห (network) ทำให้ยางเปลี่ยนสมบัติจากอ่อนนิ่ม เป็นยางที่มีสมบัติแข็งและเหนียวขึ้น เหมาะแก่การใช้งาน [เทคโนโลยียาง] |
Cyclised or cyclized rubber | ยางไซไคลส์เป็นยางธรรมชาติที่ปรับสภาพโครงสร้างโมเลกุลยางให้มีสัดส่วน ของพันธะที่ไม่อิ่มตัวในโมเลกุลยางลดลง โดยการทำให้โมเลกุลของยางธรรมชาติเกิดการเชื่อมโยงกันเอง เป็นแบบวงแหวน (cyclize) ทำให้สมบัติของยางเปลี่ยนไป มีความแข็งแรงมากกว่าปกติ สามารถเตรียมได้ทั้งในรูปของน้ำยางและยางแห้ง [เทคโนโลยียาง] |
Marching | ปรากฏการณ์ที่มอดุลัสของยางมีค่าเพิ่มขึ้น เมื่อยางเกิดสภาวะการคงรูปมากกว่าสภาวะที่เหมาะสม (เกิดโอเวอร์เคียว) เนื่องจากเกิดการเชื่อมระหว่างโมเลกุลหรือโครงร่างแหมากขึ้น มักเกิดในยางเอสบีอาร์ (SBR) หรือ ยางบิวทาไดอีน (Butadiene) [เทคโนโลยียาง] |
Peroxide | สารเคมีที่มี –O-O- ในโมเลกุล เช่น H2O2, Na2O2, benzoyl peroxide [ (C6H5CO)2O2 ] ออกซิเจนในเพอร์ออกไซด์มีเลขออกซิเดชัน -1 ทำให้เพอร์ออกไซด์โดยทั่วไปไม่เสถียร เมื่อให้ความร้อนจะสลายตัวให้อนุมูลอิสระ ทำให้เกิดการเชื่อมโยงของโมเลกุลขึ้นได้ด้วยพันธะคาร์บอน-คาร์บอน นิยมใช้เพอร์ออกไซด์เป็นสารทำให้ยางคงรูปในยางที่ไม่มีพันธะคู่ เช่น EPM, EVA, CPE, Q หรือยางที่มีปริมาณพันธะคู่ในโมเลกุลต่ำมากเท่านั้น เช่น HNBR, EPDM [เทคโนโลยียาง] |
Storage hardening | ปรากฏการณ์ที่ความหนืดของยางดิบหรือยางที่ยังไม่ได้ผ่านการคงรูปเพิ่ม ขึ้นระหว่างการเก็บ เนื่องจากหมู่อัลดีไฮด์ (aldehyde group) ที่มีอยู่ในยางธรรมชาติเข้าไปทำปฏิกิริยาควบแน่นกัน เกิดเป็นโครงสร้างสามมิติที่มีการเชื่อมโยง (crosslink) ระหว่างโมเลกุลยางมีผลทำให้ยางแข็งขึ้น [เทคโนโลยียาง] |
Vulcanisation or Vulcanization | วัลคาไนเซชัน คือ กระบวนการทางเคมีที่ก่อให้เกิดการเชื่อมโยงระหว่างโมเลกุลของยาง เกิดเป็นโครงสร้างตาข่ายสามมิติ (โครงสร้างร่างแห) ทำให้ยางคงรูปและมีความยืดหยุ่นสูงขึ้น ซึ่งกระบวนการนี้เป็นกระบวนการที่ไม่สามารถผันกลับได้ (irreversible process) ดังนั้น จึงเป็นสาเหตุทำให้ยางไม่สามารถนำกลับมารีไซเคิลได้ [เทคโนโลยียาง] |
Vulcanizing agent | สารเคมีสำหรับผสมในยางเพื่อทำให้ยางเกิดการเชื่อมโยงระหว่างโมเลกุล เกิดเป็นโครงสร้างตาข่ายสามมิติ (โครงสร้างร่างแห) ขึ้น สามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ระบบใหญ่ๆ ได้แก่ ระบบที่ใช้กำมะถัน ระบบที่ใช้เพอร์ออกไซด์ และระบบที่ใช้สารเคมีอื่นๆ เช่น โลหะออกไซด์ [เทคโนโลยียาง] |
Anaplasmosis | ประสานกัน, การเชื่อมโยงกัน, การเชื่อมกัน, เส้นเลือดฝอยประสานติดต่อ, การติดต่อระหว่างหลอดเลือด, การเชื่อมติดต่อถึงกัน, โรคเกิดจากอานาพลาสมา [การแพทย์] |
Anastomoses | การเชื่อมติดต่อถึงกัน, การติดต่อระหว่างหลอดเลือด [การแพทย์] |
Anastomosis | การเชื่อมโยงกัน, เส้นเลือดฝอยประสานติดต่อ, ประสานกัน, การเชื่อมกัน [การแพทย์] |
Anastomosis, Coronary Arterio-Venous | การเชื่อมต่อระหว่างเส้นโลหิตดำและแดงที่มาเลี้ยง [การแพทย์] |
Anastomosis, Portacaval | การเชื่อมโยงกันระหว่างเลือดดำทั้งสองระบบ, การเชื่อมโยงกันระหว่างเลือดดำทั้ง 2 ระบบ [การแพทย์] |
Ankylosis, Bony | การเชื่อมติดเป็นกระดูกชิ้นเดียวกันโดยตัวของมันเ, การเชื่อมยึดแข็งของกระดูกที่บริเวณข้อต่อ, ข้อติดแข็งด้วยเนื้อกระดูก [การแพทย์] |
Arteriovenous Anastomosis | หลอดเลือดแดงและดำ, การต่อ; หลอดเลือดแดงและดำ, การเชื่อมประสาน [การแพทย์] |
Arteriovenous Communication | การเชื่อมต่อกันระหว่างหลอดเลือดแดงกับดำ [การแพทย์] |
Arthrodesis, Albee | การเชื่อมกระดูกสันหลังทางด้านหลังตามวิธีของอัลบ [การแพทย์] |
Arthrodesis, Chormley | การเชื่อมข้อตะโพกโดยใช้กระดูกปีกตะโพกเป็นตัวเชื่อม [การแพทย์] |
Arthrodesis, Gill-Stein | การเชื่อมข้อมือโดยการเลื่อนส่วนหลังปลายกระดูกแขน [การแพทย์] |
Arthrodesis, Haddad and Riordan | การเชื่อมข้อมือแบบแฮดแดดและไรออร์แดน [การแพทย์] |
Arthrodesis, Subtalar | การเชื่อมข้อใต้ข้อเท้า [การแพทย์] |
Arthrodesis, Triple | การเชื่อมกระดูกที่ข้อเท้า [การแพทย์] |
Assembly | การเชื่อมต่อ, การเจริญเต็มวัย [การแพทย์] |
Assimilation, Occipito-Atlantoid | การเชื่อมกันระหว่างกระดูกท้ายทอยและกระดูกแอทลาส [การแพทย์] |
Association Theories | ทฤษฎีการเชื่อมโยง [การแพทย์] |
Bony Bridging | การเชื่อมติดระหว่างกระดูกทั้งสอง [การแพทย์] |
Bony Fusion | การเชื่อมติดกันของกระดูก [การแพทย์] |
Bony Ridge, Interosseous | การเชื่อมติดด้วยกระดูก [การแพทย์] |
Bridges, Cross | การเชื่อมต่อกัน [การแพทย์] |
Bridging | การเชื่อมกัน [การแพทย์] |
Chaining | การเชื่อมโยง [การแพทย์] |
articulation | (อาร์ทิคคิวเล'เชิน) n. การต่อกัน, การเชื่อมประกบ, กระบวนการพูดได้อย่างชัดเจน, ข้อต่อ, ปล้อง, ระดับที่ชัดเจน. -articulatory adj., Syn. joint |
association | (อะโซชีเอ'เชิน) n. สมาคม, บริษัท, การร่วมกัน, ความสัมพันธ์, สันนิบาตพันธมิตร, สหภาพ, การเชื่อมติดกัน, ความคิดเห็นร่วมกัน, กลุ่มของพืชที่อยู่ร่วมกัน, เกมฟุตบอล, การสังสรรค์, Syn. fellowship, organization, link |
bonding | n. การผนึก, การเชื่อม, การบัดกรี, การเชื่อมกำบัง |
cascade | (แคส'เคด) { cascaded, cascading, cascades } n. น้ำตกเล็กที่ตกจากหน้าผาที่สูงชัน, น้ำตกเป็นหลั่น ๆ , การต่อไฟฟ้าเป็นหลั่น ๆ , การเชื่อมโยง, ใบพะเนียด vt., vi. ตกลงมาเหมือนน้ำตก, ต่อเนื่องกันเป็นขั้นบันได, Syn. cataract แบบต่อเรียงการจัดเรียงวินโดว์บนจอภาพนั้น สามารถทำได้ 2 แบบ คือให้เป็นแบบต่อเรียง ซึ่งจะทำให้สามารถมองเห็นชื่อของแต่ละวินโดว์ที่เรียงต่อกัน หรือแบบแผ่เรียง tile ซึ่งจะทำให้มองเห็นทุกวินโดว์บนจอพร้อม ๆ กันในขนาดเล็ก ๆ ก็ได้ ทั้งนี้แล้วแต่คำสั่งของผู้ใช้เครื่อง คอมพิวเตอร์ ว่าจะสั่งให้เป็นแบบ cascade หรือ tileดู tile เปรียบเทียบ |
circuit switching | การสลับวงจรในด้านการสื่อสารข้อมูล (data communications) หมายถึงเทคนิคในการสื่อสารข้อมูลจากจุดหนึ่งไปอีกจุดหนึ่ง เมื่อมีการเชื่อมต่อกันแล้วจะติดต่อกันได้ตลอดเวลา ผู้อื่นจะแทรกเข้ามาไม่ได้เลย จนกว่าฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งจะปลดวงจรออก ตัวอย่างง่าย ๆ เช่น การติดต่อทางสายโทรศัพท์ เมื่อเริ่มพูดกันได้แล้ว คนอื่นจะต่อสายแทรกเข้ามาไม่ได้ จนกว่าฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งจะวางหูลง (ปลดวงจร) ดู packet switching เปรียบเทียบ |
coherence | (โคเฮีย'เรินซฺ) n. การเกาะติด, การเกาะกัน, การเกี่ยวพัน, การเชื่อมโยง, ความสอดคล้อง |
concatenate | (คอนแคท 'ทะเนท) vt, เชื่อมเข้าด้วยกัน ต่อกันหมายถึง การเชื่อมโยงสายอักขระ (string) สองสายเข้าเป็นสายเดียวกัน เช่น เชื่อม "ABC" และ "DEF" เป็น "ABCDEF" เป็นต้น เราอาจนำมาใช้กับการนำแฟ้มข้อมูลมาต่อกันก็ได้ |
conjugation | (คอนจะเก'เชิน) n. การรวมกัน, การเชื่อมผนึก, คำผันของกิริยา, Syn. union, meeting, Ant. division |
conjuncture | (คอนจังคฺ'เชอะ) n. การรวมกัน, การเชื่อมผนึก, เหตุการณ์ทั้งหลายรวมกัน, ภาวะฉุกเฉิน, See also: conjunctural adj. ดูconjuncture, Syn. concatenation, juncture, connection |
connection | (คะเนค'เชิน) n. การเชื่อมต่อ, การเชื่อมผนึก, ความสัมพันธ์, พันธะ, วงศ์วานวงศ์ญาติมิตร, ญาติ, การสังวาส, Syn. juncture, union, associate |
connexion | (คะเนค'เชิน) n. การเชื่อมต่อ |
contiguity | (คอนทะกิว'อิที) n. การเชื่อมติดกัน, การประชิดกัน, การติดต่อ, สิ่งที่ต่อเนื่องกัน, Syn. contact |
coupling | (คัพ'พลิง) n. การเชื่อมต่อ, การเชื่อมผนึก, การต่อก้น, เครื่องพวง, การร่วมคู่ |
daisy chain | สายโซ่เดซีหมายถึง การเชื่อมต่อรายการต่าง ๆ เข้าด้วยกัน (เหมือนกับ สายโซ่) ถ้าใช้ในเรื่องของการสั่งพิมพ์ จะหมายถึง การสั่งให้พิมพ์แฟ้มข้อมูลหลาย ๆ แฟ้มต่อเนื่องกันไป ตามลำดับที่กำหนดไว้ตั้งแต่ก่อนพิมพ์ |
ddp | (ดีดีพี) ย่อมาจาก distributed data processing (แปลว่า การประมวลผลข้อมูลแบบกระจาย) หมายถึง การประมวลข้อมูลในหน่วยงานที่มีหลายสาขา และ การทำงานเป็นแบบต่างคนต่างทำ ต่างคนต่างมีข้อมูล แต่อาจมีการเชื่อมติดต่อกันโดยการสื่อสารข้อมูล (data communications) <คำย่อ> ดีดีพี ย่อมาจาก Drug Data for Pharmacist |
hermetic | (เฮอเมท'ทิคคัล) adj. ว่าด้วยผีสางหรือการใช้อาคม, ลมเข้าไม่ได้ (โดยการเชื่อม) , เถียงไม่ได้, ลึกลับ, See also: hermeticism n. |
hermetical | (เฮอเมท'ทิคคัล) adj. ว่าด้วยผีสางหรือการใช้อาคม, ลมเข้าไม่ได้ (โดยการเชื่อม) , เถียงไม่ได้, ลึกลับ, See also: hermeticism n. |
interface | ตัวประสานหมายถึง การเชื่อมต่อระหว่าง คอมพิวเตอร์ ที่ถ่ายโอนข้อมูลจากกันและกันได้ แต่มักนำมาใช้ในความหมายของ user interface ที่แปลว่า การติดต่อประสานระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์กับผู้ใช้ เช่น แป้นพิมพ์, จอภาพ ต่างก็เป็นตัวประสานกับผู้ใช้ทั้งสิ้น |
joinder | (จอย'เดอะ) n. การร่วมกัน, การร่วมมือกัน, การร่วมฟ้อง, การเชื่อมต่อกัน |
junction | (จังคฺ'เชิน) n. การเชื่อมต่อ, หัวต่อ, ชุมทาง, ที่, บรรจบ, จุดประสาน, สิ่งเชื่อมต่อ. |
knitting | (นิท'ทิง) n. การถัก, การชุน, ผลงานถัก, ผลงานชุน, การเชื่อมต่อ |
link | (ลิงคฺ) { linked, linking, links } n. สิ่งเชื่อมต่อ, การเชื่อม, ข้อต่อ, ข้อลูกโซ่, ห่วงเชื่อม, เครื่องประสาน, เครื่องเกี่ยวดอง, หน่วยสื่อสาร, กระดุมหรือที่หนีบของแขนเสื้อเชิ้ต, หน่วยความยาว7.92 นิ้ว (หน่วยวัด) , ส่วนที่เป็นโค้งเว้าของแม่น้ำลำธาร. vt., vi. เชื่อม, ต่อ, ประสาน |
linkage | (ลิง'คิจฺ) n. การเชื่อมต่อ, การต่อ, การประสาน, การผนึก, การปฏิบัติการร่วมกัน, เครื่องต่อ, ลิ้นร่วม, Syn. union, Ant. breach |
local area network | (LAN) โครงข่ายคอมพิวเตอร์เฉพาะบริเวณ, การเชื่อมโยงเครื่องคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกันเป็นข่ายงานเฉพาะบริเวณที่ไม่กว้างขวางนัก : ย่อว่า LAN, ข่ายงานบริเวณเฉพาะที่ ใช้ตัวย่อว่า LAN หมายถึง คอมพิวเตอร์หลาย ๆ ระบบ หรือหลาย ๆ เครื่องที่มีการทำงานเชื่อมกันเป็นเครือข่าย แต่ละเครื่องอยู่ในบริเวรใกล้ ๆ กัน เช่นในอาคารเดียวกันเป็นต้น คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมโยงกันเหล่านี้จะทำงานร่วมกันได้ ดึงโปรแกรมหรือข้อมูลจากกันและกันได้ แต่การทำเช่นนี้จะต้องใช้ซอฟทืแวรืช่วยด้วย หากเป็นเครือข่ายเครื่องอยู่ห่างกัน เรียกว่า wan (wide area network ดู wan) |
network | (เนท'เวิร์ค) n. ตาข่าย, ร่างแห, แผนประสานซึ่งกันและกัน, เครือข่าย การเชื่อมโยงระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อการสื่อสารข้อมูลหรือใช้โปรแกรมร่วมกัน, ระบบการนำเครื่องคอมพิวเตอร์หลาย ๆ เครื่อง หรือเครื่องปลายทาง (terminal) หลาย ๆ เครื่อง มาทำงานร่วมกันโดยอาจใช้อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องร่วมกัน เช่น สื่อนำข้อมูลเข้า/ออก, เครื่องพิมพ์ เป็นต้น |
nexus | (เนค'ซัส) n. การเชื่อมต่อ, อนุกรมหรือกลุ่มที่ต่อเนื่องกัน pl. nexus, Syn. tie, bond |
null modem | การต่อโดยไม่ใช้โมเด็มหมายถึง การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์สองเครื่องเข้าด้วยกันโดยที่ไม่ต้องใช้โมเด็ม |
object language | ภาษาจุดหมายหมายถึง ชุดคำสั่งที่เป็นภาษาเครื่อง (machine language) หรือภาษาที่คอมพิวเตอร์เข้าใจและปฏิบัติตามได้ทันที่ถ้าผ่านการเชื่อมโยง (link) โดยปกติ ในการเขียนโปรแกรมหรือชุดคำสั่ง เรามักจะเขียนคำสั่งให้เครื่องปฏิบัติตามเป็นภาษาระดับสูง (high level language) หรือที่เรียกว่าภาษาต้นฉบับ (source language) ซึ่งคอมพิวเตอร์ไม่เข้าใจและจะต้องนำไปแปลให้เป็นภาษาเครื่องหรือภาษาจุดหมายก่อน คอมพิวเตอร์จึงจะทำงานตามคำสั่งที่ต้องการได้ |
object linking and embedd | การเชื่อมโยงและการฝังตัวของวัตถุใช้ตัวย่อว่า OLE (อ่านว่า โอเล) เท่ากับการแทรกเอกสาร หรือ ภาพ หรือบางส่วนของเอกสาร ที่ได้สร้างขึ้นไว้ในโปรแกรมหนึ่ง (เรียกว่า วัตถุ) เข้าไปในแฟ้มเอกสาร หรือส่วนของเอกสารที่สร้างขึ้นมาจากอีกโปรแกรมหนึ่ง แถมด้วยการที่สามารถยึดโยงหรือเชื่อมโยงความผูกพันระหว่างเอกสารทั้งสองไว้ให้อีกด้วย การยึดโยงดังกล่าวมีความหมายว่า การแก้ใขแฟ้มหนึ่งจะทำให้อีกแฟ้มหนึ่งถูกแก้ไปด้วยโดยอัตโนมัติ วิธีการนี้นิยมใช้มากในระบบวินโดว์ |
off line processing | การประมวลผลแบบไม่เชื่อมตรงหมายถึง การประมวลผลที่ทำขึ้นโดยไม่มีการเชื่อมต่อกับหน่วยประมวลผลกลาง (central processing unit) เช่น การแปลงข้อมูลจากบัตรแล้วบันทึกข้อมูลลงในแถบบันทึก หรือจานบันทึก เป็นต้นดู on line processing เปรียบเทียบ |
ole | (โอเล') n. การตะโกน, เปล่งเสียงที่แสดงถึงการเห็นด้วย โอเล <คำอ่าน>ย่อมาจาก object linking and embedding (แปลว่า การเชื่อมโยงและการฝังตัวของวัตถุ) เท่ากับการแทรกเอกสาร หรือภาพหรือบางส่วนของเอกสาร ที่ได้สร้างขึ้นไว้ในโปรแกรมหนึ่ง (เรียกว่า วัตถุ) เข้าไปในแฟ้มเอกสาร หรือส่วนของเอกสาร ที่สร้างขึ้นมาจากอีกโปรแกรมหนึ่ง แถมด้วยการที่สามารถเชื่อมโยงหรือยึดโยงความผูกพันระหว่างเอกสารทั้งสองไว้ให้อีกด้วย การยึดโยงดังกล่าวมีความหมายว่า การแก้ใขแฟ้มหนึ่งจะทำให้อีกแฟ้มหนึ่งถูกแก้ไปด้วยโดยอัตโนมัติ วิธีการนี้นิยมใช้มากในระบบวินโดว์ |
on-line | เชื่อมตรงในสายหมายถึง การเชื่อมอุปกรณ์หรือคอมพิวเตอร์หรือเครื่องปลายทาง (terminal) เข้า กับเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ผ่านทางสายเคเบิลหรือด้วยวิธีใด ๆ ก็ตาม เพื่อให้มีการทำงานร่วมกัน เป็นต้นว่า เครื่องถอนเงินด่วน (ATM) จะต้อง "เชื่อมตรง" กับคอมพิวเตอร์เมนเฟรมที่ธนาคารสำนักงานใหญ่ จึงสามารถประมวลผลให้ได้ว่า บัญชีของเรามีเงินเท่าใด ถอนแล้วเหลือเงินอีกเท่าใด ดู off line เปรียบเทียบ |
parasymapsis | n. การเชื่อมต่อกันแบบกระหนาบข้างของโครโมโซม |
pipeline | การทำงานแบบสายท่อหมายถึง วิธีการเชื่อมโยงสองโปรแกรมหรือกว่านั้นเข้าด้วยกัน โดยกำหนดให้ผลที่เกิดจากการประมวลผลในโปรแกรมแรก เป็นตัวกำหนดเรียกโปรแกรมที่สอง (หมายความว่า โปรแกรมที่สองจะเป็นโปรแกรมใด ขึ้นกับผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลในโปรแกรมแรก) การประมวลผลในโปรแกรมที่สองก็จะเรียกโปรแกรมต่อไป วิธีการนี้ใช้ในระบบยูนิกซ์ (UNIX) และ ดอส (DOS) |
shunt | (ชันทฺ) vt., vi., n. (การ) สับราง, เปลี่ยนราง, สับเปลี่ยน, เปลี่ยนเส้นทาง, ปัด, แยก, เก็บ, ระงับ, หันไปอีกทางหนึ่ง, เปลี่ยนเส้นทาง, เครื่องสับราง, เครื่องแยกทางไฟฟ้า, รถไฟเปลี่ยนราง, (ศัลยกรรมผ่าตัด) ทางหรือหลอดที่สร้างขึ้นใหม่, การเชื่อมต่อระหว่างท่อสองท่อในร่างกาย |
tcp/ip | ทีซีพี/ไอพี <คำอ่าน>ย่อมาจากคำว่า transmission control protocol / internet protocol แปลว่า กฏเกณฑ์การควบคุมการส่งผ่านตามมาตรฐานอินเตอร์เน็ต หมายถึง มาตรฐานที่สร้างขึ้นในเรื่องของการเชื่อมต่อข้อมูลระหว่างเครื่องปลายทาง (terminal) ในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ หรือตัวเลียนแบบ |
teleprinter | เครื่องโทรพิมพ์หมายถึงเครื่องพิมพ์ที่มีการเชื่อมประสาน (interface) กับเครื่องคอมพิวเตอร์ และสามารถแสดงผลได้ด้วยการพิมพ์ลงบนกระดาษ และรับข้อมูลผ่านไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์ได้ เครื่องพิมพ์ชนิดนี้ทำงานภายใต้การควบคุมของหน่วยประมวลผลกลางของเครื่องคอมพิวเตอร์ สามารถพิมพ์ได้เร็วประมาณ 10 - 15 ตัวอักษร ต่อวินาที เครื่องพิมพ์ชนิดนี้จะมีลักษณะเหมือนเครื่องปลายทาง (terminal) ที่อาจอยู่ใกล้เครื่องคอมพิวเตอร์ หรือห่างออกไปไกล ๆ ก็ได้ สามารถทำได้ทั้งส่ง และรับข้อมูลมีความหมายคล้าย teletypewriter |
tie-in | (ไท'อิน) adj. เกี่ยวกับการซื้อขายของร่วมที่ควบกัน, ควบกัน, ไปด้วยกัน n. สิ่งที่ไปด้วยกัน, สิ่งควบ, ส่วนควบ, การเชื่อมต่อกัน, ความสัมพันธ์, พันธะ., Syn. connection |
transmission control prot | transmission control protocol / internet protocol กฏเกณฑ์การควบคุมการส่งผ่านตามมาตรฐานอินเตอร์เน็ตใช้ตัวย่อว่า TCP/IP (อ่านว่า ทีซีพี/ไอพี) หมายถึง มาตรฐานที่สร้างขึ้นในเรื่องของการเชื่อมต่อข้อมูลระหว่างเครื่องปลายทาง (terminal) ในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ หรือตัวเลียนแบบ |
union | (ยู'เนียน) n. การรวมกัน, ความสามัคคี, การสอดคล้องกัน, การสมรสกัน, การสังวาส, สหภาพ, สหพันธรัฐ, องค์การกรรมกร, เครื่องมือเชื่อมต่อ, ส่งท่อร่วม, การเชื่อมกัน. -Phr. (the Union สโมสรนักศึกษามหาวิทยาลัยสหรัฐอเมริกา (สมัยก่อน)), Syn. unification |
wan | (วอน) adj. ซีด, ซีดขาว, อมโรค, อ่อนแอ, ไม่มีความสุข, ขาดกำลัง, ขาดสมรรถภาพ, มืด, สลัว vi. vt. ทำให้หรือกลายเป็นซีด แวน <คำอ่าน>ย่อมาจาก wide area network (แปลว่า ข่ายงานบริเวณกว้าง) หมายถึง ข่ายงานคอมพิวเตอร์ที่มีการเชื่อมโยงกันเป็นบริเวณกว้าง (ถ้าเป็นบริเวณแคบ ๆ เรียกว่า LAN หรือ local area network) เช่น ระหว่างจังหวัด ระหว่างประเทศ เป็นต้น คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมโยงกันเหล่านี้ จะทำงานร่วมกันได้ ดึงโปรแกรมจากกันและกันได้ การกระทำเช่นนี้จำเป็นต้องมีซอฟต์แวร์เป็นตัวการสำคัญด้วยตัวหนึ่ง การเชื่อมโยงนั้น อาจใช้สายโทรศัพท์ สายเคเบิล เส้นใยนำแสง (optical fibre) หรือดาวเทียม ก็ได้ดู LAN เปรียบเทียบ, See also: wanly adv. wanness n., Syn. pale, faint, livid |
weld | (เวลดฺ) vt. vi. เชื่อม, เชื่อมโลหะ, บัดกรี, ประสาน, ทำให้ตกลงกัน, n. การเชื่อมโลหะ, การเชื่อมต่อ, การบัดกรี, เครื่องบัดกรี, See also: weldability n. weldable adj. welder, weldor n. weldless adj., Syn. fuse, solder, connect |
wide area network | wide area network ข่ายงานบริเวณกว้างใช้ตัวย่อว่า WAN (อ่านว่า แวน) หมายถึง ข่ายงานคอมพิวเตอร์ที่มีการเชื่อมโยงกันเป็นบริเวณกว้าง (ถ้าเป็นบริเวณแคบ ๆ เรียกว่า LAN หรือ local area network) เช่น ระหว่างจังหวัด ระหว่างประเทศ เป็นต้น คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมโยงกันเหล่านี้ จะทำงานร่วมกันได้ ดึงโปรแกรมจากกันและกันได้ ซึ่งจำเป็นต้องมีซอฟต์แวร์เป็นตัวการสำคัญด้วยตัวหนึ่ง การเชื่อมโยงนั้น อาจใช้สายโทรศัพท์ สายเคเบิล เส้นใยนำแสง (optical fibre) หรือดาวเทียม ก็ได้ดู local area network เปรียบเทียบ |