169 ผลลัพธ์ สำหรับ *การประมวลผล*
หรือค้นหา: การประมวลผล, -การประมวลผล-

NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
การประมวลผล(n) data processing, Example: มนุษย์ได้นำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการประมวลผลเป็นเวลาเกือบครึ่งศตวรรษแล้ว, Thai Definition: การรวบรวมผลที่ได้ให้เป็นระเบียบและหมวดหมู่
โปรแกรมการประมวลผล(n) processing program, Example: ในการสรุปผล เราสามารถใช้โปรแกรมการประมวลผลได้ทันที

พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
บริษัทข้อมูลเครดิตน.บริษัทที่ได้รับใบอนุญาตให้ประกอบกิจการเกี่ยวกับการควบคุมหรือการประมวลผลข้อเท็จจริงเกี่ยวกับลูกค้าที่ขอสินเชื่อ เพื่อให้ข้อมูลแก่สมาชิกหรือผู้ใช้บริการ.
ระบบข้อมูลน. กระบวนการประมวลผลด้วยเครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์สำหรับสร้าง ส่ง รับ เก็บ รักษา หรือประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์.

ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
processed resultผลการประมวลผล, ผลการจัดกระบวนข้อมูล [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
processingการประมวลผล [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
processingการประมวลผล, การจัดกระบวน [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
parallel processingการประมวลผลแบบขนาน [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
priority processingการประมวลผลตามลำดับความสำคัญ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
real-time processingการประมวลผลแบบทันที [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
real-time processingการประมวลผลแบบทันที [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
remote batch processingการประมวลผลแบบกลุ่มระยะไกล [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
scientific processingการประมวลผลเชิงวิทยาศาสตร์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
sequential processing; serial processingการประมวลผลแบบลำดับ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
serial processing; sequential processingการประมวลผลแบบลำดับ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
on-line processingการประมวลผลแบบเชื่อมตรง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
off-line processingการประมวลผลแบบไม่เชื่อมตรง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
automatic data processing (ADP)การประมวลผลข้อมูลแบบอัตโนมัติ (เอดีพี) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
ADP (automatic data processing)เอดีพี (การประมวลผลข้อมูลแบบอัตโนมัติ) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
query processingการประมวลผลข้อคำถาม [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
batch processingการประมวลผลแบบกลุ่ม [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
batch processingการประมวลผลแบบกลุ่ม [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
batch processingการประมวลผลแบบกลุ่ม [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
background processingการประมวลผลส่วนหลัง [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
centralized data processing; centralised data processingการประมวลผลข้อมูลแบบรวมศูนย์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
centralized data processing; centralised data processingการประมวลผลข้อมูลแบบรวมศูนย์ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
concurrent processingการประมวลผลพร้อมกัน [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
centralised data processing; centralized data processingการประมวลผลข้อมูลแบบรวมศูนย์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
centralised data processing; centralized data processingการประมวลผลข้อมูลแบบรวมศูนย์ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
conversational processingการประมวลผลเชิงสนทนา [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
decentralised data processing; decentralized data processingการประมวลผลข้อมูลแบบแยกจากศูนย์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
decentralised data processing; decentralized data processingการประมวลผลข้อมูลแบบแยกจากศูนย์ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
demand processingการประมวลผลตามคำขอทันที [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
data processing (DP)การประมวลผล, การประมวลผลข้อมูล (ดีพี) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
data processingการประมวลผลข้อมูล, การจัดกระบวนข้อมูล [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
data processing (DP)การประมวลผล, การประมวลผลข้อมูล (ดีพี) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
distributed data processingการประมวลผลข้อมูลแบบกระจาย [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
DP (data processing)ดีพี (การประมวลผล, การประมวลผลข้อมูล) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
DP (data processing)ดีพี (การประมวลผล, การประมวลผลข้อมูล) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
decentralised data processing; decentralized data processingการประมวลผลข้อมูลแบบแยกจากศูนย์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
decentralized data processing; decentralised data processingการประมวลผลข้อมูลแบบแยกจากศูนย์ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
file processingการประมวลผลแฟ้มข้อมูล [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
electronic data processing (EDP)การประมวลผลข้อมูลแบบอิเล็กทรอนิกส์ (อีดีพี) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
electronic data processingการประมวลผลข้อมูลแบบอิเล็กทรอนิกส์ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
electronic data processing (EDP)การประมวลผลข้อมูลแบบอิเล็กทรอนิกส์ (อีดีพี) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
EDP (electronic data processing)อีดีพี (การประมวลผลข้อมูลแบบอิเล็กทรอนิกส์) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
EDP (electronic data processing)อีดีพี (การประมวลผลข้อมูลแบบอิเล็กทรอนิกส์) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
electronic processingการประมวลผลแบบอิเล็กทรอนิกส์ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
interactive processingการประมวลผลแบบโต้ตอบ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
interactive processingการประมวลผลแบบโต้ตอบ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
teleprocessingการประมวลผลทางไกล [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
transaction processingการประมวลผลด้วยรายการเปลี่ยนแปลง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
non-numerical processingการประมวลผลที่ไม่ใช้ตัวเลข [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
numerical processingการประมวลผลที่ใช้ตัวเลข [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]

คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Eletronic data processingการประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ [เทคโนโลยีการศึกษา]
Eletronic data processingการประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Optical data processingการประมวลผลด้วยแสง [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Real-time data processingการประมวลผลแบบทันที [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Online data processingการประมวลผลข้อมูลแบบออนไลน์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Electronic data processingการประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Image processingการประมวลผลภาพ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Electronic data processingการประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Image processingการประมวลผลภาพ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Natural language processingการประมวลผลภาษาธรรมชาติ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
signal processingการประมวลผลสัญญาณ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Language processing technologyเทคโนโลยีด้านการประมวลผลภาษา [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Computer sound processingการประมวลผลเสียงด้วยคอมพิวเตอร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Real-time data processingการประมวลผลข้อมูลแบบทันที [คอมพิวเตอร์]
Online data processingการประมวลผลข้อมูลแบบออนไลน์ [คอมพิวเตอร์]
Electronic data processingการประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ [คอมพิวเตอร์]
Electronic data processing -- Distributedการประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์แบบกระจาย [คอมพิวเตอร์]
Parallel processing (Electronic computers))การประมวลผลแบบขนาน [คอมพิวเตอร์]
Image processingการประมวลผลภาพ [คอมพิวเตอร์]
Natural language processing (Computer science))การประมวลผลภาษาธรรมชาติ (คอมพิวเตอร์) [คอมพิวเตอร์]
Data processingการประมวลผลข้อมูล, Example: กรรมวิธีในการเก็บข้อมูลจากที่เกิด นำข้อมูลมาบันทึกไว้ในระบบคอมพิวเตอร์ นำข้อมูลที่เก็บไว้มาจัดทำเป็นรายงานเสนอผู้ใช้ เช่น การใช้คอมพิวเตอร์บันทึกประวัติของนักเรียน ตรวจข้อสอบ ให้คะแนนสอบ แล้วบันทึกคะแนนสอบลงในประวัติของนักเรียน สุดท้ายจึงใช้คอมพิวเตอร์คิดระดับคะแนน และจัดทำรายงานคะแนนสอบ การประมวลผลข้อมูลเป็นการประยุกต์คอมพิวเตอร์แบบพื้นฐานที่มีประโยชน์ต่อการทำงานของหน่วยงานและบริษัทต่างๆ นอกจากงานข้างต้นแล้ว ก็ยังมีตัวอย่างอื่นอีกมาก เช่น โรงแรมใช้คอมพิวเตอร์ประมวลผลทำบัญชีคิดเงินลูกค้า ห้างสรรพสินค้าใช้คอมพิวเตอร์อ่านฉลากสินค้าแล้วคิดเงิน ต่อจากนั้นก็บันทึกเก็บข้อมูลการขายไว้จัดทำบัญชีต่อไป ฯลฯ [คอมพิวเตอร์]
Processingการประมวลผล [คอมพิวเตอร์]
teleprocessingการประมวลผลทางไกล, Example: ระบบคอมพิวเตอร์ที่ผู้ใช้สามารถส่งโปรแกรมคำสั่ง และข้อมูลไปประมวลผลผ่านทางเครื่องผลายทาง ซึ่งอยู่คนละสถานที่กับคอมพิวเตอร์ได้ [คอมพิวเตอร์]
Optical Character Recognition Programโปรแกรมแปลงข้อความบนกระดาษเป็นข้อความในคอมพิวเตอร์, ซอฟต์แวร์ที่ทำหน้าที่วิเคราะห์และรู้จำตัวพิมพ์หรือตัวเขียน โดยการสแกนตัวอักษรหรือข้อความ ด้วยแสง นำมาวิเคราะห์ภาพตัวอักษรหรือข้อความนั้น เพื่อแปลงมาเป็นรหัสตัวอักษรเพื่อใช้ในการประมวลผลต่อไป [Assistive Technology]
Batch processingการประมวลผลแบบกลุ่ม [TU Subject Heading]
Character sets (Data processing)ชุดอักขระ (การประมวลผลข้อมูล) [TU Subject Heading]
Copyright and electronic data processingลิขสิทธิ์กับการประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ [TU Subject Heading]
Data processingการประมวลผลข้อมูล [TU Subject Heading]
Distributed processingการประมวลผลแบบกระจาย [TU Subject Heading]
Electronic data processingการประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ [TU Subject Heading]
Electronic data processing documentationการทำเอกสารในการประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ [TU Subject Heading]
Image processingการประมวลผลภาพ [TU Subject Heading]
Natural language processing (Computer science)การประมวลผลภาษาธรรมชาติ (คอมพิวเตอร์ศาสตร์) [TU Subject Heading]
Optical data processingการประมวลผลข้อมูลด้วยแสง [TU Subject Heading]
Parallel processing (Electronic computers)การประมวลผลแบบขนาน (คอมพิวเตอร์) [TU Subject Heading]
Real-time data processingการประมวลผลแบบทันที [TU Subject Heading]
Speech processing systemsระบบการประมวลผลเสียงพูด [TU Subject Heading]
Thai character sets (Data processing)ชุดอักขระภาษาไทย (การประมวลผลข้อมูล) [TU Subject Heading]
Audit through the computerการตรวจสอบการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ [การบัญชี]
Assessmentการประมวลผล, ประเมิน, การประเมิน [การแพทย์]
Cloud computingการคำนวณแบบคลาวด์, การประมวลผลแบบแบ่งปันทรัพยากรผ่านเครือข่าย, Example: การให้บริการประมวลผลแบบคลาวด์ เกิดจากแนวคิดการให้บริการโดยใช้ประโยชน์จากโครงสร้างพื้นฐานไอทีที่ทำงานเชื่อมโยงกัน โดยมีเซิร์ฟเวอร์มากมายทำงานสอดประสานเป็นหนึ่งเดียวกัน เพื่อให้บริการแอพพลิเคชั่นต่างๆ มีข้อดีคือลดความซ้ำซ้อนยุ่งยากของผู้ต้องการใช้บริการ อีกทั้งยังช่วยประหยัดพลังงานและลดค่าใช้จ่าย เพราะคลาวด์คอมพิวติ้ง ทำงานผ่านเทคโนโลยีเสมือน (Virtualization) ระบบจึงไม่ได้ถูกจำกัดในเรื่องของสมรรถนะและขีดความสามารถของการใช้ระบบประมวลผลจากระบบต่างๆ ทำให้เกิดการบริการหลายๆ อย่าง เช่น การประชุมผ่านอินเทอร์เน็ต Web conferencing, Online meeting ผู้ใช้งานอาจอยู่ในห้องเดียวกันหรือห่างไกลกันคนละซีกโลกก็ได้ การประมวลผล แบบคลาวด์ สามารถแบ่งออกเป็น 2 แบบใหญ่ๆ คือ Private cloud computing เป็นการใช้งานภายในองค์กร โดยเป็นการใช้สมรรถนะของดาต้าเซ็นเตอร์ภายในองค์กรนั้นๆ และ cloud computing เป็นรูปแบบที่มีผู้ให้บริการสาธารณะจัดสรรการให้บริการการเข้าถึงข้อมูลในรูปแบบต่างๆ ผ่านทางอินเทอร์เน็ตเป็นส่วนมาก โดยผู้ใช้บริการไม่จำเป็นต้องรับทราบว่ามีเซิร์ฟเวอร์ติดตั้งอยู่ที่ไหนและมากเท่าใด สนใจเพียงแต่บริการที่ได้รับเท่านั้น [เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ]
variableตัวแปร, สัญลักษณ์ที่ใช้แทนค่าตัวเลข หรือตัวหนังสือในโปรแกรม ลักษณะคล้ายคลึงกับตัวแปรทางคณิตศาสตร์ โดยจะต้องมีการตั้งชื่อให้กับตัวแปร มีการกำหนดค่าให้กับตัวแปร และค่าของตัวแปรอาจถูกเปลี่ยนแปลงไปได้ระหว่างที่ทำการประมวลผล หรือระหว่างการทำงานของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
Dynamic RAM (DRAM)ไดนามิกแรม หรือดีแรม, หน่วยความจำที่ใช้ในการจดจำข้อมูลและโปรแกรมต่างๆ ที่อยู่ระหว่างการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ เป็นหน่วยความจำที่มีใช้งานอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล หรือพีซีมากที่สุด เนื่องจากราคาไม่แพงและมีความจุสูง [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
Random Access Memory ( RAM)แรม, หน่วยความจำหลัก ทำหน้าที่เก็บข้อมูลจากการประมวลผลเป็นการชั่วคราว ซึ่งอนุญาตให้เขียนและอ่านข้อมูลได้ในตำแหน่งต่างๆ อย่างอิสระ และรวดเร็วพอสมควรแต่จะเก็บข้อมูลได้เฉพาะเวลาที่มีกระแสไฟฟ้าหล่อเลี้ยงเท่านั้นหากเกิดไฟฟ้าดับ ข้อมูลและโปรแกรมคำสั่งจะสูญหายไป [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
Central Processing Unit (CPU)ซีพียู, ชิปที่ติดตั้งอยู่บนเมนบอร์ด ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ เป็นสารกึ่งตัวนำขนาดเล็ก ภายในบรรจุวงจรอิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ ไว้มากมาย โดยวงจรจะประกอบด้วยทรานซิสเตอร์ขนาดเล็กเป็นจำนวนมาก บางครั้งจึงเรียกชิปต่างๆ ว่า ไอซี ทำหน้าที่ในการประมวลผล และควบคุมการทำงานของคอมพิ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
information and communication technology (ICT)เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ไอซีที), เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับข่าวสาร ข้อมูล และการสื่อสาร นับตั้งแต่การสร้าง การนำมาวิเคราะห์หรือการประมวลผล การรับและการส่งข้อมูล การจัดเก็บ และการนำข้อมูลไปใช้งานใหม่ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
registerรีจิสเตอร์, ที่เก็บข้อมูลชั่วคราวของเอแอลยู ในไมโครโปรเซสเซอร์ของคอมพิวเตอร์ ทำหน้าที่เก็บบิตของข้อมูล เพื่อนำมาให้คอมพิวเตอร์ใช้ในการประมวลผล [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
information processingการประมวลผลสารสนเทศ, การดำเนินการต่างๆกับข้อมูลเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่มีความหมาย และมีประโยชน์ต่อการนำไปใช้งานมากยิ่งขึ้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]

Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
การประมวลผล[kān pramūanphon] (n) EN: processing  FR: traitement [ m ]
การประมวลผลคำพูด[kān pramūanphon khamphūt] (n, exp) EN: speech processing  FR: traitement de la parole [ m ]
การประมวลผลข้อมูล[kān pramūanphon khømūn] (n, exp) EN: data processing  FR: traitement des données [ m ]
การประมวลผลข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์[kān pramūanphon khømūn thāng ilekthrønik] (n, exp) EN: Electronic Data Processing (EDP)
การประมวลผลภาพ[kān pramūanphon phāp] (n, exp) EN: image processing  FR: traitement de l'image [ m ]
การประมวลผลสารสนเทศ[kān pramūanphon sārasonthēt] (n, exp) EN: information processing  FR: traitement de l'information [ m ]

Longdo Approved EN-TH
workflow(n) ขั้นตอนการทำงาน ขั้นตอนการประมวลผล
pipelining(n) เทคนิคการประมวลผลคำสั่งของคอมพิวเตอร์แบบคู่ขนานกันไป
Perl(n, jargon, name) ชื่อภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงภาษาหนึ่ง เขียนโดยคุณ Larry Wall ในช่วงทศวรรษ 1980 เริ่มเป็นที่นิยมใช้ ในการประมวลผลข้อความ (Text) และใช้เขียน CGI program, หลังจากนั้นได้พัฒนาความสามารถในหลายๆ ด้าน จนสามารถใช้ในงานคอมพิวเตอร์ต่างๆ ได้อย่างหลากหลาย

NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
batch processing(n) การประมวลผลอย่างต่อเนื่องของโปรแกรมคอมพิวเตอร์, Syn. data processing
data processing(n) การประมวลผลข้อมูล (ทางคอมพิวเตอร์), See also: การใช้คอมพิวเตอร์จัดการข้อมูล
processor(n) อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เพื่อสร้าง จัดเก็บ ตรวจแก้ พิมพ์คำ ข้อความ (ทางคอมพิวเตอร์), See also: โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการประมวลผลข้อความ

Hope Dictionary
assembly languageภาษาแอสเซมบลีหมายถึง ภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมภาษาหนึ่งซึ่งจะตรงเข้าไปจัดการกับตัวไมโครโพรเซสเซอร์ หรือ "ตัวประมวลผล" ของเครื่องคอมพิวเตอร์ และจะทำการประมวลผลโดยตรงได้เลย โดยปกติ ภาษานี้จะเรียนยากและต้องเขียนยาวกว่าภาษา C หรือภาษา BASIC แต่จะทำให้ได้ผลลัพธ์ (result) เร็วกว่า และใช้เนื้อที่เก็บน้อยกว่าโปรแกรมภาษาอื่นมาก นิยมใช้ภาษานี้เมื่อต้องการประหยัดเวลาทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ และเพิ่มประสิทธิภาพของโปรแกรม โดยไม่ต้องพะวงถึงความชัดเจนมากนัก และที่สำคัญก็คือ โปรแกรมภาษานี้จะเขียนขึ้นมาเพื่อใช้เฉพาะกับเครื่องใดเครื่องหนึ่ง หากจะนำไปใช้กับเครื่องคนละรุ่น ก็จะต้องมีการปรับแก้ก่อน (ขึ้นกับหน่วยประมวลผลหรือ CPU)
batch processingการประมวลผลเชิงกลุ่มหมายถึงการประมวลผลที่ทำต่อเนื่องกันไปตามลำดับโดยมีระบบปฏิบัติการ (operating system) เป็นตัวควบคุม ในการประมวลผลแบบนี้ เราจะต้องจัดรวบรวมข้อมูลและแบ่งแยกเป็นกลุ่มไว้ให้เรียบร้อยก่อน จึงส่งเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อประมวลผลทีเดียว เมื่อเสร็จแล้วจึงจัดรวบรวมเป็นรายงาน หรือสรุปผลอีกทีหนึ่ง วิธีการประมวลผลแบบนี้ทำง่าย ประหยัด และตรงไปตรงมา แต่อาจจะช้าไปบ้าง เพราะต้องรอให้ข้อมูลเรียบร้อยก่อน ตรงกันข้ามกับการประมวลผลแบบเชื่อมตรง (on line proessing) ซึ่งหมายถึงการที่เครื่องจะประมวลผลทันทีที่ได้รับข้อมูลดู on line processing ประกอบ
benchmarkการวัดเปรียบเทียบสมรรถนะเกณฑ์มาตรฐานหมายถึง การทดสอบเพื่อวัดความสามารถในการประมวลผล หรือการทำงานของ โปรแกรมใดโปรแกรมหนึ่ง หรืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์ชนิดใดชนิดหนึ่ง โดยเทียบเคียงกับเกณฑ์มาตรฐาน
billisecondใช้ตัวย่อว่า BS เป็นหน่วยวัดความเร็วในการทำงานหรือการประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
central processing unitหน่วยประมวลผลกลางนิยมใช้ตัวย่อว่า CPU (ซีพียู) หมายถึง ส่วนที่เป็นสมองของเครื่องคอมพิวเตอร์หรือส่วนที่เรียกว่าตัวประมวลผล (microprocessor) และหน่วยความจำ ประกอบด้วยชิป (chip) ส่วนนี้นับเป็นส่วนสำ คัญที่สุด เพราะเป็นส่วนที่ใช้ทำหน้าที่ในการประมวลผล หรือทำการคำนวณ เมื่อทำการประมวลผล หรือคำนวณในส่วนนี้เสร็จแล้ว ก็จะถ่ายโอนผลลัพธ์ที่ได้ไปไว้ในส่วนอื่นอีกชั้นหนึ่ง ดู input unit และ output unit ประกอบ
centralized systemระบบศูนย์กลางหมายถึง วิธีการประมวลผลที่ผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์จะใช้ผ่านศูนย์กลางจากเครื่องปลายทาง (terminal) การเรียกหาข้อมูลหรือโปรแกรมที่จะใช้ จะเรียกจากศูนย์กลางทั้งหมดดู terminal ประกอบ
computer auditการตรวจสอบบัญชีด้วยคอมพิวเตอร์หมายถึง การนำคอมพิวเตอร์ไปใช้ในการตรวจสอบการประมวลผลเพื่อความถูกต้องทางบัญชี
computer scienceวิทยาการคอมพิวเตอร์สาขาวิชาทางคอมพิวเตอร์สาขาหนึ่ง ที่ว่าด้วยการกำหนดรูปแบบ และการนำเครื่องคอมพิวเตอร์และซอฟต์แวร์มาใช้งาน หรือสั่งให้ทำงานให้ตามความประสงค์ เป็นต้นว่า กระบวนการต่าง ๆ ในการประมวลผลข้อมูลเพื่อให้เป็นสารสนเทศ (information) ฯ อนึ่ง ศัพท์นี้ในภาษาไทยมีใช้กันอยู่หลายคำ เป็นต้นว่า คอมพิวเตอร์ศาสตร์ วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ ศาสตร์คอมพิวเตอร์ แต่ปัจจุบันนิยมใช้ วิทยาการคอมพิวเตอร์
concurrent processingการประมวลผลพร้อมกันหมายถึง การประมวลผลตั้งแต่สองโปรแกรมขึ้นไปพร้อม ๆ กัน แต่ในความเป็นจริงแล้ว เครื่องจะปฏิบัติงานได้ครั้งละหนึ่งโปรแกรมเท่านั้น เพียงแต่ว่าทำในอัตราที่รวดเร็วมาก จนดูประหนึ่งว่าทำงานหลาย ๆ โปรแกรมพร้อมกัน
data processingn. กระบวนการหรือเทคนิคการป้อนข้อมูล ใช้ตัวย่อว่า DP (อ่านว่า ดีพี) หมายถึง การนำข้อมูลดิบ (raw data) มาดำเนินการบางประการ เช่น จัดจำแนก คัดแยก คำนวณ บันทึก เปรียบเทียบ เพื่อให้เกิดผลตามที่ต้องการ หรือ ผลที่จะนำไปใช้ต่อไป โดยปกติจะใช้คำเต็ม ๆ ว่า electronic data processing หรือ EDP ซึ่งหมายเฉพาะถึง การประมวลผลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ เท่านั้น
data typeลักษณะข้อมูลหมายถึง การกำหนดข้อมูลที่จะใช้ให้มีลักษณะเป็นตัวเลข ตัวอักษร เลขจำนวนเต็ม หรือเลขทศนิยม เพื่อความสะดวกในการประมวลผล
ddp(ดีดีพี) ย่อมาจาก distributed data processing (แปลว่า การประมวลผลข้อมูลแบบกระจาย) หมายถึง การประมวลข้อมูลในหน่วยงานที่มีหลายสาขา และ การทำงานเป็นแบบต่างคนต่างทำ ต่างคนต่างมีข้อมูล แต่อาจมีการเชื่อมติดต่อกันโดยการสื่อสารข้อมูล (data communications) <คำย่อ> ดีดีพี ย่อมาจาก Drug Data for Pharmacist
decentralized data procesการประมวลผลข้อมูลแบบแยกจากศูนย์หมายถึงการประมวลผลข้อมูลที่มีการเก็บข้อมูลไว้ที่หน่วยงานแต่ละหน่วย ต่างฝ่ายต่างประมวลผลไปได้เองโดยไม่ต้องอาศัยข้อมูลจากกัน
display(ดิสเพล') vt. แสดง, เปิดเผย, โอ้อวด, แผ่ออก, เรียงพิมพ์ให้เด่นชัด n. การแสดง, การโอ้อวด, สิ่งที่แสดงให้เห็นชัด, นิทรรศการ, Syn. exhibit แสดงผลหน่วยแสดงผลหมายถึงการแสดงผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล สำหรับไมโครคอมพิวเตอร์แล้ว หน่วยแสดงผลก็คือจอภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์ นั่นเอง นอกจากนั้น การแสดงผลอาจแสดงได้ทางเครื่องพิมพ์ printer, พล็อตเตอร์ plotter ฯ
dp(ดีพี) ย่อมาจาก data processing (แปลว่า การประมวลผลข้อมูล) หมายถึงการนำข้อมูลดิบ (raw data) มาดำเนินการบางประการ เช่นจัดจำแนก คัดแยก คำนวณ บันทึก เปรียบเทียบ เพื่อให้เกิดผลตามต้องการหรือผลที่จะนำไปใช้ต่อไปได้ โดยปกติจะหมายถึงการประมวลผลโดยใช้คอมพิวเตอร์เท่านั้น
edp(อีดีพี) ย่อมาจาก electronic data processing (แปลว่า การประมวลผลข้อมูลแบบอิเล็กทรอนิกส์) หมายถึงการใช้เครื่องอิเล็กทรอนิกส์ (ซึ่งก็คือ เครื่องคอมพิวเตอร์ นั่นเอง) ทำการประมวลผลข้อมูลที่รับเข้าไปได้อย่างรวดเร็ว แล้วแสดงผลลัพธ์ให้ตามที่สั่ง
electronic data processinการประมวลผลข้อมูลแบบอิเล็กทรอนิกส์ใช้ตัวย่อว่า EDP (อ่านว่า อีดีพี) หมายถึงการใช้เครื่องอิเล็กทรอนิกส์ (ซึ่งก็คือ เครื่องคอมพิวเตอร์ นั่นเอง) ทำการประมวลผลข้อมูลที่รับเข้าไปได้อย่างรวดเร็ว และแสดงผลลัพธ์ให้ตามที่สั่ง
executive programโปรแกรมกระทำการหมายถึง โปรแกรมระบบ (systems software) ซึ่งมีหน้าที่กำกับดูแล หรือควบคุมการกระทำการ (execution) ของคอมพิวเตอร์ให้สอดคล้องกัน เป็นต้นว่า ดูแลการทำงานของหน่วยรับข้อมูล หน่วยแสดงผล (input/output unit) การดำเนินการและกำหนดการใช้หน่วยประมวลผลกลาง (CPU) หน่วยความจำ (memory unit) ให้ทำงานให้สอดคล้องกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในระบบทำงานแบบหลายชุดคำสั่ง หรือระบบมัลติโปรแกรมมิ่ง (multiprogramming) ชุดคำสั่งชุดนี้ เป็นส่วนหนึ่งของระบบปฏิบัติการ (operating system) มีหน้าที่หลักในการดูแลไม่ให้การประมวลผล โปรแกรมทีละหลาย ๆ โปรแกรม เกิดความสับสนกัน มีความหมายเหมือน supervisor
expert systemระบบผู้เชี่ยวชาญหมายถึง โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่แสดงความสามารถได้เหมือนกับผู้เชี่ยวชาญในสาขาต่าง ๆ หรือในงานเฉพาะอย่าง เช่น งานด้านการแพทย์ ระบบนี้จะรวมเอาความรู้ต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับเรื่องนั้น ๆ ซึ่งพวกมืออาชีพหรือผู้ชำนาญการได้รวบรวมไว้ กับต้องมีวิธีการที่จะใช้ในการประมวลผล โดยการตั้งคำถามให้ตอบ โปรแกรมประเภทนี้ จะต้องนำคำตอบเหล่านั้นมาประมวลผล เปรียบเทียบกับข้อมูลที่รวบรวมไว้แล้ว หาข้อสรุปให้ หรือช่วยแก้ปัญหาให้ คำตอบที่คอมพิวเตอร์ตอบนี้ ถือว่าเป็นคำตอบที่เหมือนกับที่ผู้เชี่ยวชาญจะตอบ
fetch(เฟทชฺ) { fetched, fetching, fetches } vt. ไปเอามา, ไปหยิบมา, เอามา, นำมา, ทำให้มา, ขายได้, ได้, (สูดลมหายใจ) , ถอนใจ, ทำให้ (ตกลงมา) , นำกลับ, ทำให้เกิดขึ้น. vi. ไปเอามา, เคลื่อน, แล่นเรือ, เอากลับ. -n. การไปเอามา, อุบาย, แผนการ, เขตลมคลื่น., ผี, See also: fetch a breat ไปนำมาหมายถึงนำข้อมูลหรือคำสั่งจากหน่วยความจำเข้าไปใส่ไว้ในหน่วยประมวลผลกลาง CPU เพื่อทำการประมวลผล บางทีใช้หมายถึงการโอนย้ายข้อมูลจากสื่อ medium เข้าไปเก็บในหน่วยความจำ
file processingการประมวลผลแฟ้มข้อมูลหมายถึงการนำแฟ้มข้อมูลมาประมวลผล โดยปกติหมายถึงการเขียนโปรแกรมสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำให้ เพื่อให้ได้ผลตามที่ต้องการ
hard copyสำเนาถาวรสิ่งพิมพ์ออก1. หมายถึง ผลลัพธ์หรือสารสนเทศ (information) หรือผลที่ได้จากการประมวลผลที่เครื่องคอมพิวเตอร์พิมพ์ออกมา เมื่อสั่ง ตรงข้ามกับ soft copy ซึ่งหมายถึง สารสนเทศหรือผลที่เห็นบนจอภาพ เมื่อปิดไฟก็จะหายไป ดู soft copy เปรียบเทียบ2. อีกความหมายหนึ่ง จะหมายถึงผลงานที่พิมพ์ลงกระดาษ
ieee(ไอทริพเพิลอี) ย่อมาจาก Institute of Electrical and Electronic Engineers แปลว่า สถาบันวิศวกรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ เป็นสถาบันที่ทำการศึกษาวิชาการด้านวิศวกรรมไฟฟ้า ซึ่งมีวิชาการด้านคอมพิวเตอร์รวมอยู่ด้วย เน้นในเรื่องการพัฒนาเทคโนโลยีและการประมวลผลข้อมูลเพื่อการแลdเปลี่ยนสารสนเทศ และความเป็นเลิศทางวิชาการ โดยเป็นผู้กำหนดมาตรฐานต่าง ๆ ให้ สถาบันนี้เป็นที่รู้จักและยอมรับในวงการทั่วไป
ifips(ไอฟิปส์) ย่อมาจาก International Federation of Information Processing Societies แปลว่า สหพันธ์สมาคมระหว่างประเทศเพื่อการประมวลผลสารสนเทศ เป็นองค์กรหนึ่งที่เกิดจากการรวมตัวกัน ในอันที่จะพัฒนาวิทยาการสารสนเทศ (information science) และการประมวลผลข้อมูลให้ก้าวหน้า
image processingการประมวลผลภาพเป็นเทคนิคในการประมวลผลที่มีข้อมูลเป็นภาพ คอมพิวเตอร์จะอ่านภาพที่ถูกส่งเข้าไป แล้วแปลงเป็นตัวเลข เราสามารถดัดแปลง แก้ไข ปรับขยาย หมุน ฯ เพื่อการวิเคราะห์บางอย่างได้ ปัจจุบัน ถือเป็นสาขาหนึ่งของคอมพิวเตอร์ที่มีการพัฒนาไปไกลมากจนเป็นที่ยอมรับ และมีผู้สนใจมาก การมีภาพประกอบในเอกสารต่าง ๆ หรือในการแสดงผลงาน จะช่วยทำให้งานนั้นน่าสนใจขึ้น
image scannerเครื่องตรวจภาพอุปกรณ์ที่ใช้ในการอ่านภาพหรือข้อความแล้วนำเข้าไปเก็บเป็น "ภาพ " ในหน่วยความจำ เพื่อนำมาใช้ในการประมวลผลต่อไป ดู scanner ประกอบ
information technologyเทคโนโลยีสารสนเทศใช้ตัวย่อว่า IT หมายถึงเทคโนโลยีในการรวบรวมข้อมูล การจัดเก็บอย่างมีระบบ การเรียกหาข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว การประมวลผล การวิเคราะห์ผลที่ได้จากการประมวลนั้น รวมไปถึงการเน้นในเรื่องการแสดงผล และประชาสัมพันธ์สารสนเทศนั้นอย่างมีประสิทธิภาพ ในรูปแบบที่เหมาะสมกับผู้ที่จะนำไปใช้ต่อไป ตลอดไปจนถึงการสื่อสารข้อมูลนั้นไปยังหน่วยงานต่าง ๆ ด้วย ว่ากันว่า IT กำลังจะก้าวเข้ามาแทนวิชา MIS (management information system) เพราะมีขอบเขตกว้างขวางกว่ามาก สรุปสั้น ๆ ได้ว่า เป็นเหมือนการนำวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ (computer science) รวมกับนิเทศศาสตร์ (mass communications)
input deviceอุปกรณ์รับเข้าหมายถึง เครื่องมือหรืออุปกรณ์ที่สามารถอ่านข้อมูล และส่งข้อมูลเข้าไปเก็บในเครื่องคอมพิวเตอร์ได้เพื่อให้ทำการประมวลผลต่อไป โดยอุปกรณ์นี้จะส่งข้อมูลหรือโปรแกรมไปยังหน่วยความจำก่อน ถ้าเป็นคอมพิวเตอร์เมนเฟรม ก็จะมีหลายชนิด เป้นต้นว่า หน่วยขับจานบันทึก หน่วยขับแถบบันทึก เครื่องกราดภาพ ฯ ถ้าเป็นไมโครคอมพิวเตอร์ ก็รวมถึง แป้นพิมพ์ เมาส์ ฯลฯ ด้วยดู output device เปรียบเทียบ
institute of electrical aสถาบันวิศวกรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ใช้ตัวย่อว่า IEEE (อ่านว่า ไอทริพเพิลอี) เป็นสถาบันที่ทำการศึกษาวิชาการด้านวิศวกรรมไฟฟ้า ซึ่งมีวิชาการด้านคอมพิวเตอร์รวมอยู่ด้วย เน้นในเรื่องการพัฒนาเทคโนโลยีและการประมวลผลข้อมูลเพื่อการแลกเปลี่ยนสารสนเทศ และความเป็นเลิศทางวิชาการ โดยเป็นผู้กำหนดมาตรฐาน ต่าง ๆ ให้ สถาบันนี้เป็นที่รู้จักและยอมรับในวงการทั่วไป
integratd programชุดคำสั่งเบ็ดเสร็จหมายถึง โปรแกรมที่ผู้ผลิต ผลิตออกมาเป็นชุดเดียวกัน สามารถทำงานได้หลาย โดยเฉพาะงานสำนักงานทั่วไป ที่ใช้กันมาก ได้แก่ โปรแกรมการประมวลผลคำ ตารางจัดการ ฐานข้อมูล และการสื่อสาร เป็นต้น โดยปกติโปรแกรมประเภทนี้จะทำงานแต่ละอย่างได้ไม่ดีนัก แต่ถ้าต้องเสียเงินซื้อก็จะถูกกว่าไปจ้างเขาเขียน
integrated softwareซอฟต์แวร์เบ็ดเสร็จส่วนชุดคำสั่งเบ็ดเสร็จหมายถึง โปรแกรมที่ผู้ผลิต ผลิตออกมาเป็นชุดเดียวกัน สามารถทำงานได้หลาย โดยเฉพาะงานสำนักงานทั่วไป ที่ใช้กันมาก ได้แก่ โปรแกรมการประมวลผลคำ ตารางจัดการ ฐานข้อมูล และการสื่อสาร เป็นต้น โดยปกติโปรแกรมประเภทนี้จะทำงานแต่ละอย่างได้ไม่ดีนัก แต่ถ้าต้องเสียเงินซื้อก็จะถูกกว่าไปจ้างเขาเขียน
it(อิท) pron. มัน, นั่น, ตัว, คน, บุคคล, ตัวมาร, ตัวการ, คนสำคัญ, คนโง่. n. คนเล่น, สถานการณ์โดยทั่วไป ไอทีย่อมาจาก information technology แปลว่า เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึงเทคโนโลยีในการรวบรวมข้อมูล การจัดเก็บอย่างมีระบบ การเรียกหาข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว การประมวลผล การวิเคราะห์ผลที่ได้จากการประมวลนั้น รวมไปถึงการเน้นในเรื่องการแสดงผล และประชาสัมพันธ์สารสนเทศนั้นอย่างมีประสิทธิภาพ ในรูปแบบที่เหมาะสมกับผู้ที่จะนำไปใช้ต่อไป ตลอดไปจนถึงการสื่อสารข้อมูลนั้นไปยังหน่วยงานต่าง ๆ ด้วย ว่ากันว่า IT กำลังจะก้าวเข้ามาแทนวิชา MIS (management information system) เพราะมีขอบเขตกว้างขวางกว่ามาก สรุปสั้น ๆ ได้ว่า เป็นเหมือนการนำวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ (computer science) รวมกับนิเทศศาสตร์ (mass communications)
jcl(เจซีแอล) ย่อมาจาก job control language ที่แปลว่า ภาษาควบคุมงาน หมายถึง คำสั่งที่จะกำหนดระบบการประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์โดยติดต่อผ่านทางระบบปฏิบัติการ (operating system) ว่า จะทำงานต่าง ๆ อย่างไร ใช้รหัสใดเพื่อสื่อสารให้ระบบปฏิบัติการควบคุมการทำงานให้ อาจจะเพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยของข้อมูล การเรียกหาแฟ้มข้อมูลบางแฟ้ม รวมทั้งการใช้อุปกรณ์รับข้อมูลหรืออุปกรณ์แสดงผลชนิดใด
job control languageภาษาควบคุมงานใช้ตัวย่อว่า JCL หมายถึง คำสั่งที่จะกำหนดระบบการประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์โดยติดต่อผ่านทางระบบปฏิบัติการ (operating system) ว่า จะทำงานต่าง ๆ อย่างไร ใช้รหัสใดเพื่อสื่อสารให้ระบบปฏิบัติการควบคุมการทำงานให้ อาจจะเพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยของข้อมูล การเรียกหาแฟ้มข้อมูลบางแฟ้ม รวมทั้งการใช้อุปกรณ์รับข้อมูลหรืออุปกรณ์แสดงผลชนิดใด
livewareหมายถึง บุคคลที่ทำงานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ เป็นต้นว่า1. วิศวกรคอมพิวเตอร์ (computer engineer) ซึ่งมีหน้าที่ดูแลเรื่องการบำรุงรักษาตัวเครื่อง หรือเรื่องอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับส่วนตัวเครื่อง (hardware) 2. นักวิเคราะห์ระบบ (system analyst) คือ ผู้ที่จะวิเคราะห์ระบบงานที่จะใช้คอมพิวเตอร์ในการประมวลผล3. นักเขียนชุดคำสั่งหรือผู้ทำโปรแกรม (programmer) คือผู้ที่จะเขียนคำสั่งต่าง ๆ ให้คอมพิวเตอร์ปฏิบัติตาม4. ผู้ควบคุมเครื่อง (operator) คือผู้ที่จะบังคับควบคุมคอมพิวเตอร์ ด้วยการกดปุ่มบนแผงหน้าปัด ให้ทำงานตามคำสั่ง5. ผู้เตรียมข้อมูล (data entry operator) หมายถึงผู้ที่นำข้อมูลลงในสื่อชนิดใดชนิดหนึ่ง เช่น แถบบันทึก จานบันทึกมีความหมายเหมือน peopleware
multiprogrammingการทำงานแบบหลายโปรแกรมมัลติโปรแกรมมิงหมายถึง การที่คอมพิวเตอร์เครื่องเดียวสามารถทำโปรแกรมพร้อมกันได้มากกว่า 2 โปรแกรมขึ้นไป เช่น ในขณะที่อ่านโปรแกรมหนึ่งเข้าไปเก็บ หน่วยประมวลผลก็ประมลผลข้อมูลของอีกโปรแกรมหนึ่งไปพร้อม ๆ กัน และหน่วยแสดงผลก็อาจแสดงผลที่ได้รับจากการทำโปรแกรมก่อนหน้านั้น (อันที่จริง ไม่ใช่การประมวลผลโปรแกรมพร้อมกัน เพียงแต่หน่วยต่าง ๆ ทำงานพร้อม ๆ กัน เท่านั้น)
natural language processiการประมวลผลภาษาธรรมชาติหมายถึง การที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถทำการประมวลผลได้โดยใช้โปรแกรมที่เขียนด้วยภาษาธรรมชาติ พูดง่าย ๆ ก็คือ สามารถใช้ภาษาธรรมดา ๆ สั่งการให้คอมพิวเตอร์ปฏิบัติตามได้ ในปัจจุบัน คอมพิวเตอร์จะใช้ภาษาเฉพาะที่มีกฎเกณฑ์ ไวยากรณ์ และศัพท์ของตนเอง ที่เรียกว่า ภาษาเชิงมนุษย์ (human oriented language) เช่น ภาษา C ภาษา BASIC ภาษา COBOL ฯ ส่วนภาษาธรรมชาตินั้น หมายถึง ภาษาที่ใช้ในชีวิตประจำวัน เช่น ภาษาอังกฤษ ภาษาไทย แม้ว่าในปัจจุบัน จะมีการ พัฒนาด้านนี้กันไปไกลมาแล้ว แต่ก็สรุปได้ว่า ยังใช้การไม่ได้ดีเท่าที่ควร ทั้งนี้อาจเป็นเพราะภาษานั้นมีความสลับซับซ้อนเป็นอย่างมาก ยากที่จะแปลหรือตีความให้ตาย ตัวได้
neural networkเครือข่ายเส้นประสาทหมายถึง ระบบคอมพิวเตอร์ที่สร้างขึ้นเลียนแบบเส้นใยประสาทของมนุษย์ ที่เรียกว่า นิวโรน ในสมองมนุษย์ ซึ่งมีนับจำนวนล้าน ๆ ตัว การประมวลผลกิจกรรมต่าง ๆ จะออกมาในลักษณะแบบขนาน (ไม่ใช่แบบอนุกรม) หมายถึง ทำงานพร้อม ๆ กัน เพื่อให้ได้คำตอบอันเดียว ทั้งนี้หมายถึง การที่ต้องสามารถทำงานที่สลับซับซ้อนมาก ๆ โดยเรียนรู้จากประสบการณ์ได้เอง ฉะนั้นการที่เครือข่ายแบบนิวโรนนี้จะให้คำตอบได้ก็ต่อเมื่อมีการส่งปัญหาต่าง ๆ เข้าไปให้ลองทำมาก ๆ เครือข่ายแบบนี้จะเป็นประโยชน์ เฉพาะในงานประมวลผลงานบางประเภท เช่น เรื่องการประมวลผลเกี่ยวกับการซื้อขายหุ้นในตลาด หรือการหาความคล้ายคลึงระหว่างภาพหลาย ๆ ภาพ เช่น ลายนิ้วมือ เป็นต้น ดู artificial intelligence ประกอบ
off line processingการประมวลผลแบบไม่เชื่อมตรงหมายถึง การประมวลผลที่ทำขึ้นโดยไม่มีการเชื่อมต่อกับหน่วยประมวลผลกลาง (central processing unit) เช่น การแปลงข้อมูลจากบัตรแล้วบันทึกข้อมูลลงในแถบบันทึก หรือจานบันทึก เป็นต้นดู on line processing เปรียบเทียบ
on line processingการประมวลผลแบบเชื่อมตรงหมายถึง การประมวลผลที่ทำโดยอุปกรณ์ที่อยู่ภายใต้การควบคุมของเครื่องคอมพิวเตอร์ ไม่ว่าอุปกรณ์นั้นจะเป็นส่วนหนึ่งของตัวเครื่อง (เช่นเครื่องอ่านบัตร) หรืออุปกรณ์นั้นจะอยู่ห่างออกไปแต่สามารถติดต่อโดยตรงกับเครื่องได้ เช่น การประมวลผลโดยมีการสื่อสารระหว่างเครื่องปลายทางหรือเทอร์มินัล (terminal) และหน่วยประมวลผลกลางโดยทางโทรศัพท์ หรือวิธีอื่น ๆ การทำเช่นนี้เครื่องจะประมวลผลทันทีที่ได้รับข้อมูล ซึ่งจะเข้าสู่ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ตลอดเวลา เช่น ที่ใช้ในการส่งยานอากาศไปนอกโลก การถอนเงินในระบบเงินด่วน เป็นต้น ดู batch processing เปรียบเทียบ
output dataข้อมูลออกหมายถึงข้อมูลที่คอมพิวเตอร์ทำการประมวลผลให้เรียบร้อยแล้ว พร้อมที่จะส่งออกไปทางจอภาพ เครื่องพิมพ์ พล็อตเตอร์ หรืออุปกรณ์ส่งออกอื่น ๆ รวมทั้งหน่วยขับจานบันทึก
output deviceอุปกรณ์ส่งออกอุปกรณ์แสดงผลหมายถึงอุปกรณ์ที่ใช้ในการแสดงข้อมูลที่อยู่ในหน่วยความจำ หรือผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล การแสดงนั้นอาจแสดงผ่านทางอุปกรณ์ได้หลายชนิด เป็นต้นว่า จอภาพ เครื่องพิมพ์ พล็อตเตอร์ รวมทั้งหน่วยขับจานบันทึก ดู input device เปรียบเทียบ
page description languageใช้ตัวย่อว่า PDL (พีดีแอล) เป็นภาษาที่ใช้เขียนโปรแกรมภาษาหนึ่ง เช่นเดียวกับโพสต์คริปต์ (postcript) ซึ่งจะทำการประมวลผลในหน่วยประมวลผลของเครื่องพิมพ์เอง ในพีดีแอลนั้น จะต้องมีคำสั่งเกี่ยวกับเรื่องของการกำหนดหน้า การคำนวณภาพกราฟิก แม้จะมีความยาวมาก แต่ก็จะทำงานได้เร็วกว่า คำสั่งที่ส่งไปจากเครื่องคอมพิวเตอร์แบบพีซีแอล พีดีแอลนั้นจะใช้ได้กับเครื่องพิมพ์ทุกยี่ห้อที่สามารถเข้าใจภาษานี้ ปัจจุบันแมคอินทอชใช้พีดีแอล ที่ชื่อ "postcript" ส่วนพีซีใช้พีดีแอลที่ชื่อ "true type" (เทียบเคียงได้กับ postcript)
paper tape punchเครื่องเจาะแถบกระดาษเครื่องเจาะเทปกระดาษหมายถึง เครื่องเจาะแถบกระดาษให้เป็นรู เพื่อแสดงผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ เครื่องเจาะนี้จะต้องได้รับสัญญาณจากหน่วยประมวลผลกลาง (CPU) มีความเร็วในการเจาะประมาณ 15 - 150 แถวต่อวินาที ดู paper tape ประกอบ
pararell processingการประมวลผลแบบขนานหมายถึง การที่คอมพิวเตอร์สามารถทำการประมวลผลได้มากกว่าสองอย่างในเวลาเดียวกัน ในกรณีเช่นนี้ คอมพิวเตอร์จะต้องเป็นคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ ไม่ใช่พีซีหรือแมคอินทอช เพราะจะต้องมีตัวประมวลผลเป็นพัน ๆ ตัว (ในขณะที่ไมโครคอมพิวเตอร์มีเพียงตัวเดียว) จึงจะสามารถทำได้ การประมวลผลขนาดนี้ มักใช้กับงานประเภทปัญญาประดิษฐ์ (artificial intelligence)
pdl(พีดีแอล) 1. ย่อมาจาก page description language เป็นภาษาที่ใช้เขียนโปรแกรมภาษาหนึ่ง เช่นเดียวกับโพสต์คริปต์ (postcript) ซึ่งจะทำการประมวลผลในหน่วยประมวลผลของเครื่องพิมพ์เอง ในพีดีแอลนั้น จะต้องมีคำสั่งเกี่ยวกับเรื่องของการกำหนดหน้า การคำนวณภาพกราฟิก แม้จะมีความยาวมาก แต่ก็จะทำงานได้เร็วกว่า คำสั่งที่ส่งไปจากเครื่องคอมพิวเตอร์แบบพีดีแอลนั้น จะใช้ได้กับเครื่องพิมพ์ทุกยี่ห้อที่สามารถเข้าใจภาษานี้ ปัจจุบันแมคอินทอชใช้พีดีแอล ที่ชื่อ "postcript" ส่วนพีซีใช้พีดีแอลที่ชื่อ "true type" (เทียบเคียงได้กับ postcript) 2. ย่อมาจาก personal digital assistant (เครื่องช่วยงานส่วนบุคคลแบบดิจิตอล) หมายถึงคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่นำติดตัวไปไหนมาไหนได้ ผู้ใช้สามารถจดบันทึกข้อมูลลงไปด้วยปากกาพิเศษ เช่น แบบสินค้า แผนที่เส้นทางไปจุดนัดพบ รวมทั้งข้อมูล ต่าง ๆ รวมทั้งนัดหมายประจำวัน ฯ
pipelineการทำงานแบบสายท่อหมายถึง วิธีการเชื่อมโยงสองโปรแกรมหรือกว่านั้นเข้าด้วยกัน โดยกำหนดให้ผลที่เกิดจากการประมวลผลในโปรแกรมแรก เป็นตัวกำหนดเรียกโปรแกรมที่สอง (หมายความว่า โปรแกรมที่สองจะเป็นโปรแกรมใด ขึ้นกับผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลในโปรแกรมแรก) การประมวลผลในโปรแกรมที่สองก็จะเรียกโปรแกรมต่อไป วิธีการนี้ใช้ในระบบยูนิกซ์ (UNIX) และ ดอส (DOS)
preprocssorตัวประมวลผลก่อนเป็นชุดคำสั่งที่ใช้ให้จัดการเตรียมข้อมูลไว้สำหรับการประมวลผลขั้นต่อไป เป็นต้นว่า จัดรูปแบบไว้ก่อน หรือคำนวณไว้ให้ขั้นตอนหนึ่งก่อน เป็นต้น
priority processingการประมวลผลตามลำดับความสำคัญหมายถึงการประมวลผลไปตามระดับความสำคัญของโปรแกรม (ที่มีการกำหนดไว้ก่อนแล้ว)
query processingการประมวลผลข้อคำถามหมายถึง การประมวลผลด้วยภาษาสอบถาม (query language) ดู query language ประกอบ

Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
nlp(n, modal, verb, adv, slang) การประมวลผลภาษาธรรมชาติ
Perl(n, jargon, name) ชื่อภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงภาษาหนึ่ง เขียนโดยคุณ Larry Wall ในช่วงทศวรรษ 1980 เริ่มเป็นที่นิยมใช้ ในการประมวลผลข้อความ (Text) และใช้เขียน CGI program, หลังจากนั้นได้พัฒนาความสามารถในหลายๆ ด้าน จนสามารถใช้ในงานคอมพิวเตอร์ต่างๆ ได้อย่างหลากหลาย
Perl(n, jargon, name) ชื่อภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงภาษาหนึ่ง เขียนโดยคุณ Larry Wall ในช่วงทศวรรษ 1980 เริ่มเป็นที่นิยมใช้ ในการประมวลผลข้อความ (Text) และใช้เขียน CGI program, หลังจากนั้นได้พัฒนาความสามารถในหลายๆ ด้าน จนสามารถใช้ในงานคอมพิวเตอร์ต่างๆ ได้อย่างหลากหลาย
processing of personal data(phrase) การประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล

Longdo Unapproved JP-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
アップリンクID[アップリンクアイディー, appurinkuaidi^] ก. ผู้ควบคุมข้อมูล | เจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูล ผู้ควบคุมข้อมูลสำหรับการประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลคือ Freiwillige รับผิดชอบในการควบคุม Unterhaltungssoftware GmbH Torstr. 6 10119 เบอร์ลิน เยอรมนี อีเมล

Time: 1.1695 secondsLongdo Dict -- https://dict.longdo.com/