Speech synthesis | การสังเคราะห์เสียง [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Speech synthesis | การสังเคราะห์เสียง [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Chemical synthesis in solution | การสังเคราะห์ทางเคมีในสารละลาย [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Electrochemical synthesis | การสังเคราะห์โดยวิธีทางไฟฟ้า-เคมี [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Synthesis | การสังเคราะห์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Photosynthesis | การสังเคราะห์แสง [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
speech synthesis | การสังเคราะห์เสียง, Example: กระบวนการเปลี่ยนข้อความให้เป็นคำที่คอมพิวเตอร์สามารรถพูดได้ กระบวนการนี้มีลักษณะตรงกันข้ามกับ speech recognition [คอมพิวเตอร์] |
Speech Synthesis | การสังเคราะห์เสียง, ซอฟต์แวร์ที่ทำให้คอมพิวเตอร์ออกเสียงมนุษย์ได้ [Assistive Technology] |
Asymmetric synthesis | การสังเคราะห์แบบอสมมาตร [TU Subject Heading] |
Photosynthesis | การสังเคราะห์แสง [TU Subject Heading] |
Predetermined motion time systems | ระบบเวลามาตรฐานที่ได้จากการสังเคราะห์การเคลื่อนไหวพื้นฐานที่ทราบล่วงหน้า [TU Subject Heading] |
Speech synthesis | การสังเคราะห์เสียงพูด [TU Subject Heading] |
Synthesis | การสังเคราะห์ [TU Subject Heading] |
Photosynthesis | การสังเคราะห์ด้วยแสง, Example: การสังเคราะห์สารอินทรีย์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งคาร์โบไฮเดรตจากคาร์บอนไดออกไซด์ น้ำและเกลืออนินทรีย์ โดยใช้แสงอาทิตย์เป็นแหล่งกำเนิดพลังงาน [สิ่งแวดล้อม] |
Acrylic rubber or Polyacrylate rubber (ACM) | ยาง ACM เป็นยางสังเคราะห์ชนิดหนึ่งที่เกิดจากการทำปฏิกิริยาระหว่างมอนอเมอร์ของอะ ไครเลต (acrylic ester) และมอนอเมอร์ที่ว่องไวต่อปฏิกิริยาคงรูป (cure site monomer) มีหลายเกรดขึ้นกับชนิดของอะไครเลตที่ใช้ในการสังเคราะห์ สมบัติเชิงกลของยางชนิดนี้สูงเพียงพอสำหรับการใช้งานส่วนใหญ่โดยเฉพาะเมื่อ เติมสารเสริมแรง เช่น เขม่าดำ ซิลิกา ยางชนิดนี้ทนต่อการเสื่อมสภาพอันเนื่องมาจากออกซิเจน โอโซน และความร้อนได้เป็นอย่างดี ทนต่อน้ำมันส่วนใหญ่ได้ดี แต่ไม่ทนต่อน้ำมันเชื้อเพลิง ไม่ทนต่อน้ำและสารเคมีต่างๆ ยางชนิดนี้นำไปผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ที่ต้องการทั้งความทนทานต่อความร้อนและ น้ำมัน โดยเฉพาะชิ้นส่วนยานยนต์ เช่น ยางโอริง ปะเก็นท่อน้ำมัน วาวล์ เป็นต้น [เทคโนโลยียาง] |
Mastication | ขั้นตอนการบดให้ยางนิ่ม มักใช้กับยางธรรมชาติเนื่องจากยางธรรมชาติมีน้ำหนักโมเลกุลสูงมาก (ความหนืดสูงมาก) การบดยางให้นิ่มเป็นการทำให้โมเลกุลฉีกขาด น้ำหนักโมเลกุลของยางลดลง (ใช้แรงเฉือน และออกซิเจนในอากาศ) สามารถทำได้โดยการบดยางล้วนๆ หรืออาจเพิ่มประสิทธิภาพในการบดยางได้โดยการเติมเพปไทเซอร์ลงไปเล็กน้อยและ การใช้อุณหภูมิสูง ผลที่ได้ทำให้ยางนิ่มลง เมื่อผสมสารเคมีลงไปจะทำให้สารเคมีนั้นให้เข้าเป็นเนื้อเดียวกับยางได้ง่าย ขึ้น ส่วนยางสังเคราะห์ที่มีการควบคุมน้ำหนักโมเลกุลตั้งแต่ขั้นตอนการสังเคราะห์ ทำให้ความหนืดเริ่มต้นไม่สูงมาก จึงไม่จำเป็นต้องนำมาบดให้นิ่มก่อน [เทคโนโลยียาง] |
Styrene-butadiene rubber | ยางเอสบีอาร์เป็นยางสังเคราะห์ชนิดหนึ่งซึ่งผลิตโดยการเตรียมโคพอลิ เมอร์ระหว่างสไตรีนและบิวทาไดอีนด้วยวิธีพอลิเมอไรเซชั่นแบบอิมัลชัน (Emulsion polymerization) มีชื่อเรียกว่า Buna-S (สมัยสงครามโลกครั้งที่ 1) และ GR-S (สมัยสงครามโลกครั้งที่ 2) เป็นยางที่ใช้ในงานทั่วไป ราคาไม่แพง มีหลายเกรดขึ้นกับกระบวนการสังเคราะห์ ยางเอสบีอาร์เมื่อเปรียบเทียบกับยางธรรมชาติจะมีคุณภาพสม่ำเสมอกว่า มีสิ่งเจือปนน้อยกว่า และที่สำคัญคือ ไม่ต้องบดยางให้นิ่มก่อนทำการผสมเคมียางเนื่องจากยางชนิดนี้ถูกสังเคราะห์มา ให้มีน้ำหนักโมเลกุลที่ไม่สูงมากนัก จึงมีความหนืดที่เหมาะสมทำให้สารเคมีกระจายตัวได้ดี ไหลได้ง่ายในระหว่างการขึ้นรูป มีแนวโน้มที่จะเกิดยางตายในระหว่างกระบวนการผลิตน้อยกว่า มีอัตราเร็วในการคงรูปช้ากว่าและถูกออกซิไดซ์ได้ช้ากว่ายางธรรมชาติ ทำให้สามารถผสมยางในเครื่องผสมระบบปิดที่อุณหภูมิสูงกว่าได้ แม้ว่ายางเอสบีอาร์จะมีค่าความทนต่อแรงดึงและความทนต่อการฉีกขาดต่ำกว่ายาง ธรรมชาติ เนื่องจากไม่สามารถเกิดการตกผลึกได้เมื่อถูกยืด แต่ถ้ามีการเติมสารตัวเติมเสริมแรงลงไปก็สามารถทำให้ค่าดังกล่าวสูงใกล้ เคียงหรือต่ำกว่ายางธรรมชาติเพียงเล็กน้อย สามารถนำไปใช้งานได้หลากหลาย เช่น การผลิตสายพาน พื้นรองเท้า ฉนวนหุ้มสายไฟ และส่วนมากจะถูกนำไปใช้ในอุตสาหกรรมผลิตยางล้อยานพาหนะขนาดเล็กโดยใช้ผสมกับ ยางชนิดอื่นๆ เช่น ยางธรรมชาติ ยางบิวทาไดอีน [เทคโนโลยียาง] |
Biosynthesis | การสังเคราะห์, ชีวสังเคราะห์, ขบวนการชีวะสังเคราะห์ [การแพทย์] |
Collagen Synthesis | การสร้างเยื่อประสาน, การสังเคราะห์คอลลาเจน [การแพทย์] |
Condensation | การควบแน่น, ควบแน่น, วิธีการควบแน่น, คอนเดนเซชัน, การสังเคราะห์โดยดึงน้ำออก [การแพทย์] |
Deoxyribonucleotides | การสังเคราะห์ดีออกซีไรโบนิวคลีไอไทด์การสร้างสายดีออกซิไรโบนิวคลีโอไทด์ [การแพทย์] |
Enzyme Induction | การเหนี่ยวนำเอ็นไซม์, การเหนี่ยวนำการสังเคราะห์เอนไซม์, การเหนี่ยวนำทางเอนไซม์ [การแพทย์] |
Enzymes, Synthetic | เอ็นไซม์ที่เกี่ยวกับการสังเคราะห์ [การแพทย์] |
photosynthesis | กระบวนการสังเคราะห์ แสง [อุตุนิยมวิทยา] |
Knowledge synthesis | การสังเคราะห์ความรู้ [การจัดการความรู้] |
photosynthesis | การสังเคราะห์ด้วยแสง, กระบวนการสร้างอาหารของสิ่งมีชีวิตที่มีคลอดโรฟิลล์ เช่น พืชสีเขียวและโพรทิสต์บางชนิดโดยใช้น้ำและคาร์บอนไดออกไซด์เป็นวัตถุดิบและมีคลอโรฟิลล์กับพลังงานแสงเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา ผลที่ได้ก็คือ คาร์โบไฮเดรตและแก๊สออกซิเจน กระบวนการนี้แสดงได้โดยสมการ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
chlorophyll | คลอโรฟิลล์, สารสีเขียวพบในพืชและโพรทิสต์บางชนิด มีสมบัติในการดูดพลังงานแสง ซึ่งใช้ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
nicotinamide adenine dinucleotide phosphate (NADP) | นิโคตินาไมด์อะดีนีนไดนิวคลีโอไทด์ ฟอสเฟต, สารอินทรีย์ชนิดหนึ่ง ทำหน้าที่เป็นตัวรับไฮโดรเจนในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง ซึ่งเมื่อรับไฮโดรเจนแล้วจะอยู่ในรูปของ NADPH2 [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
autotrophic bacteria | แบคทีเรียที่สร้างอาหารได้เอง, แบคทีเรียที่ดำรงชีวิตโดยสร้างอาหารได้เองจากการสังเคราะห์ด้วยแสงหรือสังเคราะห์ทางเคมี [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
light reaction | ปฏิกิริยาแสง, ปฏิกิริยาตรึงพลังงานแสง, กระบวนการในการสังเคราะห์ด้วยแสงที่รับเอาพลังงานแสงมาสร้างสารประกอบ ATP และ NADPH [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Calvin cycle | วัฏจักรคัลวิน, ขั้นหนึ่งของกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง เป็นการเปลี่ยนแปลงสารที่มีคาร์บอน 5 อะตอม โดยมีคาร์บอนไดออกไซด์เข้าร่วม กลายเป็นสารที่มีคาร์บอน 3 อะตอม แล้วสารที่มีคาร์บอน 3 อะตอมนี้จะเปลี่ยนกลับไปเป็นสารที่มีคาร์บอน 5 อะตอมใหม่อีกครั้งหนึ่ง เป็นวัฏจักรเช่นนี้เรื่ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
hypothalamus | ไฮโพทาลามัส, ส่วนล่างของสมองส่วนหน้าที่ยื่นออกมาติดกับต่อมใต้สมอง เซลล์ประสาทของสมองบริเวณนี้ส่วนมากทำหน้าที่สร้างฮอร์โมนประสาทหลายชนิด ซึ่งควบคุมการสังเคราะห์ฮอร์โมนภายในต่อมใต้สมอง [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
synthesis | การสังเคราะห์, กระบวนการในการทำให้เกิดสารประกอบที่ต้องการโดยการนำสารประกอบย่อย ๆ มาทำปฏิกิริยากันให้ได้สารประกอบโมเลกุลใหญ่หรือมีความซับซ้อนมากขึ้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
absorption | การดูดกลืน, กระบวนการที่วัตถุดูดกลืนสารหรือพลังงาน เช่น ใบไม้ ดูดกลืนพลังงานแสงบางความถี่ เพื่อใช้ในการสังเคราะห์ ด้วยแสง หรือผิวโลหะดูดกลืนพลังงานแสงบางความถี่ แล้วทำให้เกิดโฟโตอิเล็กตรอน เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
autotrophic organism | สิ่งมีชีวิตที่สร้างอาหารได้เอง, พืชสีเขียวและโพรทิสต์บางชนิดที่สร้างอาหารได้เองโดยการสังเคราะห์ด้วยแสงหรือสังเคราะห์ทางเคมี [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
chemosynthesis | การสังเคราะห์ทางเคมี, กระบวนการสร้างอาหารของสิ่งมีชีวิตบางชนิดโดยใช้พลังงานจากปฏิกิริยาเคมี [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
citrulline | ซิตรัลลีน, กรดอะมิโนชนิดหนึ่ง สูตรเคมีคือ C6H13O3N3 เกิดขึ้นระหว่างการสังเคราะห์อาร์จินีน และการเกิดยูเรียในร่างกาย [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
dark reaction | ปฏิกิริยาที่ไม่ต้องใช้แสง, กระบวนการในการสังเคราะห์ด้วยแสงที่นำ ATP และ NADPH2 ซึ่งได้จากปฏิกิริยาที่ต้องใช้แสงมาเปลี่ยนคาร์บอนไดออกไซด์ ให้เป็นคาร์โบไฮเดรต [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Hill reaction | ปฏิกิริยาฮิลล์, ปฏิกิริยาการแยกน้ำโดยแสงในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
synthetic dye | สีย้อมสังเคราะห์, สารเคมีที่มีสีซึ่งได้จากการสังเคราะห์ สีย้อมสังเคราะห์ส่วนมากมีโมเลกุลเล็กและสามารถละลายได้ในสารละลาย ใช้ย้อมวัสดุพวกสิ่งทอ กระดาษ หนังสัตว์ ขี้ผึ้ง หรือขนสัตว์ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Gene Synthesis in Vitro | การสังเคราะห์ยีนในหลอดทดลอง [การแพทย์] |
Genome Synthesis | การสังเคราะห์ยีโนม [การแพทย์] |
Intermediates | สารที่เกิดขึ้นระหว่างการสังเคราะห์, ตัวกลาง, สารมัธยันต์, สารแกนกลาง, ผลิตผลตัวกลาง, สารตัวกลาง [การแพทย์] |
Intermediates, Synthetic | ตัวกลางสำหรับการสังเคราะห์ [การแพทย์] |
Lake, Synthetic | เลคที่ได้จากการสังเคราะห์ [การแพทย์] |
Linkers, Synthetic | การสังเคราะห์ตัวเชื่อม [การแพทย์] |
Lipogenesis | การสังเคราะห์ไขมัน, การสร้างไขมัน [การแพทย์] |