ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: มนู, -มนู- |
trade terms | [เทรด เทอมส] (n) "ข้อตกลงในการส่งมอบสินค้า" ยังไม่เจาะจงลงไปว่าเป็นแหล่งอ้างอิงจากชื่อใด เข่น AFTD: American Foreign Trade Definition หรือ RWO: Rules of Warsaw and Oxford หรือ GCDM: General Conditions for Delivery of Merchandise หรือ Combiterms หรือ Incoterms ซึ่งในแต่ละแหล่งอ้างอิงมี Terms ให้ใช้คล้ายกัน เช่น Ex Works, FOB หรือ CIF เป็นต้น อย่างไรก็ตาม แหล่งอ้างอิงที่เสถียรในเรื่องค่าใช้จ่ายและความเสี่ยงในการส่งมอบ คือแหล่ง Incoterms ทำให้หลายแหล่ง เช่น ล่าสุดทางอเมริกา ประกาศยกเลิก ธรรมนูญการค้าหรือ UCC บางส่วนที่เกี่ยวข้องกับการส่งมอบสินค้าของตน ซึ่ง UCC นี้เองได้เป็นฐานในการกำหนดงเป็น AFTD ล่าสุดอเมริกาและแทบทั้งโลกมาขอใช้ร่วมกับ Incoterms ของ ICC International Chamber of Commerce, Paris, France นี้ เป็นมีการกำหนดจุดรับภาระที่แน่นอนกว่า |
|
| เมนู | (n) menu, Syn. รายการอาหาร, Example: เมนูเด็ดของร้านนี้คือต้มยำกุ้ง, Notes: (อังกฤษ) | ธรรมนูญ | (n) charter, See also: constitution, code, covenant, compact, contract, Syn. กฎหมายธรรมนูญ, Count Unit: บท, มาตรา, Thai Definition: กฎหมายที่จัดระเบียบองค์กร, Notes: (บาลี, สันสกฤต) | รัฐธรรมนูญ | (n) constitution, Example: ตามรัฐธรรมนูญไทย รัฐกับศาสนามิได้แยกจากกัน และรัฐมีหน้าที่ต้องดูแลศาสนาด้วย, Count Unit: ฉบับ | กรมพระธรรมนูญ | (n) The Judge Advocate General's Department, Syn. ธน., Example: กรมพระธรรมนูญมีผู้บังคับบัญชาเป็นหัวหน้าเหล่ายศพลโท, Thai Definition: หน่วยงานที่ขึ้นตรงสำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม มีหน้าที่เกี่ยวกับศาลทหาร อัยการทหาร นายทหารพระธรรมนูญ ราชการในส่วนธุรการและวิชาการที่เกี่ยวกับกฎหมายและสังคมศาสตร์ มีเจ้ากรมพระธรรมนูญเป็นผู้บังคับบัญชารับผิดชอบ | ศาลรัฐธรรมนูญ | (n) constitutional court, Example: หากส.ส. คนใดต้องการอุทธรณ์ รัฐธรรมนูญเปิดช่องให้อุทธรณ์ต่อศาลรัฐธรรมนูญได้ภายใน 30 วัน | ร่างรัฐธรรมนูญ | (n) draft of a constitution, See also: constitutional draft, Example: พรรคสามัคคีธรรมดำเนินการเคลื่อนไหวเพื่อคัดค้านและต่อต้านร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้อย่างเปิดเผย, Count Unit: ฉบับ, Thai Definition: เค้าโครงของรัฐธรรมนูญ |
| กฎหมายรัฐธรรมนูญ | น. กฎหมายที่วางระเบียบการปกครองรัฐในทางการเมือง โดยกำหนดโครงสร้างของรัฐ ระบอบการปกครอง การใช้อำนาจอธิปไตย การคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชน และความสัมพันธ์ระหว่างสถาบันที่ใช้อำนาจอธิปไตย. | ธรรมนูญ | น. กฎหมายที่จัดระเบียบองค์กร เช่น ธรรมนูญศาลทหาร พระธรรมนูญศาลยุติธรรม. | พระธรรมนูญศาลยุติธรรม | น. กฎหมายที่จัดระเบียบองค์กรศาลยุติธรรม และกำหนดอำนาจศาล ตลอดจนเขตอำนาจของศาลยุติธรรมต่าง ๆ. | พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ | น. รูปแบบของกฎหมายที่พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นตามคำแนะนำและยินยอมของฝ่ายนิติบัญญัติในเรื่องที่รัฐธรรมนูญกำหนดไว้เป็นการเฉพาะ เช่น เรื่องเกี่ยวกับการเลือกตั้ง พรรคการเมือง ศาลรัฐธรรมนูญ และรัฐธรรมนูญกำหนดหลักเกณฑ์ในการเสนอ การพิจารณาและการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญไว้เป็นพิเศษแตกต่างจากพระราชบัญญัติ. | มนุสาร, มนูสาร, มโนสาร | น. ชื่อคัมภีร์กฎหมายมนูธรรมศาสตร์ฉบับย่อ. | มนู | น. ชื่อพระผู้สร้างมนุษยชาติและปกครองโลก มี ๑๔ องค์ เรียงกันเป็นยุค ๆ ไป, ยุคหนึ่งเรียกว่า มนวันดร นานกว่า ๔, ๐๐๐, ๐๐๐ ปี องค์แรก คือ พระสวายมภูวะ พระมนูองค์นี้ถือกันว่าเป็นผู้ทรงออกกฎหมายหรือธรรมศาสตร์ซึ่งยังมีอยู่ตราบเท่าทุกวันนี้เรียกว่า มนุสัมหิตา หรือ มนุสมฺฤติ, เพราะฉะนั้น คำ มนู จึงหมายถึงกฎหมายก็ได้ เช่น มนูกิจ. | รัฐธรรมนูญ | (รัดถะทำมะนูน, รัดทำมะนูน) น. บทกฎหมายสูงสุดที่จัดระเบียบการปกครองประเทศ กำหนดรูปแบบและระบอบการปกครองของประเทศ สิทธิ เสรีภาพ และหน้าที่ของประชาชน อำนาจหน้าที่ขององค์กร และความสัมพันธ์ระหว่างองค์กร. | วันรัฐธรรมนูญ | น. วันที่ระลึกเนื่องในวันที่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชทานรัฐธรรมนูญฉบับถาวรฉบับแรกให้แก่ประชาชนชาวไทย ตรงกับวันที่ ๑๐ ธันวาคม. | ศาลรัฐธรรมนูญ | น. ศาลที่มีอำนาจพิจารณาวินิจฉัยปัญหาข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับรัฐธรรมนูญ. | กฎหมายมหาชน | น. กฎหมายที่วางระเบียบโครงสร้างและการปกครองของรัฐหรือการบริหารราชการแผ่นดิน รวมตลอดทั้งความเกี่ยวพันระหว่างรัฐกับเอกชน เช่น กฎหมายรัฐธรรมนูญ กฎหมายอาญา กฎหมายปกครอง. | กบฏ | เป็นฐานความผิดอาญา ที่เกี่ยวกับการล้มล้างรัฐธรรมนูญ อำนาจนิติบัญญัติ อำนาจบริหาร อำนาจตุลาการ และการแบ่งแยกราชอาณาจักรหรือยึดอำนาจปกครอง. | กระดองหาย | น. ไม้สำหรับสงฟางในเวลานวดข้าว เช่น ด่าตีกันด้วยเคียวไม้กระตักและไม้กระดองหาย (ลักษณะธรรมนูญ), ดอง ดองหาย ดองฉาย ขอฉาย หรือ คันฉาย ก็เรียก. | กระตัก | น. ประตัก คือ ไม้ที่ฝังเหล็กแหลมข้างปลาย ใช้แทงสัตว์พาหนะเช่นวัว เช่น ด่าตีกันด้วยเคียวไม้กระตัก (ลักษณะธรรมนูญ). | ก่อการร้าย | น. เป็นฐานความผิดอาญา ที่ผู้กระทำก่อให้เกิดอันตรายอย่างร้ายแรงต่อบุคคล ต่อทรัพย์สินอันเป็นสาธารณะ หรือต่อทรัพย์สินของรัฐหนึ่งรัฐใด หรือของบุคคลใดหรือต่อสิ่งแวดล้อมอันก่อให้เกิดความเสียหายทางเศรษฐกิจอย่างสำคัญ โดยผู้กระทำมุ่งหมายเพื่อขู่เข็ญหรือบังคับรัฐบาลไทย รัฐบาลต่างประเทศ หรือองค์การระหว่างประเทศ ให้กระทำหรือไม่กระทำการใดอันจะก่อให้เกิดความเสียหายอย่างร้ายแรง หรือเพื่อสร้างความปั่นป่วนโดยให้เกิดความหวาดกลัวในหมู่ประชาชน แต่ทั้งนี้ไม่รวมถึงการใช้เสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ. | กะลาซอ | น. กะลามะพร้าวที่มีปุ่มนูนเป็นรูปสามเส้า ใช้สำหรับทำซอสามสาย, เรียกลักษณะของหัวกะโหลกศีรษะที่เป็นรูปอย่างนั้น. | กาฬโรค | (กานละ-, กาละ-) น. ชื่อโรคระบาดอย่างร้ายแรงชนิดหนึ่ง มักมีอาการบวมนูนที่รักแร้เป็นต้น. | แก้วตา | น. ส่วนสำคัญของตาที่ทำให้แลเห็น, ส่วนใสของดวงตามีรูปกลมนูนทั้ง ๒ ข้าง ลักษณะใส แต่พื้นหลังนูนออกมากกว่าพื้นหน้า ตั้งอยู่ภายในดวงตา (ข้างหลังกระจกตา กั้นอยู่ระหว่าง posterior chamber กับ vitreous body ของดวงตา) | คณะรัฐมนตรี | น. คณะบุคคลซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้ง ประกอบด้วยนายกรัฐมนตรีคนหนึ่ง และรัฐมนตรีอื่นอีกไม่เกินจำนวนที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ เพื่อทำหน้าที่บริหารราชการแผ่นดิน. | คณะองคมนตรี | น. คณะบุคคลซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงเลือกและแต่งตั้งตามพระราชอัธยาศัยจากผู้ทรงคุณวุฒิ ประกอบด้วยประธานองคมนตรีคนหนึ่ง และองคมนตรีอื่นอีกไม่เกินจำนวนที่รัฐธรรมนูญกำหนด มีหน้าที่ถวายความเห็นต่อพระมหากษัตริย์ในพระราช-กรณียกิจทั้งปวงที่พระมหากษัตริย์ทรงปรึกษา และมีหน้าที่อื่นตามที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ. | ฆ้อง | น. เครื่องตีชนิดหนึ่ง ทำด้วยโลหะผสม รูปร่างเป็นแผ่นวงกลมมีปุ่มนูนกลมตรงกลางสำหรับตี มีขอบยื่นลงมารอบตัว เรียกว่า ใบฉัตร มีหลายชนิด เช่น ฆ้องกระแต ฆ้องชัย ฆ้องวง. | จอมเปาะ | ว. กลมนูนอย่างปุ่มฆ้อง. | ฉาบ ๑ | น. เครื่องตีกำกับจังหวะชนิดหนึ่ง ทำด้วยโลหะ รูปร่างเป็นแผ่นกลมคล้ายจาน มีปุ่มนูนขึ้นตรงกลาง เจาะรูกลางปุ่มร้อยเชือกหรือเส้นหนังสำหรับจับ มี ๒ ขนาด คือ ขนาดเล็ก เรียกว่า ฉาบเล็ก เส้นผ่านศูนย์กลาง ๑๒-๑๔ เซนติเมตร และขนาดใหญ่ เรียกว่า ฉาบใหญ่ กว้าง ๒๔-๒๖ เซนติเมตร. | ตัวจี๊ด | น. ชื่อพยาธิตัวกลมชนิด Gnathostoma spinigerum Owen ในวงศ์ Gnathostomatidae ลำตัวสีแดง ยาว ๑๐-๕๐ มิลลิเมตร ตัวเต็มวัยพบในกระเพาะของสุนัข แมว และเสือ ตัวอ่อนพบในปลา ไก่ กบ หรือสัตว์เลื้อยคลาน ติดต่อถึงคนได้ เมื่อกินเนื้อสัตว์เหล่านี้ที่ยังดิบซึ่งมีตัวอ่อนของพยาธิชนิดนี้อยู่ ตัวอ่อนเมื่ออยู่ในคนสามารถเคลื่อนตัวไปตามเนื้อเยื่อส่วนต่าง ๆ ได้ อาจเป็นตุ่มนูนขึ้นมาตามผิวหนัง ทำให้บวมและปวด, หนอนด้น ก็เรียก. | ติงทุเลา | ก. ถ่วงเวลา, แย้งขอให้ระงับไว้ก่อน, เช่น แลอั้นคำค้านเสียมิได้ถามพญาณ แลอั้นคำท้วงติงทุเลาเสีย (สามดวง พระธรรมนูน), ครั้นว่าพี่มีคำติงทุเลา ช่างกระไรไม่เอาสักอย่าง (รามเกียรติ์ ร. ๒). | นมสวรรค์ | น. ชื่อไม้พุ่มชนิด Clerodendrum paniculatum L. ในวงศ์ Labiatae ขึ้นตามที่ชุ่มชื้น ที่โคนใบมีต่อมนูนหลายต่อม ดอกสีแดงอมส้ม ออกเป็นช่อตามยอด ผลเล็ก มี ๔ พู ใช้ทำยาได้, พนมสวรรค์ ก็เรียก. | ผู้ตรวจการแผ่นดิน | น. องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ มีหน้าที่สอบสวนข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย หรือปฏิบัตินอกเหนืออำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย หรือการละเลยไม่ปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ของรัฐหรือหน่วยงานของรัฐ รวมทั้งอำนาจหน้าที่ในการเสนอเรื่องต่อศาลปกครองหรือศาลรัฐธรรมนูญเมื่อเห็นว่ากฎหมาย กฎ ข้อบังคับ หรือการกระทำใดของบุคคลใดมีปัญหาเกี่ยวกับความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ. | ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร | น. สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งจากหัวหน้าพรรคการเมืองในสภาผู้แทนราษฎรที่สมาชิกในสังกัดของพรรคตนมิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี ตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ. | ไฝ | น. จุด หรือตุ่มนูนที่มีสีดำหรือแดงขึ้นอยู่คงที่ตามตัว แต่ขนาดอาจเปลี่ยนได้. | พระราชกฤษฎีกา | บทบัญญัติที่พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นโดยอาศัยอำนาจตามรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ หรือพระราชกำหนด เพื่อใช้ในการบริหารราชการแผ่นดิน. | พระราชกำหนด | น. รูปแบบของกฎหมายที่พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นให้มีผลใช้บังคับไปพลางก่อนตามคำแนะนำของฝ่ายบริหาร เนื่องจากเป็นกรณีฉุกเฉินที่มีความจำเป็นเร่งด่วนเพื่อประโยชน์ในอันที่จะรักษาความปลอดภัยของประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ ความมั่นคงในทางเศรษฐกิจของประเทศ หรือป้องปัดภัยพิบัติสาธารณะ ตามเงื่อนไขที่กำหนดให้รัฐธรรมนูญ พระราชกำหนดเมื่อได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภาแล้วมีผลใช้บังคับเป็นพระราชบัญญัติ. | มนุ | น. มนู. | มนุช | น. “ผู้เกิดจากมนู” คือ คน. | เม็ดพระศก | น. ปุ่มนูนของขมวดผมบนเศียรพระพุทธรูป. | รับสนองพระบรมราชโองการ | ก. ลงนามที่จะปฏิบัติตามพระบรมราชโองการเพื่อให้เป็นพระบรมราชโองการที่ถูกต้องตามรัฐธรรมนูญ. | วุฒิสภา | น. สภานิติบัญญัติสภาหนึ่ง อาจประกอบด้วยสมาชิกที่มาจากการแต่งตั้ง เลือกตั้ง หรือแต่งตั้งและเลือกตั้งผสมกัน มีหน้าที่กลั่นกรองกฎหมายและหน้าที่อื่นตามที่รัฐธรรมนูญกำหนด. | เวนคืนอสังหาริมทรัพย์ | ก. บังคับเอาที่ดินหรืออสังหาริมทรัพย์อื่นของเอกชนคืนมาเป็นของรัฐโดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายเฉพาะเพื่อประโยชน์ของส่วนรวมตามที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ โดยรัฐต้องชดใช้ค่าทดแทนที่เป็นธรรม. | ศาลทหาร | น. ศาลที่ตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติธรรมนูญศาลทหาร พ.ศ. ๒๔๙๘ ซึ่งมีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีอาญาที่ผู้กระทำผิดเป็นบุคคลซึ่งอยู่ในอำนาจศาลทหาร เช่น ทหารพลเรือนที่สังกัดอยู่ในราชการทหาร. | ศาลยุติธรรม | น. ศาลที่มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีทั้งปวง ที่ไม่อยู่ในเขตอำนาจของศาลรัฐธรรมนูญ ศาลปกครอง และศาลทหาร. | สภาผู้แทนราษฎร | น. สภาที่ทำหน้าที่นิติบัญญัติของประเทศ ประกอบด้วยสมาชิกซึ่งมาจากการเลือกตั้งของประชาชน มีหน้าที่ให้คำแนะนำและยินยอมในการตรากฎหมาย การควบคุมการบริหารราชการแผ่นดิน และหน้าที่อื่นตามที่รัฐธรรมนูญกำหนด. | สหพันธรัฐ | น. รัฐหลายรัฐที่รวมกันเป็นรัฐรวม โดยมีรัฐบาลกลางเป็นผู้ดำเนินกิจการต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับประโยชน์ส่วนรวมตามที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ แต่ละรัฐมีอำนาจเฉพาะกิจการภายในรัฐของตนเท่านั้น. | สิทธิ, สิทธิ์ | (สิดทิ, สิด) น. อำนาจอันชอบธรรม เช่น บุคคลมีสิทธิและหน้าที่ตามรัฐธรรมนูญ เขามีสิทธิ์ในที่ดินแปลงนี้. (ป., ส.) | องคมนตรี | (องคะ-) น. ตำแหน่งที่มีหน้าที่ถวายความเห็นต่อพระมหากษัตริย์ในพระราชกรณียกิจทั้งปวงที่พระมหากษัตริย์ทรงปรึกษา และมีหน้าที่อื่นตามที่บัญญัติในรัฐธรรมนูญ. | อัยการ | องค์กรอื่นตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยประกอบด้วยคณะกรรมการอัยการ อัยการสูงสุด และพนักงานอัยการอื่น โดยมีสำนักงานอัยการสูงสุดเป็นหน่วยธุรการ มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการดำเนินคดีอาญาทั้งปวง ดำเนินคดีแพ่งหรือคดีปกครอง และให้คำปรึกษาด้านกฎหมาย ตรวจร่างสัญญาและเอกสารทางกฎหมายแก่รัฐบาลและหน่วยงานของรัฐ คุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชน และอำนาจหน้าที่ตามที่กำหนดไว้ในกฎหมาย เรียกว่า องค์กรอัยการ, เดิมเรียกว่า กรมอัยการ, ถ้าหมายถึงเจ้าพนักงานผู้ปฏิบัติหน้าที่ในฐานะทนายแผ่นดิน เรียกว่า พนักงานอัยการ หรือ ข้าราชการอัยการ, โบราณเรียกว่า พนักงานรักษาพระอัยการ ยกกระบัตร หรือ ยกบัตร. |
| power, resulting | อำนาจของรัฐบาลกลางที่ได้มาโดยทางอื่น (นอกจากทางรัฐธรรมนูญ) (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | Law for the Organization of Courts of Justice | กฎหมายว่าด้วยธรรมนูญศาลยุติธรรม (ไทย) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | law, constitutional | กฎหมายรัฐธรรมนูญ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | limitations, constitutional | ข้อจำกัดอำนาจโดยรัฐธรรมนูญ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | liberty of assembly | เสรีภาพในการชุมนุม (ก. รัฐธรรมนูญ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | rigid constitution | รัฐธรรมนูญที่แก้ไขยาก [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | resulting power | อำนาจของรัฐบาลกลางที่ได้มาโดยทางอื่น (นอกจากทางรัฐธรรมนูญ) (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | referendum, mandatory | การลงประชามติแก้ไขรัฐธรรมนูญ, การลงประชามติแก้ไขกฎบัตร [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | right of accession | สิทธิที่จะสืบราชสันตติวงศ์ (ก. รัฐธรรมนูญ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | recess | ๑. การพักการนั่งพิจารณา (ก. วิ.)๒. การพักการประชุม (สภานิติบัญญัติ) (ก. รัฐธรรมนูญ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | subject | ๑. คนในบังคับ (ก. รัฐธรรมนูญ)๒. เรื่อง (ก. ทั่วไป) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | accession, right of | สิทธิที่จะสืบราชสันตติวงศ์ (ก. รัฐธรรมนูญ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | assemble | ๑. ชุมนุม (ก. รัฐธรรมนูญ และ ก. ปกครอง)๒. มั่วสุม (ก. อาญา) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | assembly, constituent | สภาร่างรัฐธรรมนูญ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | assembly, liberty of | เสรีภาพในการชุมนุม (ก. รัฐธรรมนูญ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | amendment, constitutional | การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | Judge Advocate General | ๑. เจ้ากรมพระธรรมนูญทหารบก๒. เจ้ากรมพระธรรมนูญ (ไทย) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | Judge Advocate of the Fleet | เจ้ากรมพระธรรมนูญทหารเรือ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | Judge Advocate-General | เจ้ากรมพระธรรมนูญ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | question | ๑. ปัญหา (ก. ทั่วไป)๒. กระทู้ถาม (ก. รัฐธรรมนูญ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | Basic Law | กฎหมายหลักพื้นฐาน (รัฐธรรมนูญสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ค.ศ. ๑๙๔๙) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | bill | ๑. ตั๋วเงิน (ก. แพ่ง)๒. ใบแจ้งหนี้ (ก. แพ่ง)๓. ร่างกฎหมายที่เสนอสภา (ก. รัฐธรรมนูญ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | mandatory referendum | การลงประชามติแก้ไขรัฐธรรมนูญ, การลงประชามติแก้ไขกฎบัตร [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | manubrium | ๑. แมนูเบรียม [ สาหร่ายไฟ ]๒. กาบเขียง [ มีความหมายเหมือนกับ cymba ] [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] | minority | ๑. ฝ่ายข้างน้อย (ก. รัฐธรรมนูญ)๒. ภาวะผู้เยาว์ (ก. แพ่ง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | majority | ๑. นิติภาวะ (ก. แพ่ง)๒. เสียงข้างมาก (ในการประชุมบริษัท) (ก. พาณิชย์)๓. เสียงข้างมาก, ฝ่ายข้างมาก (ก. รัฐธรรมนูญ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | monarchy, constitutional | ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | minister | ๑. รัฐมนตรี (ก. รัฐธรรมนูญ)๒. อัครราชทูต (ก. ระหว่างประเทศ)๓. ศาสนาจารย์ (ก. ปกครอง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | constituent assembly | สภาร่างรัฐธรรมนูญ [ ดู constitutional convention ] [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | constituent assembly | สภาร่างรัฐธรรมนูญ [ ดู constitutional convention ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | constitutional right | สิทธิตามรัฐธรรมนูญ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | constitutional tribunal | คณะตุลาการรัฐธรรมนูญ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | constitutional tribunal | ศาลรัฐธรรมนูญ, คณะตุลาการรัฐธรรมนูญ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | constitutionalism | รัฐธรรมนูญนิยม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | constitutional amendment | การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | constitutional convention | สภาร่างรัฐธรรมนูญ (อเมริกัน)[ ดู constituent assembly ] [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | constitutional convention | สภาร่างรัฐธรรมนูญ (อเมริกัน) [ ดู constituent assembly ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | constitutional government | การปกครองระบอบรัฐธรรมนูญ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | constitutional law | กฎหมายรัฐธรรมนูญ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | constitutional law | กฎหมายรัฐธรรมนูญ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | constitutional limitations | ข้อจำกัดอำนาจโดยรัฐธรรมนูญ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | constitutional limitations | ข้อจำกัดอำนาจฝ่ายนิติบัญญัติโดยรัฐธรรมนูญ (ในการออกกฎหมาย) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | constitutional monarchy | ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | chancellor | นายกรัฐมนตรี (ของบางประเทศ เช่น สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี) (ก. รัฐธรรมนูญ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | convention, constitutional | สภาร่างรัฐธรรมนูญ (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | convention, constitutional | สภาร่างรัฐธรรมนูญ (อเมริกัน) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | chilling effect doctrine | ลัทธิที่ขัดขวางการใช้สิทธิของบุคคลตามรัฐธรรมนูญ (ก. อเมริกัน) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | conference | ๑. การประชุมร่วม (ของผู้แทนองค์กรต่าง ๆ) (ก. ปกครอง)๒. การประชุมของคณะกรรมาธิการร่วมระหว่างสองสภา (ก. รัฐธรรมนูญ)๓. การปรึกษาระหว่างลูกความกับทนายความ (ป. วิ. อาญา) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | constituent power | อำนาจเสนอขอแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ (อเมริกัน) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | constitution | รัฐธรรมนูญ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
| Palette | เมนูสี [คอมพิวเตอร์] | Bas-relief | ประติมากรรมนูนต่ำ [TU Subject Heading] | Constitution conventions | จารีตและประเพณีทางรัฐธรรมนูญ [TU Subject Heading] | Constitutional amendments | การแก้ไขรัฐธรรมนูญ [TU Subject Heading] | Constitutional courts | ศาลรัฐธรรมนูญ [TU Subject Heading] | Constitutional history | ประวัติรัฐธรรมนูญ [TU Subject Heading] | Constitutional law | กฎหมายรัฐธรรมนูญ [TU Subject Heading] | Constitutions | รัฐธรรมนูญ [TU Subject Heading] | Menu design | การออกแบบเมนู [TU Subject Heading] | Relief (Sculpture) | ประติมากรรมนูน [TU Subject Heading] | Rome Statute of the International Criminal Court (1998) | ธรรมนูญกรุงโรมว่าด้วยศาลอาญาระหว่างประเทศ (ค.ศ. 1998) [TU Subject Heading] | Heads of State | ผู้แทนที่สำคัญที่สุดของรัฐ หรือประมุขของรัฐ ในบางกรณีอาจทำหน้าที่เป็นตัวแทนของรัฐ ในการเจริญความสัมพันธ์กับประเทศต่างๆ โดยมีอำนาจเต็มที่จะประกอบการใด ๆ ได้ ประมุขของรัฐนั้นอาจได้แก่ พระจักรพรรดิ (Emperor) พระเจ้าแผ่นดิน (King) พระราชินี (Queen) และประธานาธิบดี (President)ประมุขของรัฐย่อมมีสิทธิที่จะได้รับการเคารพ และการยอมรับนับถือจากประเทศอื่นๆ ในสังคมนานาประเทศ ในแง่พิธีการทูต ผู้ที่เป็นกษัตริย์อาจได้รับเกียรติแตกต่างกับผู้ที่เป็นประธานาธิบดี แต่ความแตกต่างเช่นนี้หามีความสำคัญในแง่กฎหมายอย่างใดไม่ เมื่อประมุขของรัฐเดินทางไปเยือนต่างประเทศ ตัวประมุขพร้อมด้วยบุคคลในครอบครัวและบริวารทั้งหลาย ตลอดจนถึงทรัพย์สินของประมุขจะไดรับความคุ้มกัน (Immunity) ทั้งในทางแพ่งและอาญาคำว่าประมุขของรัฐอาจหมายถึงหัวหน้าของรัฐบาลก็ได้ เช่น ในกรณีสหรัฐอเมริกา แต่ในบางประเทศ เช่น อังกฤษ ประมุขของรัฐมิได้เป็นหัวหน้าของรัฐบาล ผู้ที่เป็นหัวหน้าของรัฐบาลได้แก่ นายกรัฐมนตรี (Prime Minister) ในประเทศที่มีการปกครองในรูปสาธารณรัฐ (Republic) ถือว่าอำนาจอธิปไตยตกอยู่กับประชาชน แม้แต่ตัวประธานาธิบดีของประเทศก็ไม่มีอำนาจอธิปไตย หากแต่เป็นประชาชนพลเมืองคนหนึ่ง ซึ่งได้รับการเลือกตั้งให้เข้าไปบริหารประเทศตามกำหนดระยะเวลาหนึ่งภายใต้ รัฐธรรมนูญ และตัวประธานาธิบดี เช่น ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา ก็อาจถูกฟ้องให้ขับออกจากตำแหน่งโดยรัฐสภา หรือสภานิติบัญญัติได้ เรียกว่า Impeachment [การทูต] | Judicial Settlement | การระงับข้อพิพาทระหว่างรัฐโดยศาลตุลาการ ก่อนที่จะเกิดองค์การสหประชาชาติ รัฐทั้งหลายที่มีกรณีพิพาทระหว่างประเทศจะฟ้องร้องต่อศาลระวห่างประเทศแห่ง หนึ่ง มีชื่อว่าศาลประจำยุติธรรมระหว่าประเทศ (Permanent Court of International Justice) ซึ่งองค์การสันนิบาตชาติ (League of Nations) จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 13 ธันวาคม ค.ศ. 1920 ได้ประชุมกันเป็นครั้งแรก ณ กรุงเฮก เมื่อวันที่ 30 มกราคม ค.ศ. 1922 หลังจากนั้นเป็นเวลา 23 ปี ผู้พิพากษาของศาลก็ได้ลาออกในปีค.ศ. 1946 และสันนิบาตชาติได้ยุบศาลนี้ในปีเดียวกันเมื่อมีการสถาปนาองค์การสหประชา ชาติขึ้น ได้มีการจัดตั้งศาลระหว่างประเทศขึ้นใหม่ เรียกว่า ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ (International Court of Justice) ตามกฎบัตรสหประชาชาติ กฎบัตรนี้ได้บัญญัติไว้ในมาตรา 92 ว่า ?ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศจักเป็นองค์กรทางตุลาการอันสำคัญของสหประชาชาติ ศาลจักดำเนินหน้าที่ตามธรรมนูญผนวกท้าย ซึ่งยึดถือธรรมนูญของศาลประจำยุติธรรมระหว่างประเทศเป็นมูลฐาน และซึ่งถือเป็นส่วนหนึ่งส่วนเดียวกับกฎบัตรฉบับปัจจุบัน?ศาลยุติธรรมระหว่าง ประเทศนี้ ประชุมกันเป็นครั้งแรก เมื่อวันที่ 3 เมษายน ค.ศ. 1946 [การทูต] | Palestine Question | ปัญหาปาเลสไตน์ เมื่อวันที่ 2 เมษายน ค.ศ. 1947 ประเทศอังกฤษได้ขอให้สมัชชาใหญ่สหประชาชาติ ทำการประชุมสมัยพิเศษเพื่อพิจารณาปัญหาปาเลสไตน์ สมัชชาได้ประชุมกันระหว่างวันที่ 28 เมษายน ถึงวันที่ 15 พฤษภาคม ค.ศ. 1947 และที่ประชุมได้จัดตั้งคณะกรรมการพิเศษเกี่ยวกับปาเลสไตน์ขึ้น ประกอบด้วยผู้แทนจากประเทศสมาชิกรวม 11 ประเทศ ซึ่งหลังจากที่เดินทางไปตรวจสถานการณ์ในภาคตะวันออกกลาง ก็ได้เสนอรายงานเกี่ยวกับปัญหาดังกล่าว รายงานนี้ได้ตั้งข้อเสนอแนะรวม 12 ข้อ รวมทั้งโครงการฝ่ายข้างมาก (Majority Plan) และโครงการฝ่ายข้างน้อย (Minority Plan) ตามโครงการข้างมาก กำหนดให้มีการแบ่งดินแดนปาเลสไตน์ออกเป็นรัฐอาหรับแห่งหนึ่ง รัฐยิวแห่งหนึ่ง และให้นครเยรูซาเล็มอยู่ภายใต้ระบบการปกครองระหว่างประเทศ รวมทั้งให้ดินแดนทั้งสามแห่งนี้มีความสัมพันธ์ร่วมกันในรูปสหภาพเศรษฐกิจ ส่วนโครงการฝ่ายข้างน้อย ได้เสนอให้ตั้งรัฐสหพันธ์ที่เป็นเอกราชขึ้น ประกอบด้วยรัฐอาหรับและรัฐยิว อันมีนครเยรูซาเล็มเป็นนครหลวงต่อมาในวันที่ 29 พฤศจิกายน ค.ศ. 1947 สมัชชาสหประชาชาติได้ประชุมลงมติรับรองข้อเสนอของโครงการฝ่ายข้างมาก ซึ่งฝ่ายยิวได้รับรองเห็นชอบด้วย แต่ได้ถูกคณะกรรมาธิการฝ่ายอาหรับปฏิเสธไม่รับรอง โดยต้องการให้มีการจัดตั้งรัฐอาหรับแต่เพียงแห่งเดียว และทำหน้าที่คุ้มครองสิทธิของคนยิวที่เป็นชนกุล่มน้อย อนึ่ง ตามข้อมติของสมัชชาสหประชาชาติได้กำหนดให้อำนาจอาณัติเหนือดินแดนปาเลสไตน์ สิ้นสุดลงและให้กองทหารอังกฤษถอนตัวออกไปโดยเร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ และอย่างช้าไม่เกินวันที่ 1 สิงหาคม ค.ศ. 1948 นอกจากนั้นยังให้คณะมนตรีภาวะทรัสตีของสหประชาชาติจัดทำธรรมนูญการปกครองโดย ละเอียดสำหรับนครเยรูซาเล็มจากนั้น สมัชชาสหประชาชาติได้ตั้งคณะกรรมาธิการปาเลสไตน์แห่งสหประชาชาติขึ้น ประกอบด้วยประเทศโบลิเวีย เช็คโกสโลวาเกีย เดนมาร์ก ปานามา และฟิลิปปินส์ ทำหน้าที่ปฏิบัติให้เป็นไปตามข้อเสนอแนะของสมัชชา ส่วนคณะมนตรีความมั่นคงก็ได้รับการขอร้องให้วางมาตรการที่จำเป็น เพื่อวินิจฉัยว่า สถานการณ์ในปาเลสไตน์จักถือว่าเป็นภัยคุกคามต่อสันติภาพหรือไม่ และถ้าหากมีการพยายามที่จะใช้กำลังเพื่อเปลี่ยนแปลงความตกลงตามข้อมติของ สมัชชาเมื่อใด ให้ถือว่าเป็นภัยคุกคามต่อสันติภาพ โดยอาศัยข้อ 39 ของกฎบัติสหประชาชาติเป็นบรรทัดฐาน [การทูต] | Bended Appearance | ลักษณะเป็นตุ่มนูนแบบลูกประคำ [การแพทย์] | Constitution | ลักษณะเฉพาะตน, ธรรมนูญ [การแพทย์] | Erythema Nodosum | อีริทีมาโนโดซุม, โรค, อีริย์ธีมาโนโดซัม, ตุ่มนูนแดงและกดเจ็บ, อีริธีมาโนโดซุม [การแพทย์] | Erythematous Margined Nodules | ผิวหนังเป็นตุ่มนูนแดง [การแพทย์] | Fractures, Clay Shovel | ปุ่มนูนกระดูกคออันที่6หัก [การแพทย์] | Induration | รอยบวมแข็ง, ตุ่มนูนแข็ง, แข็ง, การบวมปูด, อาการบวม, รอยนูนที่แดง [การแพทย์] | Monuron | โมนูรอน [การแพทย์] |
| - They're not with us anymore. I wanna help- | - พวกเขาไม่ได้อยู่กับเราอีกต่อไป ฉันอยากเมนู 'ช่วยเหลือ' Pulp Fiction (1994) | I did their menus, and... a small record label. | ออกแบบเมนู แล้วก็... บริษัทเพลงเล็ก ๆ Heat (1995) | I'd like to know if you approve of the menu. | ฉันอยากได้รับความเห็นชอบจากคุณเรื่องเมนูก่อน Rebecca (1940) | The defendant doesn't even have to open his mouth. That's in the Constitution. | จำเลยไม่ได้มีการเปิดปากของเขา ที่อยู่ในรัฐธรรมนูญ 12 Angry Men (1957) | Excuse me... | ขอโทษนะ เมนูนี้ Help! (1965) | How about a little service around here? What's great about a place you can't even get a menu? | ที่นี่มันดีตรงไหนนะ เมนูยังไม่มีให้เลย *batteries not included (1987) | You want a menu, pal? What for? | อยากได้เมนูเหรอเพื่อน เอาไปทำไม แกจะได้จานพิเศษอยู่แล้ว *batteries not included (1987) | Who wants to spit on the Constitution of the United States of America? | ใครอยากถ่มน้ำลายรดรัฐธรรมนูญ ของสหรัฐอเมริกาบ้าง Field of Dreams (1989) | - Over here? - Right down there. | ตรงนั้นเหรอ หัวมุมนู้น Goodfellas (1990) | He's gonna make a mockery. | เขากำลังทำสิ่งที่ไม่เหมาะสมในศาล ผมมีสิทธิ์พูดเพื่อแก้ต่างให้ตัวเองครับท่าน ตามรัฐธรรมนูญของสหรัฐนี่เป็นเนื้อหาสาระ Good Will Hunting (1997) | I am afforded the right to speak in my own defense, sir, by the Constitution of the United States. | เดียวกันว่าด้วยการประกันเสรีภาพของผม ไม่ต้องยกรัฐธรรมนูญมาพูดกับผมเลย Good Will Hunting (1997) | Button that top button! | ปุ่มนู้น ปุ่มบนโว้ย! American History X (1998) | A little amendment, Iike the Constitution. | แก้ไขเล็กน้อย เหมือนรัฐธรรมนูญไง The Story of Us (1999) | - Nothing. The lost-my-job smells great. - What? | ไม่มีอะไร กลิ่นเมนู-ตก-งานหอมจัง \ อะไรนะ Death Has a Shadow (1999) | That Man in the corner. Who is he? | คนที่นั่งมุมนู้น เขาเป็นใคร The Lord of the Rings: The Fellowship of the Ring (2001) | I'm starving! | ขอเมนูด้วยคะ All About Lily Chou-Chou (2001) | The Constitution of the United States, against all enemies, foreign and domestic. | ฝ่ายก่อตั้งรัฐธรรมนูญของยูไนเต็ด สเตท ปะทะกับศัตรู /ทั้งชาวต่างชาติ และบุคคลในประเทศ The Notebook (2004) | I just created a brand new dish | ตอนนี้ผมเองก็กำลังคิดเมนูแบบใหม่อยู่ Rice Rhapsody (2004) | Schoolgirl, why do you always order the biggest and the cheapest? | นี่หนู ทำไมเธอถึงสั่งแต่เมนูเดิมๆ ที่เป็นราคาประหยัดล่ะ Spygirl (2004) | New burger with salad it's only... | เมนูใหม่ของเรามั๊ยคะ เป็นเบอร์เกอร์สลัดจานพิเศษ Spygirl (2004) | Here's the menu. | เมนูค่ะ Everybody Has a Little Secret (2004) | - That's the menu. | - เมนูนั่นค่ะ Mr. Monk Takes His Medicine (2004) | And, uh, is it good? I mean, do people like it, regular people? | แล้ว อร่อยไหม ผมหมายถึงเป็นเมนูที่คนสั่งกันเยอะตลอดเลยไหม Mr. Monk Takes His Medicine (2004) | Good only on weekdays and does not include lobster. | ใช้ได้เฉพาะวันธรรมดา และรวมถึงเมนูกุ้งมังกรด้วย Mr. Monk and the Employee of the Month (2004) | You can lean anywhere you want. It's in the constitution. | คุณจะเอนตัวท่าไหนก็ได้ตามที่ต้องการ มันอยู่ในหนังสือรัฐธรรมนูญ Mr. Monk and the Game Show (2004) | I can't imagine which constitution you're referring to. | ผมคิดไม่ออกว่ารัฐธรรมนูญข้อไหนกัน ที่คุณอ้างถึง Mr. Monk and the Game Show (2004) | Oh, I think the wine list. | โอ ขอเมนูไวน์ด้วย Match Point (2005) | Don't worry. I'm good at fixing things. | ไม่ต้องห่วงน่า ผมน่ะเก่งเรื่องซ่อมนู่นซ่อมนี่จะตายไป My Boyfriend Is Type-B (2005) | Go to submenu three on your phone. | ไปที่เมนูย่อย3ของมือถือคุณ Day 5: 9:00 a.m.-10:00 a.m. (2006) | - I'm at submenu. - Enter this code: 6-3-3-9. | เข้าเมนูย่อยแล้ว / ใส่รหัส 6 3 3 9 Day 5: 9:00 a.m.-10:00 a.m. (2006) | The menu looks a bit different. | เมนูดูแปลกๆ Fly, Daddy, Fly (2006) | Even if I made every dish on my menu... | แม้ว่าฉันจะทำทุกจานของเมนูของฉัน... Heavenly Forest (2006) | A man can claim almost anything violates his constitutional rights. | มนุษย์สามารถเรียกร้องอะไรเกือบละเมิดสิทธิรัฐธรรมนูญของเขา. English, Fitz or Percy (2005) | Of course, that's off the menu these days. | แหงล่ะ มันอยู่ในเมนูตอนนี้แล้ว Distant Past (2007) | THEY NOW HAVE IT ON THE MENU-- | ตอนนี้เค้ารวมอยู่ในเมนูด้วยแล้ว Family/Affair (2007) | ENOUGH TO KNOW IT'S NOT ON THE MENU. | ก็มากพอที่จะรู้ว่ามันไม่มีในเมนูล่ะ Pilot (2007) | Ever wanted to get even, all they would have to do Is wait for the cochinita pibil to go on special. | พวกเขาแต่รอให้โคชินิต้า พิบิล เป็นเมนูพิเศษ No Such Thing as Vampires (2007) | Wide menu, good service, homey atmosphere... | เมนูเยอะ บริการดี บรรยากาศบ้านๆ Bad Day at Black Rock (2007) | The menu's on their website. | มีเมนูในเว็บ Bad Day at Black Rock (2007) | The English Constitution. | ภาษาอังกฤษรัฐธรรมนูญ Sex Trek: Charly XXX (2007) | - You know what a Magna Carta is? - That's a cigar, isn't it? | คุณรู้ว่าสิ่งรัฐธรรมนูญคืออะไร นั่นเป็นซิการ์ ไม่ได้หรือไม่ Sex Trek: Charly XXX (2007) | Man knows what the Magna Carta is. | คนที่รู้ว่าสิ่งที่รัฐธรรมนูญเป็น Sex Trek: Charly XXX (2007) | They know about the old stuff. They like Linguini's soup. | พวกลูกค้ารู้จักเมนูเก่า พวกเขาชอบซุปของลิงกวินี่ Ratatouille (2007) | Something definitely off menu. | อาหารพิเศษที่ไม่มีอยู่ในเมนู Ratatouille (2007) | Something from our menu. | อะไรซักอย่าง... จากเมนูเรา Ratatouille (2007) | Are you sure you want to serve this to Ego? | เธอแน่ใจเหรอ ว่าจะทำอาหารเมนูนี้ให้อีโก้ชิมน่ะ? Ratatouille (2007) | I'll come again when you have Judge on the menu... | ฉันจะมาอีกที เมื่อไหร่ที่คุณมีผู้พิพากษาอยู่ในเมนู... Sweeney Todd: The Demon Barber of Fleet Street (2007) | - The menu. - Yes, thank you. | เมนู ใช่ ขอยคุณ Next (2007) | But in any case, the eggs Benedict are delicious and if you call in advance, Mrs. Clark says she will bake her famous flourless chocolate cake. | แต่ยังไงก็ตาม ขนมอบ กับ เค็ก ก็อร่อยดีนะ และถ้าคุณโทรมาล่วงหน้า คุณนายคลาร์คบอกว่า เธอจะอบเค้กช๊อคโกแล๊ต เมนูเด็ดให้เป็นพิเศษ 1408 (2007) | You know how much our constitution was influenced by your man, Montesquieu? | คุณรู้ไหมว่ารัฐธรรมนูญกี่ข้อ ที่เรารับมาจาก มอนเตคิว ของคุณ? National Treasure: Book of Secrets (2007) |
| เจตนารมณ์รัฐธรรมนูญ | [jēttanārom ratthathammanūn] (n, exp) EN: spirit of the constitution FR: esprit de la constitution [ m ] | แก้รัฐธรรมนูญ | [kaē ratthathammanūn = ratthammanūn] (v, exp) EN: amend a constitution FR: modifier la constitution ; amender la constitution | คลิกเมนู | [khlik mēnū] (v, exp) FR: cliquer dans le menu | กฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญ | [kotmāi prakøp ratthathammanūn] (n, exp) EN: Organic Law | กฎหมายรัฐธรรมนูญ | [kotmāi ratthathammanūn = kotmāi ratthammanūn] (n, exp) EN: constitutional law | กฎหมายรัฐธรรมนูญเปรียบเทียบ | [kotmāi ratthathammanūn prīepthīep] (n, exp) EN: comparative constitutional law | กฎหมายธรรมนูญ | [kotmāi thammanūn] (n, exp) EN: charter FR: charte [ f ] | เมนู | [mēnū] (n) EN: menu FR: menu [ m ] | เมนู | [mēnū āhān] (n, exp) EN: menu FR: menu [ m ] | พระธรรมนูญศาลยุติธรรม | [phrathammanūn sān yuttitham] (n, exp) EN: law on court oranization ; basic law on the judiciary | ร่างรัฐธรรมนูญ | [rāng ratthathammanūn = ratthammanūn] (n, exp) EN: draft of a constitution ; constitutional draft ; draft charter FR: projet de constitution [ m ] | รัฐธรรมนูญ | [ratthathammanūn = ratthammanūn] (n) EN: constitution FR: constitution [ f ] | รัฐธรรมนูญเฉพาะกาล | [ratthathammanūn chaphǿkān] (n, exp) EN: provisional constitution FR: constitution provisoire [ f ] | รูปหลายเหลี่ยมนูน | [rūplāilīem nūn] (n, exp) EN: convex polygon FR: polygone convexe [ m ] | ศาลรัฐธรรมนูญ | [sān ratthathammanūn = sān ratthammanūn] (n, exp) EN: Constitutional Court | สภาร่างรัฐธรรมนูญ | [saphā rāng ratthathammanūn] (n, exp) EN: Constituent Assembly FR: assemblée constituante [ f ] | ธรรมนูญ | [thammanūn] (n) EN: basic law ; charter ; statute ; constitution FR: charte [ f ] ; statut [ m ] ; acte [ m ] | วันรัฐธรรมนูญ | [wan ratthathammanūn] (x) EN: Constitution Day FR: jour de la Constitution [ f ] |
| à la carte | (n, adj, adv) |มีที่มาจากภาษาฝรั่งเศส| การสั่งอาหารที่มีอยู่ในเมนูได้ตามใจชอบ โดยไม่ต้องสั่งเป็นชุดตามที่ร้านอาหารจัดไว้ (ทางประเทศแถบตะวันตก มักมีรายการอาหารเป็นชุดจัดไว้ให้), เมนูหรือรายการอาหารที่มีราคาแยกเฉพาะสำหรับอาหารแต่ละจาน | constitutional court | (org) ศาลรัฐธรรมนูญ ของประเทศไทยมีชื่อเต็มว่า The Constitutional Court of The Kingdom of Thailand มีโฮมเพจอยู่ที่ http://www.concourt.or.th/ | Central Bankruptcy Court | (n, name, org, uniq) ศาลล้มละลายกลาง เป็นศาลชั้นต้นตามพระธรรมนูญศาลยุติธรรม ซึ่งมีลักษณะเป็นศาลชำนัญพิเศษ จัดตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลล้มละลายและวิธีพิจารณาคดีล้มละลาย พ.ศ. 2542 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้คดีล้มละลายซึ่งมีลักษณะพิเศษแต่กต่างจากคดีแพ่ง ทั่วไป ได้รับการพิจารณาพิพากษาจากผู้พิพากษาที่มีความรู้ความชำนาญเป็นพิเศษ - อ้างอิงจากhttp://www.judiciary.go.th/bkcc/history.html | framer | [เฟรม-เมอ] (n) บุคคลผู้ซึ่งเขียนกฎหมายใหม่ หรือ แผนงานต่างๆ ยกตัวอย่างเช่น "the framers of the Constitution" (บุคคลที่เขียนกฎหมายรัฐธรรมนูญ), See also: Constitution, law |
| bill | (n) ร่างกฎหมาย, See also: ร่างพระราชบัญญัติ, ร่างรัฐธรรมนูญ, Syn. act, law | card | (n) รายการอาหาร, See also: เมนู | charter | (n) กฎบัตร, See also: เอกสารทางการ, รัฐธรรมนูญ | constitution | (n) รัฐธรรมนูญ | gibbousity | (n) ความนูน, See also: การโค้งออก, Syn. bulge | gibbousness | (n) ความนูนของเลนส์ / กระจก, See also: การโค้งออก | Magna Carta | (n) กฎหมาย, See also: รัฐธรรมนูญ, Syn. Magna Charta | Magna Charta | (n) กฎหมาย, See also: รัฐธรรมนูญ, Syn. Magna Carta | menu | (n) รายการอาหาร, See also: เมนู, รายการ, รายการสำหรับเลือก, รายการตัวเลือกบนคอมพิวเตอร์, Syn. carte, cuisine table | menu | (n) อาหารที่อยู่ในรายการหรือเมนู, Syn. food | unconstitutional | (adj) ไม่เป็นไปตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ, Ant. constitutional |
| ? | เครื่องหมาย ellipsis หมายถึง จุดเล็ก ๆ สามจุด ซึ่งจะอยู่หลังรายการคำสั่งบางรายการภายใต้เมนูต่าง ๆ จุด 3 จุด นี้ แสดงว่า หากเลือกคำสั่งนี้ จะมีคำถามรายละเอียดเพิ่มเติมให้ตอบในแบบของกรอบสนทนา (dialog box) บางรายการคำสั่งที่ไม่มี 3 จุดนี้ คอมพิวเตอร์ก็จะปฎิบัติตามคำสั่งโดยไม่มีกรอบสนทนามาให้เติมเลย | alias | (เอ' ลิแอส) 1. n., (pl. -ases) นามแฝง, สมญานาม. -adv. มีนามแฝงว่า, Syn. pseudonym 2. สมนาม คอมพิวเตอร์แมคอินทอชที่ใช้ System 7 มีคำสั่ง Make Alias ใต้เมนู File คำสั่งนี้ใช้สำหรับสร้างสัญรูป icon อีกอันหนึ่งของแฟ้มข้อมูลที่เลือกไว้ แฟ้มใหม่นี้จะมีคำ alias ต่อท้ายชื่อเดิม หากเมื่อใดมีการแก้ไขแฟ้มใดแฟ้มหนึ่ง โดยเรียกมาทำในจอภาพ แล้วสั่งบันทึกเก็บลงในจานบันทึก การแก้ไขนั้นก็จะมีผลต่อแฟ้มสมนามนั้นด้วย ทั้งนี้เพราะอันที่จริงแล้ว สัญรูปสมนามนั้นไม่ว่าจะมีสักกี่อัน จะโยงถึงแฟ้มข้อมูลอันเดียวกันทั้งสิ้น ดู duplicate เปรียบเทียบ | apple menu | เมนูลูกแอปเปิลหมายถึง โปรแกรมต่าง ๆ ในคอมพิวเตอร์แมคอินทอช ที่สามารถสั่งให้ทำงานในระหว่างที่เครื่องกำลังทำโปรแกรมอื่นอยู่ได้ โปรแกรมเหล่านี้จะรวมอยู่ในเมนูที่มีสัญลักษณ์เป็นรูปลูกแอปเปิลแหว่ง (แทนที่จะมีชื่อเมนูตามปรกติ) และจะอยู่เป็นรายการแรกซ้ายมือสุดบนแถบเมนู เมนูนี้จะประกอบด้วยรายการย่อยอีกหลายรายการด้วยกัน เช่น นาฬิกา, เครื่องคำนวณ, แผงควบคุม ฯ รวมทั้งที่สำคัญที่สุด คือ แฟ้มภาพ ที่เรียกว่า scrapbook เป็นต้น | ariticles of confederatio | รัฐธรรมนูญของ 13 อาณานิคมของอเมริกาในปี 1781 | ascii file | แฟ้มข้อมูลแอสกี <คำแปล>หมายถึงแฟ้มข้อมูลที่ไม่ใช่โปรแกรม มีตัวอักขระที่ใช้เป็นรหัสแอสกีทั้งหมด บางที เรียกว่า " text file " แฟ้มแอสกี (ASCII file) มีลักษณะเฉพาะคือเป็นแฟ้มที่ไม่มีรูปแบบในการจัดหน้า ข้อความจะยาวไปเรื่อย ๆ โดยไม่มีการขึ้นบรรทัดใหม่ นอกจาก จะเริ่มระเบียนใหม่ โปรแกรมเวิร์ด สตาร์ (WordStar) เป็นผู้นำคำนี้มาใช้ก่อน (ตรงข้ามกับ document file ซึ่งหมายถึง แฟ้มข้อมูลที่มีการจัดรูปหน้าไว้แล้ว) ส่วนมากจะใช้ศัพท์นี้เมื่อต้องการเปลี่ยน (convert) แฟ้มข้อมูลของโปรแกรมหนึ่งเป็นอีกโปรแกรมหนึ่ง เช่นจาก Word Perfect เป็น Microsoft Word ในกรณีเช่นนี้ อาจจะมีเมนูให้เลือกได้ว่าจะเปลี่ยนเป็น text file หรือ ASCII file หรือไม่ ซึ่งก็หมายความว่าเปลี่ยนเป็นแฟ้มข้อมูลที่ใช้รหัสแอสกีทั้งหมด ทำให้สามารถใช้ร่วมกันได้ ภายใต้ระบบปฏิบัติการเดียวกัน นิยมใช้กันมากในระบบสื่อสารและถ่ายโอนแฟ้มข้อมูล | balloon help | คำอธิบายสั้น ๆ หมายถึง คำอธิบายพิเศษที่เครื่องแอปเปิลแมคอินทอชที่ใช้ System 7 จัดไว้ เพื่ออธิบายสั้น ๆ เกี่ยวกับเรื่องที่ต้องการรู้ ส่วนมากจะเป็นคำอธิบายสั้น ๆ แสดบนจอภาพในลักษณะของคำพูดในหนังสือการ์ตูน ไม่เหมือน กับเมนู Help ของเดิม ที่มีข้อมูลหรือคำอธิบายยาว ๆ | click | (คลิค) 1. { clicked, clicking, clicks } n. เสียงดังกริ๊ก, กลอนสปริง, ตัวดึง, เสียงกระเดาะลิ้น vi. เสียงดังกริ๊ก, เปล่งเสียงดังกริ๊ก, กระเดาะลิ้นดังกริ๊ก, กระทำสำเร็จ, ประสานกันได้ดี, สอดคล้อง, ได้รับการต้อนรับจากประชาชน vt. ทำให้เกิดเสียงดังกริ๊ก, กระทบดังกริ๊ก 2. กด (เมาส์) การกดนิ้วในจังหวะสั้น ๆ เร็ว ๆ 1 ที ลงบนปุ่มใดปุ่มหนึ่งของของเมาส์ (ส่วนใหญ่จะใช้ปุ่มซ้ายมือสุด) แล้วยกออกในทันที ใช้เมื่อต้องการสั่งการตามรายการในเมนู หรือเลือกรายการที่ต้อง การที่มีแสดงอยู่บนจอภาพ โดยเลื่อนเมาส์ให้ลูกศรชี้อยู่ที่คำสั่งที่ต้องการก่อน จึงค่อยกด (ในภาษาไทยอาจใช้สั้น ๆ ว่า "กดเมาส์ ") ในบางกรณี ต้องกดสองทีเร็ว ๆ เรียกว่า double click ดู double click ประกอบ | clipboard | คลิปบอร์ดกระดาษทดหมายถึง เนื้อที่ในหน่วยความจำที่กันไว้ใช้เก็บข้อมูลชั่วคราว มีใช้ทั้งในคอมพิวเตอร์แมคอินทอช และระบบวินโดว์ของพีซี เนื้อที่ที่กันเอาไว้ส่วนนี้ทำหน้าที่เหมือนกระดาษทด ที่หากใช้คำสั่ง cut หรือ copy (ใต้เมนู Edit) แล้ว คอมพิวเตอร์ก็จะนำข้อความหรือภาพที่ถูก cut หรือ copy นั้นไปเก็บไว้ที่นั่น ข้อความหรือภาพที่อยู่ในนั้น จะอยู่ในกระดาษทดหรือคลิปบอร์ดนี้จนกว่าจะมีข้อความหรือภาพใหม่ไปทับ เราสามารถนำข้อความหรือภาพที่อยู่บนกระดาษทดนี้ไปวางหรือ paste ลงในแฟ้มข้อมูลของโปรแกรมใดก็ได้ ดู copy, cut, paste ประกอบ | clipboard viewer | ที่ดูคลิปบอร์ดเป็นชื่อโปรแกรมหนึ่งในระบบวินโดว์ เมื่อเรียกใช้ จะแสดงให้ดูทันทีว่า ในคลิปบอร์ดมีภาพหรือข้อความใดเก็บอยู่ เมื่อเราใช้คำสั่ง paste ที่อยู่ใต้เมนู EDIT ซึ่งจะมีอยู่ในทุกโปรแกรม ภาพหรือข้อความที่มองเห็นว่าอยู่ในคลิปบอร์ดจะไปปรากฏ ณ ตำแหน่งที่กำหนดให้ทันทีดู clipboard ประกอบ | close box | ช่องปิดวินโดว์หมายถึงช่องสี่เหลี่ยมที่มุมขวาบนของวินโดว์ ที่มีลักษณะเป็นกากบาท เมื่อกดที่ปุ่มนี้ วินโดว์จะปิดลงเหมือนใช้คำสั่ง close ใต้เมนู FILE | cls | (ซีแอลเอส) ย่อมาจาก close เป็นคำสั่งหนึ่งมีใช้ทั้งในระบบดอสและระบบวินโดว์ (อยู่ใต้เมนู FILE) ในระบบดอส จะเป็นการล้างสิ่งที่พิมพ์บนจอภาพทั้งหมด ส่วนในระบบวินโดว์ จะมีความหมายว่าปิดการแสดงวินโดว์นั้น | constituent | (คันสทิช'ชุเอินทฺ) adj. เป็นส่วนประกอบ, เกี่ยวกับรัฐธรรมนูญ n. องค์ประกอบ, Syn. intrinsic, Ant. extrinsic | constitution | (คอนสทิทิว'เชิน) n. การประกอบขึ้น, การก่อตั้ง, การสถาปนา, ร่างกาย, อุปนิสัย, สันดาน, รัฐธรรมนูญ, ระเบียบข้อบังคับ, รูปแบบการปกครอง, รากฐาน, Syn. composition | constitutional | (คอนสทิทิว'เชินเนิล) adj. เป็นรากฐาน, เป็นประโยชน์ต่อสุขภาพ, เป็นส่วนสำคัญ, ถูกต้องหรือเป็นไปตามรัฐธรรมนูญ, เกี่ยวกับระเบียบข้อบังคับ. n. การเดินหรือการออกกำลังกายที่เป็นประโยชน์ต่อสุขภาพ, Syn. basic | constitutional law | n. วิชากฎหมายรัฐธรรมนูญ | constitutional monarchy | n. การปกครองระบอบกษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ, See also: constitutional monarch กษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ | dialog box | กรอบสนทนาหมายถึงวินโดว์เล็ก ๆ มี ลักษณะเป็นกรอบสี่เหลี่ยมที่จะปรากฏขึ้นมาบนจอภาพเพื่อถามหาข้อมูลเพิ่มเติม ก่อนที่จะนำคำสั่งไปปฏิบัติ เช่น ในโปรแกรมพิมพ์เอกสาร ถ้าสั่งเริ่มแฟ้มข้อมูลใหม่ ก็จะมีกรอบสี่เหลี่ยมเล็ก ๆ ถามว่าต้องการกำหนดหน้าเป็นขนาดใด กั้นขอบซ้าย ขวา บน ล่างเข้ามาเท่าใด มีจำนวนกี่หน้า เมื่อตอบคำถามต่าง ๆ แล้ว จึงกดปุ่ม OK กรอบสนทนานี้ก็จะหายไป พร้อมกับที่คอมพิวเตอร์นำความต้องการนั้นไปปฏิบัติ (อนึ่ง กรอบสนทนาจะปรากฏบนจอภาพทุกครั้งที่เลือกรายการคำสั่งที่มี....ตามหลัง เช่น คำสั่ง new... ใต้เมนู FILE) | drop-down menu | รายการเลือกแบบดึงลงหมายถึง รายชื่อเมนูที่เมื่อใช้เมาส์กดแล้วจะมีรายการแสดงให้เลือก เช่น ถ้ากดเมาส์ที่เมนู Edit จะมีรายการเลือก copy, cut, paste ฯ เรียงลงมาให้เลือก | exit | (เอค'ซิท, เอค'ซิท) n. ทางออก, ประตูฉุกเฉิน, การจากไป, การลงจากเวที, การตาย. vi. ออกไป, จากไป, ลงจากเวที, ตาย. -make one's exit ออกไป, จากไป, Syn. outlet, ออกทางออกหมายถึงคำสั่งที่ผู้ใช้โปรแกรมใช้ เมื่อต้องการหยุดหรือเลิกใช้โปรแกรมนั้นเพื่อกลับออกไปสู่ระบบปฏิบัติการ operating systems หลังจากที่ใช้งานเสร็จเรียบร้อยแล้ว โปรแกรมต่าง ๆ ของแมคอินทอชมักจะใช้คำว่า Quit แทน ซึ่งก็มีความหมายเหมือนกัน ในระบบวินโดว์ของพีซี ทุกโปรแกรมจะมีคำสั่งนี้ไว้ให้เลือกใต้เมนู File ซึ่งเป็นคำสั่งกลับออกไปยังระบบวินโดว์นั้นเอง | find | (ไฟดฺ) { found, found, finding, finds } vt. พบ, ประสบ, หา, ได้รับ, จัดหา, ไปถึง, ตัดสิน, ชี้ขาด, บรรลุ, ก่อให้เกิด. vi. รู้สึก, เห็นว่า, ตัดสิน, ชี้ขาด, ลงความเห็น., See also: find oneself รู้ถึงความสามารถของตนและรู้วิธีใช้มัน. -Phr. all found ทุกสิ่งทุกอย่างที่ต้อง หาเป็นคำสั่งหนึ่งที่ให้ตรวจค้นหาข้อมูลที่ต้องการในแฟ้มใดแฟ้มหนึ่ง ถ้าเป็นโปรแกรมประมวลผลคำ word processing เราอาจค้นหาได้เป็นคำ ๆ ไป ถ้าเป็นโปรแกรมฐานข้อมูล database management เราจะสามารถค้นหาไปทีละระเบียน record บางทีอาจใช้หมายถึงการค้นหาแฟ้มข้อมูลว่าเก็บไว้ในสารบบ directory ใด เป็นคำสั่งหนึ่งในระบบวินโดว์ด้วย อยู่ใต้เมนู File มีความหมายเหมือน search | finder | (ไฟ'เดอะ) n. ผู้ค้นหา, สิ่งที่ใช้ค้นหา, กล้องโทรทรรศน์, กล้องส่องทางไกล, กล้องดูภาพ, เครื่องวัด, เครื่องตรวจสอบ ตัวหาเป็นชื่อโปรแกรมที่อยู่ในระบบปฏิบัติการของเครื่องแมคอินทอช (ดูใน System Folder) ที่ทำหน้าที่จัดการ ในเรื่องสัญรูป (icon) การแสดงรายการต่าง ๆ ตลอดถึงการแสดงวินโดว์ การคัดลอก การย้าย และการลบแฟ้มข้อมูล หากไม่มี โปรแกรมนี้ การทำงานจะช้ากว่านี้ มาก เครื่องแมคอินทอช รุ่นใหม่ ๆ จะแสดงเป็นเมนูดัง ที่เห็นในภาพข้าง ๆ | folder | n. เครื่องพับ, คนพับกระดาษ, ที่เก็บกระดาษเอกสาร กล่องแฟ้มข้อมูลโฟลเดอร์หมายถึง ที่รวมกลุ่มแฟ้มข้อมูล เป็นศัพท์ที่ใช้เฉพาะกับเครื่อง แมคอินทอช (พีซี ใช้ program group) มีสัญรูปเหมือนกล่องมีสีเหลือง อนึ่ง ภายใต้เมนู File จะมีคำสั่งให้สร้างโฟลเดอร์ใหม่ได้ คือ New folder เมื่อใช้ คำสั่งนี้แล้ว จะได้สัญลักษณ์ใหม่มาอีกอันหนึ่ง ข้างล่างจะมีคำว่า "untitled folder" ลากสัญรูปแฟ้มข้อมูลที่ต้องการให้อยู่กลุ่มเดียวกันไปรวมไว้ภายในโฟลเดอร์นี้ เวลาต้องการเรียกใช้ จะช่วยให้หาได้ง่ายและสะดวก ควรจะตั้งชื่อโฟลเดอร์ใหม่นี้เสียด้วย | gopher | (โก'เฟอะ) n. คนที่มีใจจดใจจ่อ, ผู้ช่วย, เด็กรับใช้, เป็นชื่อโปรแกรมที่ทำให้เราสามารถอ่านข้อมูลจากอินเตอร์เน็ตได้ เริ่มด้วยการช่วยหาแฟ้มข้อมูล ในลักษณะที่เป็นแบบเมนู กล่าวคือ มีรายการให้เลือก เมื่อพบแล้วก็สามารถเก็บลงในจานบันทึก หรือสั่งพิมพ์ออกมาได้ | graphical user interface | การใช้ภาพเป็นตัวประสานกับผู้ใช้ใช้ตัวย่อว่า GUI (อ่านว่ากุย) เป็นวิธีการให้ความสะดวกแก่ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ ให้ติดต่อสื่อสารกับเครื่องคอมพิวเตอร์โดยผ่านทางภาพ เช่น ใช้เมาส์กดเลือกสัญรูป (icon) แทนการพิมพ์คำสั่งดังแต่ก่อน หรือการเลือกคำสั่งตามรายการเลือกที่เรียกว่า ระบบเมนู | gui | (จียูไอ, กุย) ย่อมาจาก graphical user interface (แปลว่า การใช้ภาพเป็นตัวประสานกับผู้ใช้) เป็นวิธีการให้ความสะดวกแก่ ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ ให้ติดต่อสื่อสารกับเครื่องคอมพิวเตอร์โดยผ่านทางภาพ เช่น ใช้เมาส์กดเลือกสัญรูป (icon) แทนการพิมพ์คำสั่งดังแต่ก่อน หรือการเลือกคำสั่งตามรายการเลือกที่เรียกว่า ระบบเมนู | hot spot | จุดร้อนหมายถึง เนื้อที่บางส่วนบนจอภาพ ที่เมื่อกดเมาส์ลงไปแล้ว จะทำให้เกิดรายการอื่นขึ้นมา แทนที่จะเป็นเรื่องเดิมที่ทำอยู่ ตัวอย่าง เช่นในโปรแกรมประเภทใช้สื่อหลายแบบ (multimedia) หรือการเรียกเมนู Help หรือกดเรียกลูกโป่ง (balloon) มาให้คำอธิบายในเครื่องแมคอินทอช | junta | (จัน'ทะ) n. กลุ่มเล็ก ๆ ที่บริหารประเทศ (โดยเฉพาะอย่างยิ่งหลังการรัฐประหารและก่อนที่จะมีการจัดตั้งรัฐบาลตามรัฐธรรมนูญ) , สภาการเมือง, คณะกรรมการที่ตั้งขึ้นเอง, Syn. clique | limited monarchy | n. การปกครองระบอบกษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ, See also: constitutional monarch กษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ | magna carta | (แมก'นะคาร์'ทะ) n. กฎหมายที่ยิ่งใหญ่, รัฐธรรมนูญฉบับแรกของอังกฤษ | menu-driven system | ระบบทำงานด้วยเมนูหมายถึงระบบการทำงานของโปรแกรมที่ใช้เมนูเป็นหลัก กล่าวคือ มีรายการคำสั่งต่าง ๆ ปรากฏบนจอภาพให้เลือก ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องจำคำสั่งเลย เพียงแต่ใช้เมาส์เลื่อนไปที่คำสั่งที่ต้องการแล้วกด คอมพิวเตอร์ก็จะทำงานให้ ระบบดังกล่าวนี้ทำให้การทำงานโดยใช้คอมพิวเตอร์นั้นง่ายขึ้นกว่าเดิมมาก | mnemonic code | รหัสช่วยจำหมายถึง วิธีการเรียกชื่อย่อของสิ่งหนึ่งสิ่งใดเพื่อช่วยให้นึกถึงชื่อเต็มของสิ่งนั้นได้ดี เช่น อาจจะกำหนดตัวอักษรตัวแรกของคำไว้ใช้เป็นข้อคำสั่ง เช่น การกดแป้น Alt + F + S เป็นรหัสช่วยจำแทนคำสั่งเรียกเมนู File และเลือกคำสั่ง Save ในการเขียนโปรแกรมบางทีก็ใช้วิธีการนี้ได้ เช่น ถ้าคำใดยาว ก็อาจใช้ตัวย่อได้ เช่น STO แทน store เป็นต้น | modifier keys | แป้นดัดแปรหมายถึง แป้นอักขระบางแป้นที่ไม่ใช้ตามลำพังตัวเอง หรือถ้าใช้ ก็จะไม่มีผลอย่างใดเลย เช่น แป้น Ctrl, Shift, Alt แต่เมื่อกำหนดใช้ร่วมกับแป้นอักขระอื่นแล้ว จะก่อให้เกิดเป็นคำสั่งให้เครื่องปฏิบัติตามได้ เช่น ถ้ากดแป้น ALT+F จะเป็นการเรียกเมนู File ในระบบวินโดว์ ส่วนเครื่องแมคอินทอชจะมีแป้น Option ที่ทำหน้าที่คล้ายแป้น ALT เช่น ถ้ากดแป้น Option+C ก็จะเป็นการสั่งคัดลอก (copy) | option key | เป็นแป้นหนึ่งบนแผงแป้นอักขระของเครื่องคอมพิวเตอร์ตระกูลแอปเปิล มีสัญลักษณ์ ? อยู่บนแป้น เป็นแป้นที่ต้องใช้ร่วมกับแป้นอื่น จะทำให้เกิดเป็นคำสั่งเฉพาะ รายการคำสั่งในเมนูต่าง ๆ ก็จะมีบอกไว้ว่า ถ้าใช้แป้นนี้กับแป้นใด จะหมายถึงคำสั่งให้ทำอะไร อย่างไรก็ตาม การกดแป้นนี้ตามลำพังจะไม่มีผลแต่อย่างใดเลย (คล้ายแป้น ALT ของพีซี) | pop-up menu | รายการเลือกแบบผุดขึ้นหมายถึง รายการเลือกที่จะผุดขึ้น เมื่อกดเมาส์ที่ลูกศรหลังรายการนั้น มักจะเป็นรายการที่ให้เลือกในกรอบสนทนาอีกทีหนึ่ง ไม่ใช่รายการเลือกที่มาจากบาร์เมนู (menu bar) เมื่อเลือกรายการใดแล้ว ก็จะแสดงรายการที่เลือกนั้นให้เห็นอยู่ตลอด | pull down menu | ในระบบวินโดว์ หมายถึง รายการเลือก (menu) ที่จะมองเห็นบนจอภาพ เมื่อกดเมาส์ที่บาร์เมนู ก็จะมีรายการคำสั่งต่าง ๆ มาให้เลือก เช่น ถ้ากดเมนู File จะมีรายการเลือก New Open Close Save Save as ให้เลือก เป็นต้น | res edit | เรซเอดิท <คำอ่าน>ย่อมาจาก resource editor เป็นโปรแกรมอรรถประโยชน์ (utility program) โปรแกรมหนึ่งในเครื่องแมคอินทอชที่ยอมให้ผู้ใช้แก้ไขส่วนต่าง ๆ ของแฟ้มข้อมูลในเครื่องแมคอินทอชได้ เช่น เปลี่ยนกรอบสนทนา หรือเมนู | seperator bar | เส้นคั่นแต่ละเมนูที่เห็นบนจอภาพในระบบวินโดว์ มักจะมีเส้นแบ่งหมวดหมู่ของรายการคำสั่งคั่นให้เป็นระยะ ๆ เพื่อให้มองหาได้ง่าย เช่น เมนู File ของโปรแกรม Microsoft Word จะแบ่งรายการคำสั่งเป็น New, Open, Close, Save, Save as, Version ส่วนหนึ่ง Page Setup, Print Preview, Print, ส่วนหนึ่ง บางทีก็มี Exit อยู่อีกส่วนหนึ่ง (แต่ละโปรแกรม อาจมีรายการคำสั่งแตกต่างกันไปบ้าง) แต่จะมีเส้นคั่น ให้เห็นชัดเสมอ | start button | ปุ่มเริ่มต้นในระบบวินโดว์ 95 และ 98 ปุ่มเริ่มต้นจะอยู่บนแถบงาน (task bar) ที่ด้านล่างซ้ายสุดของจอภาพ จะมองเห็นได้ทันทีที่คอมพิวเตอร์เข้าสู่ระบบวินโดว์เรียบร้อยแล้ว ถ้ากดเมาส์ที่ปุ่มนี้ จะมีเมนูให้เลือกสั่งงานได้หลายอย่างดู Start menu ประกอบ | start menu | เมนูเริ่มแรกในระบบวินโดว์ 95 และ 98 เมนูเริ่มแรกนี้จะมองเห็นได้ทันทีที่กดเมาส์ที่ปุ่ม Start มีคำสั่งให้เลือกใช้ดังนี้ Programs, Documents, Settings, Find , Help, Run และ Shut downดู Start button ประกอบ | tabulation | การตั้งระยะหมายถึง การตั้งระยะด้วยแป้น Tab โปรแกรมประเภทประมวลผลคำ (word processing) และโปรแกรมจัดพิมพ์ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ (desktop publishing) มักจะมีเมนูให้กำหนดในเรื่องนี้ได้ เช่น ในโปรแกรม PageMaker | talmud | (ทาล'มุด, แทล'มุด) n. คัมภีร์หรือธรรมนูญโบราณของยิว, See also: Talmudic adj. Talmudical adj. Talmudism n. | tear-off menus | เมนูดึงออกได้หมายถึง เมนูที่เราสามารถดึงออกมาจากแถบเมนู (menu bar) มาวางไว้ที่ตำแหน่งใหม่ที่เราประสงค์ | toggle | (ทอก'เกิล) n. หยุดสวมห่วง, โลหะที่ต่อเป็นข้อศอก, ข้อศอก, สลัก. vt. ทำให้มีหมุดหรือข้อศอกหรือสลัก, ยึดด้วยหมุดหรือข้อศอกหรือสลัก. , สลับไปมาหมายถึง สวิตช์แบบหนึ่งที่การกดแต่ละครั้ง จะมีผลสลับไปมาระหว่างเปิดกับปิด เหมือนกับสวิตช์เครื่องโทรทัศน์ อาจเป็นแป้นใดแป้นหนึ่งบนแผงแป้นพิมพ์ หรือคำสั่งใดคำสั่งหนึ่งบนเมนูก็ได้ กล่าวคือ ถ้ากดครั้งหนึ่ง ทำงาน กดอีกครั้งหนึ่ง ก็ยกเลิก, See also: toggler n. | toolbar | แถบเครื่องมือหมายถึง แถบที่อยู่ด้านบนของวินโดว์ ในระบบวินโดว์ 95 ขึ้นไป บนแถบนี้จะมีปุ่มคำสั่งต่าง ๆ ถ้านำตัวชี้ไปวางใกล้ ๆ ก็จะมีคำอธิบายว่า แต่ละปุ่มมีไว้ใช้ทำอะไร แต่ถ้ากดเมาส์ลงบนปุ่มเหล่านี้ คอมพิวเตอร์ก็จะทำงานให้ตามคำสั่งเหมือนใช้คำสั่งที่เมนู | unconstitutional | (อันคอนสทิทิว'เชินเนิล) adj. ไม่เป็นไปตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ | visual basic | วิชวล เบสิกเป็นภาษาหนึ่งในการเขียนโปรแกรมระดับสูง สำหรับพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ ภาษานี้เน้นเรื่องการเขียนโปรแกรมออกแบบจอภาพ เครื่องมือที่จะใช้ ปุ่มที่จะใช้กด เมนูหรือรายการเลือกต่าง ๆ | web | (เวบ) n. ใยแมงมุม, ใย, พังผืดที่อยู่ระหว่างนิ้วเท้าของกบ ค้างคาวและสัตว์อื่น ๆ บางชนิด, ม้วนกรดาษขนาดใหญ่, ชุด, ร่างแห, ข่ายงาน vt. vi. คลุมด้วยสิ่งดังกล่าว, ทำให้เป็นสิ่งดังกล่าว เว็บเป็นคำเรียกสั้น ๆ ของเวิลด์ไวด์เว็บ (World Wide Web) ซึ่งหมายถึงสถานที่รวมของกลุ่มคอมพิวเตอร์ที่มีข้อมูลเตรียมพร้อมไว้ให้ผู้คนอ่านผ่านทางอินเตอร์เน็ต (Internet) โดยใช้ภาษา เอชทีทีพี (HTTP หรือ Hypertext Tranfer Protocol) ทุกหน้าจะมีทั้งเนื้อหาเรื่องราวต่าง ๆ มีเมนูพร้อมที่จะให้เราสั่งงาน มีคำหลายคำที่มีแถบสีซึ่งเราสามารถกดเมาส์ถามหารายละเอียดต่าง ๆ ในเรื่องนั้นต่อ ซึ่งอาจเป็นการเรียกหาจากแหล่งเดียวกัน หรือจากแหล่งคอมพิวเตอร์อื่นได้ทั่วโลกดู internet, HTML ประกอบ, See also: weblike adj., Syn. trap, network | windows | ย่อจากคำเต็มว่า Microsoft Windows เป็นชื่อของโปรแกรมระบบวินโดว์สของบริษัทไมโครซอฟต์ ซึ่งทำงานภายใต้ระบบไมโครซอฟต์ดอส (Microsoft DOS) ที่เขียนโดยบริษัทเดียวกัน ถือว่าเป็นโปรแกรมระบบที่ได้รับความนิยมสูงสุดในปัจจุบัน ไมโครคอมพิวเตอร์ที่ใช้ชิป 80286 ขึ้นไป สามารถใช้ระบบวินโดว์สได้ ระบบวินโดว์ได้พัฒนาตลอดมา ปัจจุบัน กำลังอยู่ระหว่างหัวเลี้ยวหัวต่อที่จะเปลี่ยนจากวินโดว์ส 3.1 เป็นวินโดว์ส 95 วินโดว์ส 97 และวินโดว์ส 2000 ต่อไป ระบบวินโดว์นี้จะรวมเอาโปรแกรมอรรถประโยชน์ (utility program) ต่าง ๆ ไว้ให้อย่างพร้อมมูล นอกจากนั้น หลายบริษัทยังสร้างโปรแกรมสำเร็จต่าง ๆ ให้ทำงานบนระบบวินโดว์สนี้ เช่น Aldus PageMaker, Freelance ทุกโปรแกรมจะมีวิธีการใช้พื้นฐานคล้ายคลึงกัน ทำให้ง่ายในการเรียนรู้ เพราะเรียนรู้โปรแกรมหนึ่ง ก็ทำให้มีแนวที่จะเรียนโปรแกรมอื่นง่ายขึ้น ระบบวินโดว์สนี้ จะเน้นในเรื่องการใช้ภาพเป็นสื่อ มีการใช้เมาส์ ใช้เมนู มีรายการเลือกต่าง ๆ ทำให้ผู้ใช้รู้สึกสะดวกขึ้นมาก | world wide web | เวิลด์ไวด์เว็บนิยมใช้ตัวย่อ WWW (อ่านว่าดับบลิวดับบลิวดับบลิว) หมายถึงสถานที่รวมของกลุ่มคอมพิวเตอร์ที่มีข้อมูลเตรียมพร้อมไว้ให้ผู้คนอ่านผ่านทางอินเตอร์เน็ต (Internet) โดยใช้ภาษา เอชทีทีพี (HTTP หรือ Hypertext Tranfer Protocol) ทุกหน้าจะมีทั้งเนื้อหาเรื่องราวต่าง ๆ มีเมนูพร้อมที่จะให้เราสั่งงาน มีคำหลายคำที่มีแถบสีซึ่งเราสามารถกดเมาส์ถามหารายละเอียดต่าง ๆ ในเรื่องนั้นต่อ ซึ่งอาจเป็นการเรียกหาจากแหล่งเดียวกัน หรือจากแหล่งคอมพิวเตอร์อื่นได้ทั่วโลกดู internet, HTML ประกอบ | www | (ดับบลิวดับบลิวดับบลิว, เวิรลด์ไวลด์เว็บ) ย่อมาจาก world wide web อ่านว่า เวิรลด์ไวด์เว็บ หมายถึงสถานที่รวมของกลุ่มคอมพิวเตอร์ที่มีข้อมูลเตรียมพร้อมไว้ให้ผู้คนอ่านผ่านทางอินเตอร์เน็ต (Internet) โดยใช้ภาษา เอชทีทีพี (HTTP หรือ Hypertext Tranfer Protocol) ทุกหน้าจะมีทั้งเนื้อหาเรื่องราวต่าง ๆ มีเมนูพร้อมที่จะให้เราสั่งงาน มีคำหลายคำที่มีแถบสีซึ่งเราสามารถกดเมาส์ถามหารายละเอียดต่าง ๆ ในเรื่องนั้นต่อ ซึ่งอาจเป็นการเรียกหาจากแหล่งเดียวกัน หรือจากแหล่งคอมพิวเตอร์อื่นได้ทั่วโลกดู internet, HTML, ประกอบ |
| constituent | (adj) สำคัญ, เป็นส่วนประกอบ, เกี่ยวกับรัฐธรรมนูญ | constitution | (n) การบัญญัติ, สังขาร, ร่างกาย, สันดาน, รัฐธรรมนูญ | constitutional | (adj) เกี่ยวกับรัฐธรรมนูญ, ตามรัฐธรรมนูญ, ทางร่างกาย | constitutionality | (n) การเห็นชอบตามรัฐธรรมนูญ | menu | (n) รายการอาหาร, บัญชีอาหาร, เมนู | unconstitutional | (adj) ไม่ถูกรัฐธรรมนูญ, ฝ่าฝืนบทบัญญัติ |
| Constitution Day | [คอนส-ติ-ติว-ฌัน เดย์] (n) วันรัฐธรรมนูญของไทย ซึ่งตรงกับ วันที่ 10 ธันวาคมของทุกปี, See also: ประชาธิปไตย Image: | in breach of | ฝ่าฝืน เช่น in breath of the charter ฝ่าฝืนรัฐธรรมนูญ | ศาลล้มละลายกลาง | (n, org, uniq) ศาลชั้นต้นตามพระธรรมนูญศาลยุติธรรม ซึ่งมีลักษณะเป็นศาลชำนัญพิเศษ จัดตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลล้มละลายและวิธีพิจารณาคดีล้มละลาย พ.ศ. 2542 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้คดีล้มละลายซึ่งมีลักษณะพิเศษแต่กต่างจากคดีแพ่ง ทั่วไป ได้รับการพิจารณาพิพากษาจากผู้พิพากษาที่มีความรู้ความชำนาญเป็นพิเศษ http://www.judiciary.go.th/bkcc/history.html | ศาลล้มละลายกลาง | (n, org, uniq) ศาลชั้นต้นตามพระธรรมนูญศาลยุติธรรม ซึ่งมีลักษณะเป็นศาลชำนัญพิเศษ จัดตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลล้มละลายและวิธีพิจารณาคดีล้มละลาย พ.ศ. 2542 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้คดีล้มละลายซึ่งมีลักษณะพิเศษแต่กต่างจากคดีแพ่ง ทั่วไป ได้รับการพิจารณาพิพากษาจากผู้พิพากษาที่มีความรู้ความชำนาญเป็นพิเศษ http://www.judiciary.go.th/bkcc/history.html |
| 品書き | [しながき, shinagaki] (n) รายการ, เมนู | 憲法 | [けんぽう, kenpou] (n) รัฐธรรมนูญ | 立憲君主政 | [りっけんくんしゅせい, rikkenkunshusei] (n) การปกครองระบอบกษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ |
| 立憲君主政体 | [りっけんくんしゅせいたい, rikkenkunshuseitai] การปกครองระบอบกษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ | 憲法記念日 | [けんぽうきねんび, kenpoukinenbi] (n) วันรัฐธรรมนูญ | 鰤大根 | [ぶりだいこん, buridaikon] (n, uniq) ชื่อเมนูอาหารญี่ปุ่น มีลักษณะเป็นซุป ประกอบด้วยปลา yellowtail และหัวไชเท้า |
| das Spiegelei | (n) |das, pl. Spiegeleier| ไข่ดาว เช่น 1° Das Menü McMorning bestehst aus einem Brötchen mit Spiegelei und einer Tasse Kaffee. = เมนูอาหารเช้า McMorning ประกอบด้วย ขนมปังก้อนเล็ก, ไข่ดาว และกาแฟ 1 แก้ว, See also: A. Das Rührei |
| |
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |