ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: หาว, -หาว- |
มะม่วงหาว มะนาวโห่ | ชื่อเต็ม มะม่วงไม่รู้หาว มะนาวไม่รู้โห่, ผลไม้ในกลุ่มเบอร์รี่ชนิดหนึ่ง มีรสเปรี้ยว ชื่อทางวิทยาศาสตร์ Carissa carandas, ชื่อสามัญ Karanda, Carunda, Christ’s thorn, Bengal Currants ที่มา: https://www.disthai.com/17039488/%E0%B8%A1%E0%B8%B0%E0%B8%A1%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%A7-%E0%B8%A1%E0%B8%B0%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B9%82%E0%B8%AB%E0%B9%88 |
|
| ชุติกาญจน์ ศรีวิบูลย์ | [ชุ-ติ-กาญน์ ศรี-วิ-บูลย์] (n, name) รองศาสตราจารย์ ดร.ชุติกาญจน์ ศรีวิบูลย์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รับมอบยาฟ้าทะลายโจร จํานวน ๕๐๐ ขวด จากคุณปรินดา ตั้งวิรุฬธรรม ผู้จัดการบริษัทฉมา แอ็สเซ็ท ในวันศุกร์ที่ ๑๑ มีนาคม ๒๕๖๕ เพื่อนําไปใช้ในการดูแลสุขภาพของบุคลากร และประชาชนทั่วไปในคลินิคแพทย์แผนไทยวังสวนสุนันทา |
| | | หาว | (n) sky, See also: open air, Syn. เวหา, ฟ้า, Example: ดวงจันทร์ลอยเด่นอยู่กลางหาวเหนือผิวน้ำ, Thai Definition: ที่แจ้ง, ท้องฟ้า | หาว | (v) yawn, Syn. หาวนอน, Example: ฉันเริ่มหาวติดกันหลายครั้ง เพราะรอนานเกินไป, Thai Definition: กิริยาที่สูดลมเข้าแล้วระบายลมออกทางปากเมื่อเวลาง่วงนอน | หาว่า | (v) accuse of, See also: charge, claim, Syn. กล่าวหา, Example: โจทย์หาว่าจำเลยขโมยทองรูปพรรณหนัก 50 บาทไปจากร้าน | สามหาว | (v) become brash, See also: become rampant, Syn. กำเริบ, กำเริบเสิบสาน, หยาบช้า, Ant. สุภาพ, อ่อนโยน, Example: นับวันฝ่ายลูกน้องจะยิ่งสามหาวขึ้น เพราะฉะนั้นกำราบพวกมันเอาไว้บ้าง, Thai Definition: ทำอย่างได้ใจหรือเหิมใจ, เริ่มรุนแรงหยิ่งผยองมากขึ้น | สามหาว | (adv) unscrupulously, Syn. หยาบคาย, ก้าวร้าว, Ant. สุภาพ, นุ่มนวล, Example: ลูกชายเขาพูดจาสามหาวไม่เกรงใจผู้หลักผู้ใหญ่ที่อยู่ ณ ที่นั้นเลย, Thai Definition: อย่างไม่สุภาพ, อย่างไม่อ่อนน้อม | หาวนอน | (v) yawn, See also: be drowsy, feel sleepy, Syn. ง่วงเหงาหาวนอน, Example: พอหนังจบเด็กๆ ก็พากันหาวนอนกันเป็นแถว, Thai Definition: หาวเพราะง่วงนอน | กลางหาว | (n) in the sky, See also: in midair, aerial, in the air, Syn. บนฟ้า, กลางเวหา, Example: เครื่องบินรบกันกลางหาว, Thai Definition: บนฟ้า | มหาวงศ์ | (n) treatise on the history of Buddhism in Lankha, Ant. จุลวงศ์, Example: ราชสำนักจัดให้มีการแปลมหาวงศ์จากภาษาบาลีเป็นภาษาไทย, Count Unit: เรื่อง, Thai Definition: ชื่อหนังสือพงศาวดารลังกา | มหาวิทยาลัย | (n) university, Example: นักศึกษาใหม่มีเพื่อนมาชวนไปเข้าชุมนุมต่างๆ ในมหาวิทยาลัย, Count Unit: มหาวิทยาลัย, แห่ง, Thai Definition: สถาบันอุดมศึกษาที่มีวัตถุประสงค์ให้การศึกษาในด้านวิชาการและวิชาชีพชั้นสูงหลายสาขาวิชา หรือหลายกลุ่มสาขาวิชา เพื่อให้ประกาศนียบัตร อนุปริญญา ปริญญา และประกาศนียบัตรบัณฑิตแก่ผู้สำเร็จการศึกษา | เนื้อหาวิชา | (n) subject matter, See also: subject description, Example: อาจารย์กำหนดจุดมุ่งหมายและรายละเอียดของเนื้อหาวิชา เพื่อให้นักเรียนสามารถนความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ได้, Thai Definition: สาระสำคัญของวิชา | ง่วงเหงาหาวนอน | (v) be drowsy, See also: be sleepy, be dozy, be somnolent, be listless, Syn. ง่วง, ง่วงนอน, เซื่องซึม, ซึม, ซึมเซา, ง่วงซึม, Ant. ตื่นตัว, ว่องไว, กระฉับกระเฉง, กระปรี้กระเปร่า, Example: วันนี้ผมรู้สึกง่วงเหงาหาวนอนอย่างไรชอบกล, Thai Definition: มีอาการซึมเซาอยากนอนมาก | ทบวงมหาวิทยาลัย | (n) Ministry of University Affairs, Example: มหาวิทยาลัยศิลปากรเคยสังกัดอยู่กับกรมศิลป์ฯ ต่อมาได้ย้ายไปขึ้นอยู่กับทบวงมหาวิทยาลัย | มหาวิทยาลัยเปิด | (n) Open University, Ant. มหาวิทยาลัยปิด, Example: เขาเลือกเรียนในมหาวิทยาลัยเปิดเพราะไม่มีเวลาที่จะไปเข้าห้องเรียน, Count Unit: มหาวิทยาลัย, Thai Definition: มหาวิทยาลัยซึ่งผู้ใหญ่สามารถเรียนวิชาต่างๆ ได้ทางไปรษณีย์ และติดตามบทเรียนได้ทางโทรทัศน์หรือวิทยุกระจายเสียง | มหาวิทยาลัยเปิด | (n) Open University, Thai Definition: มหาวิทยาลัยซึ่งผู้ใหญ่สามารถเรียนวิชาต่างๆ ได้ทางไปรษณีย์ และติดตามบทเรียนได้ทางโทรทัศน์หรือวิทยุกระจายเสียง | มหาวิทยาลัยบูรพา | (n) Burapa University, Example: มหาวิทยาลัยบูรพาเปิดให้มีการสอนภาษาไทยให้แก่ชาวต่างประเทศ | มหาวิทยาลัยมหิดล | (n) Mahidol University, Example: มหาวิทยาลัยมหิดลจะเปิดหลักสูตรใหม่สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีศึกษา ในภาคที่ 1 ของปีการศึกษา 2546 | มหาวิทยาลัยนเรศวร | (n) Naresuan University, Example: พิพิธภัณฑ์ผ้าตั้งอยู่ที่มหาวิทยาลัยนเรศวร | มหาวิทยาลัยขอนแก่น | (n) Khon Kaen University, Example: เขาได้รับเชิญจากมหาวิทยาลัยขอนแก่นให้ไปเป็นอาจารย์พิเศษในปีการศึกษาหน้า | มหาวิทยาลัยศิลปากร | (n) Silpakorn University, Example: เขาทำงานอยู่ใกล้ๆ กับมหาวิทยาลัยศิลปากร | มหาวิทยาลัยรามคำแหง | (n) Ramkhamhaeng University, Example: ท่านได้รับปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาภาษาไทย จากมหาวิทยาลัยรามคำแหง | มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | (n) Chiang Mai University, Example: งานมหกรรมหนังสือครั้งที่ 9 จัดขึ้นที่สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ | (n) Thammasat University, Example: ปัจจุบันนี้ท่านสอนวิชาศาสนาเปรียบเทียบอยู่ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ | มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี | (n) Ubon Ratchathani University, Example: มหาวิทยาลัยอุบลราชธานีเชิญท่านไปเป็นวิทยากรพิเศษในสัปดาห์หน้า | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ | (n) Kasetsart University, Example: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์จัดสัมมนาทางวิชาการแนวใหม่สำหรับนักการตลาด | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | (n) Prince of Songkla University, Example: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์จัดให้มีการประชุมวิชาการเรื่องการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในงานวิศวกรรม | มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ | (n) Srinakharinwirot Unversity, Example: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒนับเป็นสถาบันการศึกษาแห่งแรกของไทย ที่สามารถเปิดสอนวิชาชีพครูได้ถึงระดับปริญญา | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | (n) Sukhothai Thammathirat Open University, Example: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชจะจัดสัมมนาทางวิชาการทางการเกษตรในวันที่ 30 พฤศจิกายน 2545 |
| กลางหาว | น. กลางแจ้ง, นอกชายคา ในความว่า รองนํ้าฝนกลางหาว, บนฟ้า เช่น เครื่องบินรบกันกลางหาว, กลางเวหา ก็ว่า. | ง่วงเหงาหาวนอน | ก. มีอาการซึมเซาอยากนอนมาก. | ประสัยหาวหาร | (ปฺระไสหาวะหาน) น. การโจรกรรมด้วยใช้อำนาจกดขี่หรือกรรโชกให้กลัว. | ประสัยหาวหาร | ดู ประสัยห-, ประสัยห์. | ปสัยหาวหาร | (ปะไสหาวะ-) น. การโจรกรรมด้วยใช้อำนาจกดขี่หรือกรรโชกให้กลัว. | ปสัยหาวหาร | ดู ปสัยห-, ปสัยหะ. | ปาดหาว | น. ลมที่พาใบเรือตลบขึ้นปลายเสา. | ผักสามหาว | น. คำสุภาพของผักตบชวา. | มหาวงศ์ | น. ชื่อหนังสือพงศาวดารลังกา แต่งเป็นภาษาบาลีโดยพระมหานาม เพื่อเรียบเรียงตำนานพระพุทธ-ศาสนาและเหตุการณ์บ้านเมืองของลังกาทวีปตั้งแต่สมัยแรกเริ่มจนถึงรัชสมัยพระเจ้าคชพาหุ. | มหาวรรค | น. ชื่อคัมภีร์พระวินัยปิฎกคัมภีร์หนึ่ง | มหาวรรค | ชื่อมาตราปักษคณนา คือ ปักษ์ถ้วน ๔ ปักษ์ขาด ๑. | มหาวิทยาลัย | (มะหาวิดทะยาไล) น. สถาบันอุดมศึกษาที่มีวัตถุประสงค์ให้การศึกษาในด้านวิชาการและวิชาชีพชั้นสูงหลายสาขาวิชา หรือหลายกลุ่มสาขาวิชา เพื่อให้ประกาศนียบัตร อนุปริญญา ปริญญา และประกาศนียบัตรบัณฑิตแก่ผู้สำเร็จการศึกษา รวมทั้งดำเนินการวิจัยและให้บริการทางวิชาการแก่สังคม และทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมของชาติ. | ราชวรมหาวิหาร | (ราดชะวอระมะหาวิหาน) น. เรียกพระอารามหลวงชั้นเอกชนิดสูงสุด ว่า ชั้นเอก ชนิดราชวรมหาวิหาร เช่น วัดพระเชตุพน วัดมหาธาตุ กรุงเทพมหานคร, เรียกพระอารามหลวงชั้นโทชนิดสูงสุด ว่า ชั้นโท ชนิดราชวรมหาวิหาร มี ๒ วัด คือ วัดสระเกศ และวัดชนะสงคราม. | วรมหาวิหาร | (วอระ-) น. เรียกพระอารามหลวงชั้นเอกชนิดตํ่าสุด ว่า ชั้นเอกชนิดวรมหาวิหาร เช่น วัดพระศรีมหาธาตุ วัดพระธาตุพนม, เรียกพระอารามหลวงชั้นโทชนิดหนึ่ง มีฐานะตํ่ากว่าชนิดราชวรวิหาร ว่า ชั้นโทชนิดวรมหาวิหาร เช่น วัดจักรวรรดิ วัดระฆัง. | สามหาว ๑ | ว. หยาบคาย, โอหังก้าวร้าวผู้หลักผู้ใหญ่, (ใช้แก่วาจา) เช่น เด็กพูดจาสามหาวกับผู้ใหญ่. | สามหาว ๒ | น. เรียกผักตบไทย [ Monochoria hastata (L.) Solms ] ว่า ผักสามหาว เช่น นางสงกรานต์ทัดดอกสามหาว. | หาว | น. ที่แจ้ง, ท้องฟ้า, เช่น กลางหาว. | หาว | ก. กิริยาที่สูดลมเข้าแล้วระบายลมออกทางปากเมื่อเวลาง่วงนอนเป็นต้น. | หาวนอน | ก. หาวเพราะง่วงนอน, บางทีใช้เข้าคู่กับคำ ง่วงเหงา เป็น ง่วงเหงาหาวนอน ก็มี. | เหินหาว | ก. บินหรือเหาะไปในอากาศในระยะสูง. | กระเบิก | ก. เบิก เช่น ปรดิพหุลดุลยปรดิมุข หุลดุลยอุกกลุก ก็เกริกกระเบิกหาวหบ (อนิรุทธ์). | เกียรตินิยม | (เกียดนิยม) น. ความรู้ดีเด่นเหนือระดับปรกติที่มหาวิทยาลัยกำหนดไว้. | ขุนหลวง | น. คำเรียกพระเจ้าแผ่นดิน เช่น ขุนหลวงพะงั่ว ขุนหลวงหาวัด ขุนหลวงตาก ภายหลังใช้เป็นบรรดาศักดิ์ของขุนนางด้วย เช่น ขุนหลวงพระไกรศรี. | คณ-, คณะ | หน่วยงานในมหาวิทยาลัยหรือสถาบันที่เทียบเท่าซึ่งรวมภาควิชาต่าง ๆ ที่จัดการเรียนการสอนวิชาในสายเดียวกัน เช่น คณะนิติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ | คณบดี | (คะนะบอดี) น. หัวหน้าคณะในมหาวิทยาลัยหรือในสถาบันที่เทียบเท่า. | โคลงโบราณ | น. ชื่อโคลงชนิดหนึ่งคล้ายโคลง ๔ มีบังคับสัมผัส แต่ไม่มีบังคับเอกโท เช่น โคลงมหาวิชชุมาลี โคลงมหาสินธุมาลี ซึ่งมีปรากฏอยู่ในตำรากาพย์สารวิลาสินี. | จุลวงศ์ | (จุนละ-) น. ชื่อหนังสือพงศาวดารลังกา แต่งเป็นภาษาบาลีต่อจากมหาวงศ์ ตั้งแต่รัชสมัยพระเจ้าสิริเมฆวรรณจนถึงลังกาถูกอังกฤษยึดครอง. | ชลาสินธุ์ | น. ห้วงน้ำ เช่น ข้าเป็นไรแทรกขนสุบรรณบิน เร็วรีบยิ่งมหาวายุพัด กวักกวัดปีกข้ามชลาสินธุ์ (กากี), สายน้ำ เช่น พระเหลือบเล็งชลาสินธุ์ ในวารินทะเลวน ก็เห็นรูปอสุรกล ซึ่งกลายแกล้งเป็นสีดา (พากย์นางลอย). | เชน | น. ชื่อศาสนาหนึ่งในอินเดีย ศาสดาชื่อมหาวีระ มี ๒ นิกายคือ นิกายทิคัมพรหรือพวกชีเปลือย และนิกายเศวตัมพรหรือเศวตามพรหรือพวกนุ่งผ้าขาว ใช้ภาษาปรากฤตเป็นภาษาทางศาสนา ถือมั่นในหลักอหิงสาและมังสวิรัติ, ชิน หรือ ไชนะ ก็ว่า. | ดาว ๑ | เรียกบุคคลที่เด่นในทางใดทางหนึ่ง เช่น ดาวตลก ดาวมหาวิทยาลัย | ตบ ๑ | น. ชื่อไม้นํ้าในวงศ์ Pontederiaceae มี ๒ ชนิด คือ ชนิด Monochoria hastata (L.) Solms ขึ้นตามท้องนาที่แฉะและนํ้านิ่ง ดอกสีนํ้าเงิน ยอดอ่อนและดอกกินได้, คำสุภาพเรียกว่า ผักสามหาว, ผักตบไทย ก็เรียก, และชนิด Eichhornia crassipes (Mart.) Solms ขึ้นตามลำนํ้าทั่วไป ดอกสีม่วงอ่อน เรียกว่า ผักตบชวา. | ต้องคดี | ก. ถูกกล่าวหาว่ากระทำผิดหรือถูกฟ้องเป็นคดีอาญา. | ถอดรูป | ก. เอารูปที่ปกคลุมออกให้เห็นรูปที่งดงาม เช่น เจ้าเงาะถอดรูป, เปลี่ยนรูปโฉมให้งดงาม เช่น เด็กสาวชนบทถอดรูปเป็นดาวมหาวิทยาลัย. | ถีบฉัด | ก. อาการที่ช้างใช้ตีนหลังถีบหรือเตะ เช่น ม้วนงวงแทงธรณีดล งางอนเงยกล คือดั่งจะเสื้องสอยดาว ถีบฉัดผัดผาผาดสราว ไม้ไล่เหิรหาว ก็ฟุ้งทั้งป่าเปนไฟ (อนิรุทธ์). | ทรหึงทรหวล | (ทอระหึงทอระหวน) ว. เสียงดังปั่นป่วน เช่น พอวายวรวาคยอ้าง โอษฐ์พระ ดานมหาวาตะตื่นฟ้า ทรหึงทรหวลพะ พานพัด หาวแฮ หอบธุมางจางจ้า จรัดด้าวแดนสมร (ตะเลงพ่าย). | ทิฆัมพร | (-พอน) น. ท้องฟ้า. [ ป. ทีฆ + อมฺพร (อากาศ, กลางหาว) ]. | ธรณีสาร ๑ | เรียกคนที่มีลักษณะซึมเซาง่วงเหงาหาวนอนอยู่เสมอ ว่า คนต้องธรณีสาร. | นภ- | (นะพะ-, นบพะ-) น. ฟ้า, หาว, อากาศ. | นภาลัย | น. ท้องฟ้า, กลางหาว. | นันททายี | (นันทะ-) น. ชื่อโคลงโบราณอย่างหนึ่ง บทหนึ่งมี ๔ บาท บาทละ ๗ คำ วรรคหน้ามี ๕ คำ วรรคหลังมี ๒ คำ บังคับสัมผัสคำที่ ๗ ของบาทที่ ๑ สัมผัสกับคำที่ ๔ ของบาทที่ ๒ และคำที่ ๔ ของบาทที่ ๓ คำที่ ๗ ของบาทที่ ๒ สัมผัสกับคำที่ ๕ ของบาทที่ ๔ ไม่บังคับตำแหน่งคำเอกคำโท เช่น พระสุริยทรงเดช เสด็จฉาย หาวหนพรายพรายเรือง รุ่งเร้า ปทุมิกรผายกลีบ รสคลี่ เฉกพระพุทธเจ้า เตือนโลก, คู่กับ มหานันททายี. | นิทรา | (นิดทฺรา) ก. หลับ, นอน, เช่น ให้หาวนิทราเป็นพ้นไป (อิเหนา). | นิสิต | น. ผู้ที่ศึกษาอยู่ในมหาวิทยาลัยบางแห่ง เช่น นิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ | ปริญญา | ชั้นความรู้ขั้นมหาวิทยาลัยซึ่งประสาทให้แก่ผู้ที่สอบไล่ได้ตามที่กำหนดไว้, ถ้าประสาทแก่ผู้ทรงวิทยาคุณหรือผู้มีเกียรติตามที่เห็นสมควร เรียกว่า ปริญญากิตติมศักดิ์. | ผย่ำเผยอ | (ผะหฺยํ่าผะเหฺยอ) ก. ปํ้า ๆ เป๋อ ๆ เช่น ทำหาวเรอพูดผยํ่าเผยอ (พงศ. เลขา). | ผู้ต้องหา | น. บุคคลผู้ถูกหาว่าได้กระทำความผิด แต่ยังมิได้ถูกฟ้องต่อศาล. | ผู้ถูกกล่าวหา | น. บุคคลผู้ถูกกล่าวหาว่ากระทำความผิดในทางอาญา ทางวินัยหรือจรรยาบรรณ หรือกระทำการอันฝ่าฝืนกฎหมายอื่น. | แผงคอ | น. แผงทำด้วยสักหลาดหรือกำมะหยี่ สำหรับติดคอเสื้อราชปะแตนซึ่งเป็นเครื่องแบบเอกชนที่ขอเข้าเฝ้า หรือเครื่องแบบนิสิตชายจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หรือเครื่องแบบนักเรียนโรงเรียนวชิราวุธวิทยาลัยเป็นต้น | แผล็บ ๆ | (แผฺล็บ-) ว. ชั่วเวลานิดเดียว เช่น เผลอแผล็บ ๆ เรียนจบมหาวิทยาลัยแล้ว, แพล็บ ๆ ก็ว่า. | เยื้อง | ว. เฉียงจากจุดตรงข้ามเล็กน้อย เช่น ประตูวิมานเทเวศร์อยู่เยื้องกับประตูเข้ามหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตวังท่าพระ. | ระหว่าง | บ. คำที่แสดงถึงความสัมพันธ์ของบุคคลหรือสถาบันเป็นต้นตั้งแต่ ๒ ขึ้นไป เช่น งานมงคลสมรสระหว่างนาย ก กับนางสาว ข แบ่งมรดกในระหว่างลูก ๆ การแข่งขันฟุตบอลระหว่างมหาวิทยาลัย การประชุมระหว่างชาติ. |
| | Virtual university | มหาวิทยาลัยเสมือน [เทคโนโลยีการศึกษา] | University press | สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัย [เทคโนโลยีการศึกษา] | University library | ห้องสมุดมหาวิทยาลัย [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | University press | สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัย, Example: <p>สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัย (University press) เป็นสำนักพิมพ์ประเภทหนึ่ง จัดอยู่ในสำนักพิมพ์ของทางราชการ องค์การ สมาคม และหน่วยงานต่าง ๆ <p>สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัย ส่วนใหญ่จัดพิมพ์ตำรา เอกสารประกอบการเรียน และสิ่งพิมพ์อื่น ๆ ของมหาวิทยาลัย อาจจัดเป็นสำนักพิมพ์เฉพาะได้ แต่สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยมีลักษณะแตกต่างจากสำนักพิมพ์อื่น ดังนี้ <p>1. จัดพิมพ์สิ่งพิมพ์ทางวิชาการในสาขาวิชาการต่าง ๆ กว้างขวางกว่าสำนักพิมพ์เฉพาะ <p>2. ส่วนมากได้รับเงินอุดหนุนจากมหาวิทยาลัย <p>3. ไม่ต้องเสียภาษี <p>4. ไม่ได้มุ่งหวังเพื่อแสวงหาผลกำไร <p>สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยในต่างประเทศที่มีชื่อเสียง เช่น <p>Cambridge University Press และ Oxford University Press ของอังกฤษ <p>Columbia University Press และ University of Chicago Press ของสหรัฐอเมริกา <p>ในประเทศไทย มหาวิทยาลัยบางแห่งมีทั้งสำนักพิมพ์ โรงพิมพ์ และมีหน่วยงานรับผิดชอบในการจัดจำหน่ายโดยเฉพาะ เช่น <p>สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สำนักส่งเสริมและฝึกอบรม (ฝ่ายโรงพิมพ์) <p>ศูนย์หนังสือมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ <p>สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์หนังสือมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ <p>สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง (สำนักพิมพ์ และโรงพิมพ์ ใช้ชื่อเดียวกัน) ศูนย์หนังสือมหาวิทยาลัยรามคำแหง <p>สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ศูนย์หนังสือแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย <p>บรรณานุกรม <p>สำนักหอสมุดแห่งชาติ. (2553). คู่มือคัดเลือก จัดหา รวบรวมทรัพยากรสารสนเทศหอสมุดแห่งชาติ. กรุงเทพฯ : สำนัก. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Acquisition of serial publication | การจัดหาวารสาร, Example: <p>วารสาร (Journals, Serials, Periodicals) คือ ทรัพยากรสารสนเทศ ความรู้ ประเภทหนึ่งในห้องสมุดที่มีความสำคัญและเป็นประโยชน์ในการติดตามความเคลื่อนไหวและความก้าวหน้าในเทคโนโลยีใหม่และงานวิจัย วิชาการในสาขาหนึ่ง ๆ วารสารโดยเฉพาะวารสารวิชาการนับว่ามีความสำคัญ และเป็นที่ยอมรับกันอย่างแพร่หลายในการเผยแพร่บทความ ความรู้ และเพื่อประโยชน์ในการต่อยอดผลงานวิจัย วิชาการ และการเป็นเอกสารอ้างอิง วารสารวิชาการบางชื่อได้รับการเชื่อถือและยอมรับว่าเป็นทฤษฎีที่ค้นพบใหม่จริง เป็นประโยชน์ในการพัฒนาคุณภาพชีวิต สิ่งแวดล้อม และสังคม <p>ความสำคัญและคุณค่าของวารสารวิชาการเป็นเงื่อนไขหนึ่งที่ผลักดันให้ห้องสมุดต้องจัดหามาให้บริการ นอกเหนือจากเอกสาร หนังสือ และตำรา ต่าง ๆ และด้วยศักยภาพเทคโนโลยีที่มีความก้าวหน้าอย่างรวดเร็วในปัจจุบัน ส่งผลให้กระบวนการตีพิมพ์บทความวารสารวิชาการมีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว โดยจากเดิมที่ตีพิมพ์บทความในรูปแบบวารสารฉบับพิมพ์หรือรูปเล่ม ปรับเปลี่ยนเป็นรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Journals) หรือออนไลน์ที่ผู้อ่านสามารถเข้าถึงบทความได้อย่างง่ายดาย สะดวกและรวดเร็ว ทุกที่และทุกเวลาในโลก พร้อมทั้งช่วยให้การรวบรวมและจัดการข้อมูลสามารถทำได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ นับเป็นแนวโน้มสำคัญของห้องสมุดในปัจจุบัน ในการเรียนรู้วิธีและการบริหารจัดการในการบอกรับรูปแบบใหม่ดังกล่าว <p>อย่างไรก็ตามห้องสมุดหลายแห่งโดยเฉพาะห้องสมุดในประเทศกำลังพัฒนามักประสบปัญหาเรื่องงบประมาณที่มีจำกัดในการจัดหาวารสารวิชาการที่มีราคาสูง รวมทั้งนโยบายการจัดสรรงบประมาณของหน่วยงานที่ไม่แน่นอนในแต่ละปี สวนทางกับความต้องการของผู้ใช้บริการที่ยังคงมีอย่างต่อเนื่อง ห้องสมุดจึงได้ดำเนินการทุกวิถีทางในการหาหนทางแก้ไขปัญหาดังกล่าว เช่น การสำรวจการใช้วารสารวิชาการ เพื่อพิจารณายกเลิกชื่อที่มีการใช้น้อย จัดเรียงลำดับความต้องการจากมากที่สุดไปสู่ระดับรองลงไป เพื่อให้เหมาะสมกับการใช้งานได้อย่างคุ้มค่ากับการลงทุน รวมทั้งวิธีการติดต่อขอยืม ถ่ายสำเนา จากห้องสมุดแหล่งอื่น ๆ กล่าวคือไม่มีห้องสมุดแห่งใดในโลกที่จัดหาวารสาร ได้ครบทุกรายชื่อที่ผลิตหรือเผยแพร่ และอีกหนึ่งบริการที่สำคัญ และกล่าวถึงกันมากในขณะนี้ คือบริการจัดหาเฉพาะบทความที่ต้องการอ่าน (Pay per view / Pay per article) นับเป็นอีกวิธีหนึ่งที่ประหยัดค่าใช้จ่าย โดยบริการรูปแบบนี้มีมานานแล้ว ให้บริการผ่านบริษัทนายหน้า ผู้แทนจำหน่าย นอกเหนือจากธรรมเนียม วัฒนธรรมเดิมของการจัดหา คือ จัดหาล่วงหน้าทั้งปีเพื่อรอให้ผู้ใช้บริการได้ใช้หรืออ่าน <p>หลายทศวรรษที่ผ่านมา แนวโน้มราคาวารสารวิชาการเพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็วและต่อเนื่องอย่างไม่สมเหตุสมผล สูงกว่าภาวะอัตราเงินเฟ้อในสัดส่วนที่ไม่สมดุล โดยเฉพาะวารสารวิชาการในสาขาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และการแพทย์ (STM) ห้องสมุดในฐานะที่อยู่ต้นทางในการให้บริการแก่ผู้ใช้ ควรกำหนดนโยบาย และมาตรการ วิธีการรองรับต่อสถานการณ์ดังกล่าว สถานภาพห้องสมุดปัจจุบันเสมือนตกอยู่ในสถานะจำยอม และยอมรับทุกเงื่อนไขที่สำนักพิมพ์เป็นผู้กำหนดทิศทางในเรื่องราคาแต่เพียงฝ่ายเดียวมาตลอด เป็นหัวข้อที่ท้าทายความสามารถของบรรณารักษ์ นักสารสนเทศในฐานะผู้จัดการความรู้ ในการที่จะหาแนวทาง วิธีการดำเนินการเพื่อให้สถานการณ์ดีขึ้น โดยยึดผลประโยชน์ของผู้ใช้บริการเป็นสำคัญที่จะต้องเข้าถึงข้อมูล ความรู้ ได้อย่างเท่าทัน และประหยัดงบประมาณของประเทศชาติ ซึ่งขณะนี้กระแสวารสารที่เข้าถึงได้ฟรี (Open Access) กำลังได้รับความสนใจและมีบทบาทสำคัญมาก จากผู้ที่ต้องการเข้าถึงข้อมูลได้ฟรีโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ซึ่งเป็นผลสืบเนื่องมาจากภาวะวิกฤติของ วารสารวิชาการนั่นเอง <p>อย่างไรก็ตาม การจัดหาวารสารเป็นงานที่มีความต่อเนื่องยาวนาน เพราะวารสารเป็นสื่อสิ่งพิมพ์ที่มีกำหนดออกเป็นลำดับตามช่วงเวลาที่แน่นอน สม่ำเสมอโดยไม่มีกำหนดเวลาสิ้นสุด ดังนั้นเมื่อเริ่มกระบวนการจัดหา ผู้ปฏิบัติงานต้องรับผิดชอบงานจัดหาวารสารใน 1 ปี และ ปีต่อ ๆไปด้วย กระบวนการจัดหาวารสารเป็นงานที่มีขั้นตอนการดำเนินงานอย่างเป็นลำดับ และต่อเนื่องเชื่อมโยง ตั้งแต่การบอกรับ การจ่ายเงินค่าบอกรับเป็นสมาชิก ตลอดจนการทวงถามวารสาร เพื่อให้ได้วารสารครบตามจำนวนตามเงื่อนไขในการเป็นสมาชิก หลังจากนั้นวารสารจะถูกนำไปสู่กระบวนการทางเทคนิค และงานบริการต่อไป การจัดหาวารสาร มี 4 วิธีการ คือ การจัดซื้อ (จากผู้ผลิตวารสารโดยตรง การจัดซื้อโดยสมัครเป็นสมาชิกหน่วยงานหรือสมาคม หรือ การจัดซื้อผ่านตัวแทนบอกรับวารสาร) การขอรับบริจาคหรือการได้รับอภินันทนาการ การแลกเปลี่ยนวารสาร และการผลิตขึ้นเอง <p>ปัญหาที่พบในการจัดหาวารสารที่ห้องสมุดมักประสบ คือ <p>1. ได้รับวารสารล่าช้า ไม่ตรงตามกำหนด <p>2. ได้รับวารสารไม่ครบถ้วนตามจำนวน <p>3. อัตราค่าสมาชิกสูงมาก โดยเฉพาะวารสารต่างประเทศในสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี <p>4. กรณีวารสารอิเล็กทรอนิกส์ อาจมีปัญหาในการเข้าถึง (Access) ว่าไม่สามารถสืบค้นข้อมูลฉบับเต็มได้ <p>โดยทั่ว ๆ ไป ขั้นตอนการจัดหาวารสาร มีดังนี้ <p>1. สำรวจความต้องการใช้วารสาร ที่ผู้ใช้ส่วนใหญ่มีความต้องการใช้ <p>2. ตัดสินใจว่าวารสารรายชื่อใด ควรบอกรับโดยตรงจากสำนักพิมพ์ หรือบอกรับผ่านตัวแทน <p>3. ตรวจสอบรายละเอียดของวารสารที่ต้องการจัดหาอย่างละเอียด ให้มีความถูกต้องมากที่สุด ข้อมูลพื้นฐานที่ควรมีคือ ชื่อวารสาร เลขมาตรฐานสากลประจำวารสาร (ISSN) สำนักพิมพ์ ราคา เป็นต้น ทั้งนี้เพื่อลดความผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นได้ในการจัดหาวารสาร <p>4. ติดต่อสำนักพิมพ์ หรือบริษัทตัวแทนบอกรับวารสาร เพื่อให้นำเสนอราคาบอกรับวารสาร ซึ่งควรติดต่อล่วงหน้าเพื่อจัดเตรียมงบประมาณที่เหมาะสมและเพียงพอ และให้ได้รับวารสารครบถ้วนในปีนั้น <p>5. ส่งใบสั่งซื้อ (Purchase Order : PO) และดำเนินการชำระเงินแก่สำนักพิมพ์หรือบริษัทตัวแทนบอกรับวารสาร ซึ่งขั้นตอนนี้ห้องสมุดควรเก็บสำเนาเอกสารต่าง ๆ และทำการบันทึกการจ่ายเงิน เพื่อตรวจสอบการดำเนินงานย้อนหลังได้ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Betatron | บีตาทรอน, เครื่องเร่งอิเล็กตรอน ที่มีลักษณะเป็นรูปโดนัต อิเล็กตรอนถูกเร่งให้วิ่งเป็นวงกลมรัศมีคงที่โดยการเปลี่ยนแปลงสนามแม่เหล็ก เครื่องที่มีรัศมีประมาณ 0.75-1.00 เมตร สามารถเร่งอิเล็กตรอนให้มีพลังงานสูงถึง 340 ล้านอิเล็กตรอนโวลต์ บีตาทรอนเครื่องแรกสร้างโดย Donald W. Kerst ในปี พ.ศ. 2483 ตั้งอยู่ที่มหาวิทยาลัยอิลลินอยส์ ประเทศสหรัฐอเมริกา สามารถเร่งอิเล็กตรอนให้มีพลังงาน 2.5 ล้านอิเล็กตรอนโวลต์ [นิวเคลียร์] | Radon breath analysis | การวิเคราะห์เรดอนจากลมหายใจ, การตรวจหาเรดอนในลมหายใจออก เพื่อหาว่ามีเรเดียมในร่างกายหรือไม่ และมีเป็นปริมาณเท่าใด (ดู personnel monitoring ประกอบ) [นิวเคลียร์] | emeritus professor | ศาสตราจารย์กิตติคุณ, ศาสตราจารย์เกียรติคุณ, ตำแหน่งที่แต่งตั้งจากอาจารย์ประจำ ผู้เคยดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ของมหาวิทยาลัย ซึ่งมีความรู้ ความสามารถและความชำนาญเป็นพิเศษ และพ้นจากตำแหน่งไปโดยไม่มีความผิด สภามหาวิทยาลัยอาจแต่งตั้งให้เป็นศาสตราจารย์กิตติคุณหรือศาสตราจารย์เกียรติคุณในสาขาวิชาที่ศาสตราจารย์นั้นมีความเชี่ยวชาญเพื่อเป็นเกียรติยศได้ <p>ศาสตราจารย์ผู้นี้อาจสอนในมหาวิทยาลัยต่อไปก็ได้ แต่ไม่ใช่ศาสตราจารย์ที่ต่ออายุราชการ บางมหาวิทยาลัยจะปรากฏชื่อศาสตราจารย์กิตติคุณหรือศาสตราจารย์เกียรติคุณแยก จากศาสตราจารย์ธรรมดาในคู่มือการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา <p>การเรียกชื่อศาสตาราจารย์กิตติคุณหรือศาสตราจารย์เกียรติคุณนั้นขึ้นอยู่กับ พระราชบัญญัติของแต่ละมหาวิทยาลัย เช่น จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เรียกว่า ศาสตราจารย์กิตติคุณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เรียกว่า ศาสตราจารย์เกียรติคุณ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | clinical professor | ศาสตราจารย์คลินิก, ตำแหน่งทางวิชาการที่สภามหาวิทยาลัยแต่งตั้งบุคลากรฝ่ายเวชกรรมที่มีความรู้ ความชำนาญในด้านการสอน การวิจัย การค้นคว้าทดลอง และวิธีบำบัดรักษาในภาคเวชปฏิบัติ ซึ่งมีคุณค่าทางวิชาการ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Virtual university | มหาวิทยาลัยเสมือนจริง, มหาวิทยาลัยเสมือนจริง คือ การศึกษาแนวใหม่ในยุคโลกาภิวัฒน์ ที่มีลักษณะเป็นการสร้างฐานความรู้ขององค์กรแห่งการเรียนรู้ (Knowledge-based Learning Organization) ที่ใครก็ได้สามารถเรียนรู้จากแหล่งใดก็ได้ และเวลาใดก็ได้ [Assistive Technology] | Art in universities and colleges | ศิลปะในมหาวิทยาลัยและวิทยาลัย [TU Subject Heading] | Buddhist universities and colleges | มหาวิทยาลัยและวิทยาลัยทางพุทธศาสนา [TU Subject Heading] | College discipline | วินัยในมหาวิทยาลัยและวิทยาลัย [TU Subject Heading] | College entrance achievement tests | แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์การเข้ามหาวิทยาลัย [TU Subject Heading] | College entrance achivement tests | แบบทดสอบการสอบเข้ามหาวิทยาลัย [TU Subject Heading] | College publications | สิ่งพิมพ์มหาวิทยาลัยและวิทยาลัย [TU Subject Heading] | College radio stations | สถานีวิทยุมหาวิทยาลัย [TU Subject Heading] | College sports | กีฬามหาวิทยาลัย [TU Subject Heading] | College-school cooperation | ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยและวิทยาลัยกับโรงเรียน [TU Subject Heading] | Community and college | ชุมชนกับมหาวิทยาลัยและวิทยาลัย [TU Subject Heading] | Harvard University | มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด [TU Subject Heading] | Harvard University. Graduate School of Business Administration | มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด. บัณฑิตวิทยาลัยการบริหารธุรกิจ [TU Subject Heading] | Islamic universities and colleges | มหาวิทยาลัยและวิทยาลัยทางศาสนาอิสลาม [TU Subject Heading] | Kyoto University. The Center for Southeast Asian Studies Library | มหาวิทยาลัยเกียวโต. ห้องสมุดศูนย์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา [TU Subject Heading] | Private universities and colleges | มหาวิทยาลัยและวิทยาลัยเอกชน [TU Subject Heading] | Provincial University Library Network | ข่ายงานห้องสมุดมหาวิทยาลัยส่วนภูมิภาค [TU Subject Heading] | Public universities and colleges | มหาวิทยาลัยของรัฐ [TU Subject Heading] | Sexual harassment in universities and college | การคุกคามทางเพศในมหาวิทยาลัยและวิทยาลัย [TU Subject Heading] | Thammasat University | มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ [TU Subject Heading] | Universities and colleges | มหาวิทยาลัยและวิทยาลัย [TU Subject Heading] | University autonomy | ความเป็นอิสระของมหาวิทยาลัย [TU Subject Heading] | University cooperation | ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัย [TU Subject Heading] | University presses | โรงพิมพ์มหาวิทยาลัย [TU Subject Heading] | Agreement | การที่รัฐที่ผู้จะไปประจำตำแหน่งในรัฐนั้นได้ตกลง เห็นชอบกับบุคคลที่รัฐผู้ส่งเสนอชื่อให้เป็นผู้แทนทางการทูต อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้ บัญญัติไว้ว่า1. รัฐผู้ส่งไม่จำเป็นต้องทำให้เป็นที่แน่นอนว่า รัฐผู้รับได้ให้ความเห็นชอบแล้ว สำหรับบุคคลที่รัฐผู้ส่งเสนอจะแต่งตั้งเป็นหัวหน้าคณะผู้แทนไปยังรัฐนั้น2. รัฐผู้รับไม่จำเป็นต้องให้เหตุผลแก่รัฐผู้ส่งในการปฏิเสธไม่ให้ความเห็นชอบ เมื่อได้รับความเห็นชอบแล้ว ผู้ที่ดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูตซึ่งรอการถวายสารตราตั้งจะต้องเริ่มดำเนิน การเพื่อเดินทางไปยังรัฐผู้รับในเรื่องนี้ มีตัวอย่างไม่น้อยที่รัฐผู้รับปฏิเสธไม่ให้ความเห็นชอบด้วยเหตุผลบางอย่าง นับตั้งแต่อ้างว่า การเสนอชื่อผู้รับการแต่งตั้งได้กระทำกะทันหันเกินไป และมิได้แจ้งข้อเท็จจริงมาก่อน หรือว่าผู้ที่ได้รับการเสนอให้เป็นผู้แทนทางการทูตผู้นั้นเคยกล่าวตำหนิ วิพากษ์รัฐผู้รับ หรือผู้รับการเสนอชื่อมมีภรรยาเป็นชาวยิว หรือผู้รับการเสนอชื่อถือศาสนาโรมันคาทอลิก หรือผู้นั้นเคยปฏิบัติไม่ดีต่อชนชาติของรัฐผู้รับ หรือผู้นั้นในขณะนั้นกำลังอยู่ในระหว่างถูกฟ้องร้อง ถูกกล่าวหาว่าฉ้อโกง เป็นต้นกล่าวโดยย่อ agr?ment คือ การให้ความเห็นชอบของรัฐผู้รับ แก่บุคคลที่ได้รับการเสนอชื่อจากรัฐผู้ส่งให้เป็นผู้แทนทางการทูตนั่นเอง [การทูต] | ASEAN University Network | เครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน " เป็นกรอบความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยชั้นนำของประเทศสมาชิกอาเซียน จัดตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2538 มีสำนักงานเลขานุการตั้งอยู่ที่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยมี รศ. ดร.ศุภชัย ยาวะประภาษ เป็น ผู้อำนวยการบริหาร " [การทูต] | Council for Security and Cooperation in the Asia-Pacific | ชมรมด้านความมั่นคงและความร่วมมือในเอเชียแปซิฟิก เป็นสถาบันเอกชนก่อตั้งขึ้นเมื่อ 8 มิถุนายน 2536 ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ โดยมีสถาบันศึกษาความมั่นคงและนานาชาติ (Institute of Security and International Studies : ISIS) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นสถาบันก่อตั้งร่วมกับสถาบันอื่น ๆ จากประเทศอาเซียนและประเทศในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก CSCAP เป็นกลไกที่ไม่ใช่เป็นทางการ เพื่อให้นักวิชาการ เจ้าหน้าที่รัฐบาลในฐานะส่วนตัวและบุคคลอื่นได้อภิปรายปัญหาทางการเมืองและ ความมั่นคงในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก [การทูต] | Extradition | การส่งผู้ร้ายข้ามแดน การที่ชาติหนึ่งยอมส่งคนในชาติของตนให้แก่อีกชาติหนึ่ง คือคนในชาติที่ถูกกล่าวหา หรือต้องโทษฐานกระทำความผิดภายนอกเขตแดนของตน และเป็นความผิดที่กระทำขึ้นในเขตอำนาจของอีกชาติหนึ่ง ซึ่งมีความสามารถที่จะตัดสินคดี รวมทั้งลงโทษบุคคลที่ถูกกล่าวหานั้นข้ออ้างว่า ในกรณีที่ชนชาติหนึ่งซึ่งถูกกล่าวหาว่าประกอบอาชญากรรมแล้วหลบหนีไปยังต่าง ประเทศนั้น รัฐของผู้ที่ประกอบอาชญากรรมมีสิทธิที่จะขอให้ต่างประเทศนั้นส่งตัวผู้กระทำ ผิดกลับคืนมา เพื่อส่งตัวขึ้นศาลเพื่อพิจารณาลงโทษได้ แต่หลายคนยังมีความเห็นแตกต่างกันอยู่ในข้อนี้ มีไม่น้อยที่สนับสนุนหลักการที่ว่า กฎหมายระหว่างประเทศมิได้รับรองหน้าที่ที่จะต้องส่งผู้ร้ายข้ามแดน กล่าวคือ นอกจากสนธิสัญญาส่งผู้ร้ายข้ามแดนที่มีต่อกันแล้ว กฎหมายระหว่างประเทศมิได้รับรองสิทธิที่จะส่งผู้ร้ายข้ามแดนให้แก่กัน อย่างไรก็ดี ตามสนธิสัญญาที่มีต่อกัน ผู้ร้ายที่หนีความยุติธรรมจะถูกส่งไปให้อีกประเทศหนึ่งตามสนธิสัญญานั้น จักกระทำโดยวิถีทางการทูต ส่วนผู้หลบหนีเจ้าหน้าที่เพราะเหตุผลทางการเมือง จะส่งข้ามแดนอย่างผู้ร้ายไม่ได้ และเมื่อหลบหนีไปยังอีกประเทศหนึ่งได้สำเร็จ ประเทศนั้นๆ มักจะให้อาศัยพักพิงในประเทศของตนเป็นในฐานะผู้ลี้ภัยทางการเมือง [การทูต] | Hugo Grotius (1583-1645) | บรมครูทางกฎหมายของเนเธอร์แลนด์ เป็นบุคคลแรกที่ได้ประกาศเสรีภาพของทะเล (Freedom of the Seas) ในตำราของท่านชื่อ Mare Liberumนักกฎหมาย รัฐบุรุษ และปรัชญาเมธีด้านมนุษยธรรมของเนเธอร์แลนด์ผู้นี้ ภายหลังเกิดมาได้ไม่กี่ปีก็ส่อให้เห็นว่าเป็นเด็กที่เฉลียวฉลาดอย่างน่า มหัศจรรย์ เขาเริ่มศึกษาวิชากฎหมายตั้งแต่มีอายุได้ 11 ขวบ ณ สถาบันศึกษาชั้นสูงแห่งเลย์เด็นในเนเธอร์แลนด์ และได้รับปริญญาเอกทางกฎหมายจากมหาวิทยาลัย ณ เมืองออร์ลีนส์ ในประเทศฝรั่งเศสเมื่อมีอายุได้เพียง 15 ปี โดยที่เป็นผู้ฝักใฝ่ในการเมือง เขาได้ถูกลงโทษจำคุกตลอดชีวิตเมื่อปี ค.ศ. 1618 ด้วยข้อหาทางการเมือง แต่ต่อมาใน ค.ศ. 1621 ได้หลบหนีไปยังประเทศฝรั่งเศสเมื่อปี ค.ศ 1625 เขาได้แต่งตำรากฎหมายซึ่งถือกันว่าเป็นตำราอมตะชื่อว่า Jure Belli ac Pacis (แปลว่า เกี่ยวกับกฎหมายว่าด้วยสงครามและสันติภาพ) เป็นงานเขียนที่เหมาะกับสมัย และเขียนอย่างนักวิชาการอันเยี่ยมยอดที่สุดไม่มีใครเหมือนในสมัยนั้น และด้วยความรู้สึกที่รักความยุติธรรมอย่างแรงกล้าด้วยเหตุนี้ ทั่วโลกจึงขนานนาม Hugo Grotius ว่าเป็นบิดาแห่งกฎหมายระหว่างประเทศหรือกฎหมายนานาชาติ (Father of the Law of Nations) [การทูต] | Marshall Plan | แผนการมาร์แชล ในโอกาสวันประสาทปริญญาของนักศึกษามหาวิทยาลัย ฮาร์วาร์ดในสหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 5 มิถุนายน ค.ศ. 1947 ยอร์ช ซี.มาร์แชล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ สมัยนั้น ได้กล่าวอยู่ตอนหนึ่งในสุนทรพจน์ว่า?สหรัฐอเมริกาควรจะทำทุกอย่างเท่าที่จะ สามารถกระทำได้ เพื่อช่วยให้ดินแดนต่าง ๆ ในโลกได้กลับคืนสู่ภาวะปกติทางเศรษฐกิจ เพราะหากปราศจากภาวะดังกล่าว โลกก็จะไม่มีเสถียรภาพที่สถาพร นโยบายของสหรัฐฯ มิได้มุ่งจะเป็นปฏิปักษ์ต่อประเทศใดหรือลัทธิใด หากมุ่งเป็นปฏิปักษ์ต่อความหิวโหย ความยากจน ความสิ้นหวัง และความยุ่งเหยิง การที่จะให้สหรัฐอเมริการับภาระในการจัดวางโครงการแต่ฝ่ายเดียว เพื่อช่วยให้ทวีปยุโรปสามารถช่วยตนเองทางเศรษฐกิจขึ้นใหม่ นับว่ายังไม่เหมาะสมและถูกต้องนัก ควรจะให้เป็นภาระหน้าที่ของชนชาวยุโรปทั้งหลายเอง บทบาทของสหรัฐฯ ควรจะเป็นเพียงผู้เสนอให้ความความช่วยเหลือฉันมิตร ในการร่างโครงการช่วยเหลือทวีปยุโรป และให้ความสนับสนุนแก่โครงการนั้น ตราบที่โอกาสจะเอื้ออำนวยต่อการกระทำเช่นนั้นได้?จากสุนทรพจน์ข้างต้น พอจะเข้าใจจุดประสงค์สำคัญของสหรัฐอเมริกาได้ไม่ยากว่า ไม่ต้องการให้ทวีปยุโรป ซึ่งกำลังอ่อนแอโดยเฉพาะทางด้านเศรษฐกิจหลังจากเสร็จสงครามใหม่ ๆ ต้องตกไปอยู่ใต้อำนาจครอบงำของฝ่ายคอมมิวนิสต์นั่นเอง [การทูต] | Regional Operate Center | ศูนย์ปฏิบัติการร่วม กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ROC เป็นโครงการนำร่อง ซึ่งกระทรวงการต่างประเทศกระทรวงมหาดไทย สำนักงาน ก.พ.ร. และ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ได้ร่วมกันจัดตั้งขึ้น เปิดดำเนินการอย่างเป็นทางการเมื่อ พ.ศ. 2549 เพื่อพัฒนาการทำงานร่วมกันระหว่างเอกอัครราชทูตในประเทศเพื่อนบ้านกับผู้ว่า ราชการจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยทำหน้าที่ประสานเชื่อมโยงการทำงานระหว่างเอกอัครราชทูตกับผู้ว่าราชการ จังหวัด เพื่อบูรณาการยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ให้สอดคล้องกับนโยบายต่างประเทศ รวมทั้งให้บริการข้อมูลและความรู้เกี่ยวกับประเทศเพื่อนบ้านและจังหวัดในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ การพัฒนาสมรรถนะบุคลากรและงานวิจัยในท้องถิ่นเพื่อสนับสนุนนโยบายต่างประเทศ [การทูต] | Thai Corner | มุมหนังสือไทย " เป็นโครงการบริจาคหนังสือ ตำราเรียนภาษาไทย รวมทั้งศิลปวัตถุของไทย หรือศูนย์วัฒนธรรมไทยเพื่อการเผยแพร่ภาษาไทยและศิลปวัฒน- ธรรมไทยให้แก่ประเทศเพื่อนบ้านหรือมิตรประเทศ โดยอาจใช้สถานที่ในห้องสมุดสาธารณะ หรือในมหาวิทยาลัยของต่างประเทศ หรือในสถานทูตสถานกงสุลไทยโดยจัดตั้งเป็นมุมเฉพาะสำหรับจัดวางหนังสือไทยให้ ชาวต่างชาติได้อ่านหรือศึกษาภาษาไทย บางแห่งอาจเรียกชื่อว่า Thai Collection ก็ได้ " [การทูต] | United Nations University | มหาวิทยาลัยสหประชาชาติ จัดตั้งขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1973 ตั้งอยู่ในกรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น เป็นสถาบันอิสระที่บริหารปกครองตนเองภายในโครงร่างของสหประชาชาติ เรียกได้ว่าเป็นสถาบันการศึกษาที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อส่งเสริมความร่วมมือ ระหว่างประเทศในเชิงวิชาการ ในอันที่จะมีส่วนช่วยเหลือเกื้อกูลต่อการแก้ปัญหาเร่งด่วนต่าง ๆ ของโลก มหาวิทยาลัยนี้มีลักษณะไม่เหมือนกับมหาวิทยาลัยอื่นทั่ว ๆ ไป ทั้งในด้านโครางสร้างและแบบอย่างการดำเนินงาน กล่าวคือ ไม่มีนิสิตนักศึกษาของตนเอง ไม่มีคณะในมหาวิทยาลัย และไม่มีบริเวณมหาวิทยาลัย (campus) ดำเนินงานภายในเครือข่ายของสถาบันวิจัยและวิชาการต่าง ๆ ทั่วโลก รวมทั้งศูนย์ฝึกและศูนย์วิจัยของตนเอง ทั้งยังรวมไปถึงผู้คงแก่เรียนเป็นรายบุคคลด้วย ทั้งนี้ เพื่อร่วมกันหาทางแก้ปัญหาต่าง ๆ ของโลกเป็นจุดสำคัญเรื่องที่มหาวิทยาลัยสหประชาชาติกำลังกังวลและสนใจอยู่ใน ขณะนี้ คือ เรื่องเกี่ยวกับค่านิยมของมนุษย์ทั่วโลก รวมทั้งความรับผิดชอบทั้งหลายที่มนุษย์ทั่วโลกจะพึงมี เรื่องทิศทางใหม่ ๆ ในภาวะเศรษฐกิจที่กลังปรากฏอยู่ในโลก รวมทั้งเรื่องความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และวิทยาการทางเทคโนโลยีเรื่องพลัง ที่ทำให้เกิดความผันแปรระหว่างพลเมืองของโลก ตลอดจนเรื่องสวัสดิภาพและความเป็นอยู่ของมนุษย์ มหาวิทยาลัยแห่งนี้ ยังมุ่งหมายที่จะช่วยเพิ่มพูนศักยภาพในการวิจัย และการฝึกในประเทศที่กำลังพัฒนาทั้งหลายด้วย และภายในมหาวิทยาลัยเองก็กำลังสนใจด้านวิจัยและการฝึกฝนในบางเรื่องโดยเฉพาะ [การทูต] | betatron | เครื่องบีตาตรอน, เป็นเครื่องเร่งอิเล็กตรอนแบบหนึ่ง โดยที่อิเล็กตรอนถูกเร่งให้วิ่งเป็นวงกลมที่มีรัศมีคงที่ โดยใช้แรงกระทำที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสนามแม่เหล็ก เครื่องเร่งที่มีลักษณะเป็นรูปโดนัท รัศมีวงจรประมาณ 0.75-1.00 เมตร เครื่องนี้สามารถเร่งอิเล็กตรอนให้มีพลังงานสูงถึง 340 ล้านอิเล็กตรอนโวลต์ บีตาตรอนเครื่องแรกสร้างโดย Donald W. Kerst ในปี พ.ศ.2483 ที่มหาวิทยาลัยอิลลินอยส์ (University of Illinois) ประเทศสหรัฐอเมริกา เร่งอิเล็กตรอนให้มีพลังงาน 2.5 ล้านอิเล็กตรอน [พลังงาน] | Academic Medical Centers | ศูนย์แพทยศาสตร์, โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย [การแพทย์] | Consensus, High | เนื้อหาวิชาที่แสดงความคิดเห็นขัดแย้งกัน [การแพทย์] | Course Description | เนื้อหาวิชาโดยสังเขป [การแพทย์] | Curriculum, Subject Centered | หลักสูตรเนื้อหาวิชา [การแพทย์] | Aggregator | ตัวแทนจัดหาวารสารอิเล็กทรอนิกส์, Example: Aggregator เป็นคำที่ใช้เรียกตัวแทนในการจัดหาวารสารอิเล็กทรอนิกส์ โดยจัดวารสารจำหน่ายเป็นชุด (Package) ให้แก่ห้องสมุด หรือสถาบันบริการสารสนเทศประเภทต่างๆ ทำหน้าที่เป็นตัวกลางในการจัดหา จัดทำเครื่องมือค้นหาวารสารอิเล็กทรอนิกส์ และบริการจัดทำบรรณานุกรมสำหรับเอกสารฉบับเต็มของวารสารที่สามารถเข้าถึงได้ทางออนไลน์ โดยจะทำสัญญากับสำนักพิมพ์หรือผู้ผลิตเป็นจำนวนมากเพื่อเสนอรายชื่อวารสารเป็นกลุ่มแบบเหมารวมและเสนอขายให้ห้องสมุดโดยจำหน่ายเป็นชุด (Package) การจัดหาวารสารวิธีนี้ผู้ผลิตไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการลงทุนด้านการตลาด รวมทั้งการจัดโปรแกรมและเทคโนโลยี โดยตัวแทนจะเป็นผู้เลือกและจัดหาชุดวารสารแทนบรรณารักษ์ และจัดการตลาด จัดโปรแกรม และลงทุนด้านเทคโนโลยีแทนสำนักพิมพ์ แต่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการทั้งหมดเพิ่มขึ้นจากราคาวารสารที่ซื้อจากสำนักพิมพ์ประมาณ 30-40 เปอร์เซ็นต์ ผู้จัดหาและจำหน่ายวารสารอิเล็กทรอนิกส์ในลักษณะของ Aggregator ได้แก่ Highwire Press, JSTOR, Project MUSE, OCLC, Lexis/Nexis, ProQuest Information and Learning Company, EBSCO เป็นต้น [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | sonar | โซนาร์, อุปกรณ์ที่ใช้ในเรือเพื่อสำรวจหรือหาวัตถุใต้ทะเล โดยอาศัยหลักการส่งคลื่นเสียงที่มีความถี่สูงออกไปกระทบวัตถุใต้น้ำ แล้วสะท้อนกลับมาสู่เครื่องรับ sonar ย่อมาจาก sound navigation and ranging [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | boundary test | การทดสอบค่าที่ขอบ, การเตรียมข้อมูลสำหรับทดสอบโปรแกรม โดยการค้นหาว่าช่วงของข้อมูลที่ถูกต้องคืออะไร แล้วเตรียมข้อมูลทดสอบที่มีค่าอยู่ตรงขอบของช่วงดังกล่าวพอดี เพื่อเป็นการตรวจสอบว่าโปรแกรมจัดการกับข้อมูลดังกล่าวได้อย่างถูกต้องหรือไม่ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
| I'm up for the Douglas Chair at the university. | ผมไปหา ดักกลาส แชร์ ที่มหาวิทยาลัย Basic Instinct (1992) | I'm certain that Heathcliff seeks by some means to dispossess you of your inheritance... and in that way, to revenge himself on me. | พ่อมั่นใจว่าฮีธคลิฟฟ์ หาวิธี ตัดสิทธิลูก ออกจากมรดก Wuthering Heights (1992) | You must find a way of seeing me again. | เธอต้องหาวิธี มาพบฉันอีกนา Wuthering Heights (1992) | No problem, man. | ไม่มีปัญหาว่ะ Cool Runnings (1993) | Uh, I only played once with some Jewish friends in college. | ฉันเคยเล่นแค่ครั้งเดียวกับ เพื่อนชาวยิวที่มหาวิทยาลัยเท่านั้นเองค่ะ The Joy Luck Club (1993) | Harold made it back in college. | ฮาร์โรลเป็นคนทำเองตอนที่อยู่มหาวิทยาลัย The Joy Luck Club (1993) | That first afternoon he introduced himself on campus, he asked to borrow my notes. | ครั้งแรกตอนบ่ายนั้น ที่เขาเข้ามาแนะนำตัวเองตอนอยู่ในมหาวิทยาลัย เขามาขอยืมสมุดจดของฉัน The Joy Luck Club (1993) | - We're not insinuating anything, sir. - Wait a minute! | ที่หาว่าผม ลืมอะไรบางอย่าง เกี่ยวกับเด็กคนอื่นๆ ? Deep Throat (1993) | And I'm not losing sleep over it. Good night. | # หาว # ยังไม่ Deep Throat (1993) | As director of Leland University's Biotechnology Research Program... I thank you on behalf of my esteemed colleagues for your consideration. | ในฐานะ ผ.อ.โครงการวิจัยไบโอเทคมหาวิทยาลัยเลแลนด์ ผมขอขอบคุณในนามของเพื่อนที่เคารพในการรับพิจารณาโครงการ Junior (1994) | You know, of course, that human experimentation... is against university and F.D.A. guidelines. | คุณก็รู้ใช่ไหม ว่าการทดลองในมนุษย์ มันผิดกฎมหาวิทยาลัย รวมถึงอาหารและยา Junior (1994) | I'm workin' in conjunction with the university's psychiatric center. | ผมทำงานร่วมกับฝ่ายจิตเวทย์ของมหาวิทยาลัย Junior (1994) | We were unaware of the university policy, so that's why the little fib. | เรายังไม่ได้แจ้งนโยบายมหาวิทยาลัย เลยดูเหมือนโกหกหน่อยๆ Junior (1994) | Bravo, Doctor. | ในประวัติศาสตร์ของทางมหาวิทยาลัย ดีใจด้วย ด็อกเตอร์ Junior (1994) | And I quote, "Exploitation of results from university-funded research... shall be at the sole discretion of the university." | "การค้นพบที่อยู่ในงบประมาณของมหาวิทยาลัย" "จะต้องถูกขายภายใต้ชื่อของมหาวิทยาลัย" Junior (1994) | You and your baby are university property now. | คุณและลูกของคุณเป็นทรัพย์สินของมหาวิทยาลัยแล้ว Junior (1994) | Somebody from the university has got a whole bunch of media out front. | มีคนจากมหาวิทยาลัยส่งนักข่าวมาเต็มหน้าตึกเลย Junior (1994) | This is Edward Sawyer, president of Leland University. | ท่านนี้คือเอ็ดเวิร์ด ซอว์เยอร์ อธิการมหาวิทยาลัย Junior (1994) | We have the accused at the scene of the crime. | เราได้ถูกกล่าวหาว่าในที่เกิดเหตุของอาชญากรรม The Shawshank Redemption (1994) | All I do any more is think of ways to break my parole... ..so maybe they'd send me back. | ทั้งหมดที่ฉันทำใด ๆ มากขึ้นคือคิดหาวิธีที่จะทำลายคำสาบานของฉัน ... ..so บางทีพวกเขาจะส่งฉันกลับ The Shawshank Redemption (1994) | You try to figure out who's professional and who isn't. | การพยายามหาว่าใครเป็นมืออาชีพและใครไม่ใช่ In the Mouth of Madness (1994) | Albert Torena call Vincent? | โทเรน่าโทรหาวินเซนต์เปล่า Heat (1995) | "Jumanji. A game for those who seek to find a way to leave their world behind. | "จูแมนจี้ เกมสำหรับผู้ที่ หาวิธีทิ้งโลกนี้ไว้เบื้องหลัง... Jumanji (1995) | By the way, my dear, don't think that I mean to be unkind, but you were just a teeny-weeny bit forward with Mr. De Winter. | อ้อ อย่าหาว่าฉันไม่มีเมตตา เเต่ที่เธอเสนอหน้าไปนิดกับคุณเดอ วินเทอร์ Rebecca (1940) | Mr. Crawley, please don't think me morbidly curious. It isn't that. | คุณครอว์ลี่ย์คะ อย่าหาว่าฉันสอดรู้สอดเห็นเลย Rebecca (1940) | It appears that Mrs. Danvers has accused Robert of stealing a valuable ornament from the morning room. | คุณนายแดนเวอร์สกล่าวหาว่าโรเบิร์ต ขโมยของประดับมีค่าในห้องนั่งเล่นเช้า Rebecca (1940) | If there's no reasonable doubt, then you must, in good conscience, find the accused guilty. | หากมีข้อสงสัยใด ๆ ที่เหมาะสมแล้วคุณจะต้องอยู่ในจิตสำนึกที่ดี พบว่าผู้ถูกกล่าวหาว่ามีความผิด 12 Angry Men (1957) | In the event that you find the accused guilty, the bench will not entertain a recommendation for mercy. | ในกรณีที่คุณพบว่าผู้ถูกกล่าวหาว่ามีความผิด ม้านั่งจะไม่ได้สร้างความบันเทิงให้คำแนะนำสำหรับความเมตตา 12 Angry Men (1957) | - Let's smash them! | ลองหาวัดที่ใช่มั้ย Help! (1965) | - University, then. | มหาวิทยาลัยแล้ว Yellow Submarine (1968) | - University of Whales. | มหาวิทยาลัยปลาวาฬ Yellow Submarine (1968) | As minister of science, it is my duty to find out whether some other form of life exists. | ฐานะรัฐมนตรีวิทยาศาสตร์ ฉันมีหน้าที่ค้นหาว่า... มีสิ่งมีชีวิตรูปแบบอื่นอีกมั้ย Beneath the Planet of the Apes (1970) | They've figured out so many ways to talk to each other, they're finding nobody can. | พวกคุณหาวิธีคุยกันมากมาย แต่ในที่สุดก็ไม่มีใครทำได้ Oh, God! (1977) | - Ah. I have known some women who are said to be witches. | ผมรู้มาว่ามีพวกผู้หญิงบางคน ถูกกล่าวหาว่าเป็น แม่มด Suspiria (1977) | You studied under Professor Ravenwood in Chicago? | คุณศึกษาภายใต้ศาสตราจารย์ราเวนวู้ด มหาวิทยาลัยชิคาโก. ? Indiana Jones and the Raiders of the Lost Ark (1981) | The Nazis have teams of archaeologists running around the world looking for religious artefacts. | พวกนาซีได้จัดทีมนักโบราณคดี ส่งไปทั่วโลก มองหาวัตถุทางศาสนา Indiana Jones and the Raiders of the Lost Ark (1981) | The excavation is enormous. | กระบวนการขุดค้นหาวัตถุโบราณที่ใหญ่มหึมา. Indiana Jones and the Raiders of the Lost Ark (1981) | You know, wearing that flag on that jacket, looking the way you do... you're askin' for trouble around here, friend! | คุณจะรู้ว่าการสวมใส่ธงบนแจ็คเก็ตที่กำลังมองหาวิธีการที่คุณทำ คุณจะขอปัญหาในรอบที่นี่เพื่อน First Blood (1982) | Colonel, you came out here to find out why one of your machines blew a gasket! | พันเอก คุณมาที่นี่ เพื่อหาว่าทำไมหนึ่งเครื่องของคุณพัดปะเก็น First Blood (1982) | Bapu has always struggled to find the way to God. | บาปูพยายามหาวิธี เข้าถึงพระเจ้าเสมอ Gandhi (1982) | - I don't see how. As soon as I'm finished, I return it right away. | อย่าหาว่าฉันเอาไปนะ The Thing (1982) | If you don't give way, don't blame me for being discourteous. | ถ้าไม่หลีกทางให้ข้า, อย่าหาว่าข้าไม่เกรงใจล่ะ. Return of the Condor Heroes (1983) | chancellor of the university. | อธิการบดีของมหาวิทยาลัย 2010: The Year We Make Contact (1984) | My husband is a physician at the university hospital. | สามีของฉันเป็นแพทย์ ที่โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย 2010: The Year We Make Contact (1984) | I have to get back to my university. | ฉันมีที่จะได้รับกลับไปที่มหาวิทยาลัยของฉัน Indiana Jones and the Temple of Doom (1984) | You accuse me of cheating. | คุณกล่าวหาว่าผมโกง Indiana Jones and the Temple of Doom (1984) | I seem to remember that in Honduras you were accused of being a grave robber rather than an archaeologist. | ฉันดูเหมือนจะจำได้ว่าในฮอนดูรัส คุณถูกกล่าวหาว่าเป็นโจรปล้นหลุมฝังศพ มากกว่าที่นักโบราณคดี Indiana Jones and the Temple of Doom (1984) | Not for us. We have to find out who did this. | ไม่ใช่สำหรับเรา เราต้องหาว่าใครเป็นคนทำ Clue (1985) | We were going to stop work on the neurophysical, concentrate on something more practical. | ฉันว่าเราหาวิธีอื่น ที่ได้ผลกว่าวิธีนี้ จะดีกว่ามั้ง Day of the Dead (1985) |
| อาจารย์มหาวิทยาลัย | [ājān mahāwitthayālai] (n, exp) EN: lecturer | หาว | [hāo] (n) EN: open air ; sky | หาว | [hāo] (v) EN: yawn FR: bâiller | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | [Julālongkøn Mahāwitthayālai] (n, prop) EN: Chulalongkorn University FR: université Chulalongkorn [ f ] | การศึกษาระดับมหาวิทยาลัย | [kānseuksā radap mahāwitthayālai] (n, exp) EN: university education | คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | [Khana Nitisāt Julālongkøn Mahāwitthayālai] (org) FR: Faculté de Droit de l'université Chulalongkorn [ f ] | คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ | [Khana Nitisāt Mahāwitthayālai Thammasāt] (org) FR: Faculté de Droit de l'université Thammasat [ f ] | คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาล้ย | [khana witthayāsāt Julālongkøn mahā witthayālai] (n, exp) FR: faculté des sciences de l'université Chulalongkorn [ f ] | มหาวิหาร | [mahāwihān] (n) EN: cathedral FR: cathédrale [ f ] ; basilique [ f ] | มหาวิหารเวสต์มินสเตอร์ | [Mahāwihān Wēsminstoē] (n, prop) EN: Westminster Abbey FR: abbaye de Westminster [ f ] | มหาวิทยาลัย | [mahāwitthayālai] (n) EN: university FR: université [ f ] | มหาวิทยาลัยบูรพา | [Mahāwitthayālai Būraphā] (org) EN: Burapa University FR: université Burapha [ f ] | มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | [Mahāwitthayālai Chieng Mai] (org) EN: Chiang Mai University FR: université de Chiangmai [ f ] | มหาวิทยาลัยเอเชียน | [Mahāwitthayālai Ēchīen] (org) EN: Asian University FR: Asian University [ f ] | มหาวิทยาลัยเอกชน | [mahāwitthayālai ekkachon] (n, exp) EN: private university FR: université privée [ f ] | มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ | [Mahāwitthayālai Hāt Yai] (org) EN: Hatyai University FR: université de Hat Yai [ f ] | มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต | [Mahāwitthayālai Kasēm Bandit] (org) EN: Kasem bundit University (KBU) FR: université Kasem Bundit (KBU) [ f ] | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ | [Mahāwitthayālai Kasēttrasāt] (org) EN: Kasetsart University FR: univeristé Kasetsart [ f ] | มหาวิทยาลัยขอนแก่น | [Mahāwitthayālai Khøn Kaēn] (org) EN: Khon Kaen University FR: université de khon Kaen [ f ] | มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย | [Mahāwitthayālai Mahā Julālongkøn Ratchāwitthayālai] (org) EN: Mahachulalongkornrajavidyalaya University | มหาวิทยาลัยมหาสารคาม | [Mahāwitthayālai Mahā Sārakhām] (org) EN: University of Maha Sarakham FR: université de Maha Sarakham [ f ] | มหาวิทยาลัยมหิดล | [Mahāwitthayālai Mahidøn] (org) EN: Mahidol University FR: université Mahidol [ f ] | มหาวิทยาลัยเปิด | [mahāwitthayālai poēt] (n, exp) EN: Open University | มหาวิทยาลัยนานาชาติ แสตมฟอร์ด | [Mahāwitthayālai nānāchāt Sátaēmføt] (org) EN: Stamford International University FR: université internationale de Stamford [ f ] | มหาวิทยาลัยนเรศวร | [Mahāwitthayālai Narēsūan] (org) EN: Naresuan University FR: université Naresuan [ f ] | มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต | [Mahāwitthayālai Rātchaphat Sūan Dusit] (org) EN: Suan Dusit Rajabhat University FR: université Rajabhat Suan Dusit [ f ] | มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา | [Mahāwitthayālai Rātchaphat Sūan Sunanthā] (org) EN: Suan Sunandha Rajabhat University FR: université Rajabhat Suan Sunandha [ f ] | มหาวิทยาลัยรามคำแหง | [Mahāwitthayālai Rāmkhamhaēng] (org) EN: Ramkhamhaeng university FR: université Ramkhamhaeng [ f ] | มหาวิทยาลัยรังสิต | [Mahāwitthayālai Rangsit] (org) EN: Rangsit University FR: université de Rangsit [ f ] | มหาวิทยาลัยรัฐ | [Mahāwitthayālai Rat] (n, prop) EN: State university FR: université de l'Etat [ f ] ; université publique [ f ] | มหาวิทยาลัยราชภัฏ | [Mahāwitthayālai Rātchaphat] (org) EN: Rajabhat University | มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ | [Mahāwitthayālai Rātchaphat Burīram] (org) EN: Buriram Rajabhat University | มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ | [Mahāwitthayālai Rātchaphat Surin] (org) EN: Surindra Rajabhat University | มหาวิทยาลัยเสมือนจริง | [mahāwitthayālai sameūoen jing] (n, exp) EN: virtual university | มหาวิทยาลัยศิลปากร | [Mahāwitthayālai Silapākøn] (org) EN: Silpakorn University FR: université Silpakorn | มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ | [Mahāwitthayālai Sīnakharinwirōt] (org) EN: Srinakharinwirot Unversity FR: université Srinakharinwirot [ f ] | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | [Mahāwitthayālai Songkhlā Nakharin] (org) EN: Prince of Songkla University FR: université Prince de Songkhla [ f ] | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | [Mahāwitthayālai Sukhōthai Thammāthirāt] (org) EN: Sukhothai Thammathirat Open University FR: université libre Sukhothai Thammathirat [ f ] | มหาวิทยาลัยทักษิณ | [Mahāwitthayālai Thaksin] (org) EN: Thaksin University FR: université Thaksin [ f ] | มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ | [Mahāwitthayālai Thammasāt] (org) EN: Thammasat University FR: université Thammasat [ f ] | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร | [Mahāwitthayālai Thēknōlōyī Mahānakhøn] (org) EN: Mahanakorn University of Technology (UMT) FR: université de technologie Mahanakorn (MUT) [ f ] | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล | [Mahāwitthayālai Thēknōlōyī Rātchamongkhøn] (org) EN: Rajamangala University of Technology | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน | [Mahāwitthayālai Thēknōlōyī Rātchamongkhøn Īsān] (org) EN: Rajamangala University of Technology Isan | มหาวิทยาลัยศรีปทุม | [Mahāwitthayālai Sī Pathum] (org) EN: Sripatum University | มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ | [Mahāwitthayālai Thurakit Bandit] (org) EN: Dhurakij Pundit University (DPU) FR: université Dhurakij Pundit (DPU) [ f ] | มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี | [Mahāwitthayālai Ubon Rātchathānī] (org) EN: Ubon Ratchathani University FR: université d'Ubon Ratchathani [ f ] | นึกหาวิธี | [neuk hā withī] (v, exp) EN: think of a way | ปัญหาวัฒนธรรม | [panhā watthanatham] (n, exp) EN: cultural problems | ระหว่างมหาวิทยาลัย | [rawāng mahāwitthayālai] (adj) FR: interuniversitaire | สหพันธ์กีฬามหาวิทยาลัยโลก | [Sahaphan Kīlā Mahāwitthayālai Lōk] (org) EN: International University Sports Federation (FISU) FR: Fédération Internationale de Sport Universitaire [ f ] |
| emeritus | (adj, n) กิตติคุณ เป็นตำแหน่งที่มหาวิทยาลัยมอบให้แก่บุคลากรอาวุโสที่เกษียณอายุแล้ว โดยเป็นผู้ที่ทำคุณประโยชน์แก่มหาวิทยาลัยมาอย่างต่อเนื่องยาวนาน เช่น president emeritus อธิการบดีกิตติคุณ, professor emeritus ศาสตราจารย์กิตติคุณ | Ramkhamhaeng University | (n, name, uniq) มหาวิทยาลัยรามคำแหง, มหาวิทยาลัยแบบไม่ต้องสอบเข้า ไม่จำกัดอายุ เพศ หรืออัตตลักษณ์ทางเพศ ตั้งอยู่ที่ ถ.รามคำแหง เขตหัวหมาก กรุงเทพมหานคร, www.RU.ac.th, See also: Open University |
| academic | (n) อาจารย์หรือนักศึกษามหาวิทยาลัย | aerialist | (n) นักกายกรรมกลางหาว | accuse of | (phrv) กล่าวหาว่า, See also: กล่าวหา | Burapa University | (n) มหาวิทยาลัยบูรพา | be up | (phrv) มาถึง (มหาวิทยาลัยหรือสถานที่สำคัญ) | campus | (n) พื้นที่ที่เป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัย, Syn. school grounds, college grounds | corespondent | (n) ชู้, See also: ผู้ที่ถูกกล่าวหาว่าเป็นชู้ในการฟ้องหย่า | feed into | (phrv) ป้อนเข้าไปใน (เครื่องจักร, โรงเรียน, มหาวิทยาลัย), See also: ป้อนเข้าสู่, หยอดเข้าไปใน | excavate | (vi) ขุดค้น (อย่างระมัดระวังและเป็นกระบวนการ) เพื่อหาวัตถุโบราณ, Syn. unearth | excavate | (vt) ขุดค้น (อย่างระมัดระวังและเป็นกระบวนการ) เพื่อหาวัตถุโบราณ, Syn. unearth | excavation | (n) กระบวนการขุดค้นหาวัตถุโบราณ (ในสถานที่ทางประวัติศาสตร์), Syn. burrowing, digging, unearthing | first class | (n) เกียรตินิยมอันดับหนึ่งในมหาวิทยาลัยของอังกฤษ | fraternity | (n) สมาคมของนักศึกษาชายในวิทยาลัยหรือมหาวิทยาลัย | freshman | (n) น้องใหม่, See also: น.ศ. ปีหนึ่งในวิทยาลัยหรือมหาวิทยาลัย, Syn. fresher, frosh | go down to | (phrv) ออกจาก (มหาวิทยาลัยหรือเมือง), Syn. go down | go down | (phrv) ออกจากมหาวิทยาลัยหลังศึกษาไปช่วงหนึ่ง, Syn. be up, comedown | graduate from | (phrv) จบการศึกษาจากโรงเรียน วิทยาลัย มหาวิทยาลัย | graduate from | (phrv) จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัย | gape | (vi) อ้าปากค้าง, See also: หาว, Syn. yawn | gyp | (n) คนรับใช้ชายในมหาวิทยาลัย, Syn. a college servant | heuristic | (adj) ที่เกี่ยวข้องกับการเรียนที่กระตุ้นให้ผู้เรียนค้นหาวิธีแก้ปัญหาต่างๆ ด้วยตัวเอง | higher education | (n) การศึกษาในระดับสูงกว่ามัธยมศึกษา โดยเฉพาะในวิทยาลัย มหาวิทยาลัย และบัณฑิตวิทยาลัย | impugn | (vt) กล่าวหาว่าเชื่อไม่ได้, Syn. contradict, controvert | institution | (n) สถาบัน, See also: องค์กรสำคัญๆ เช่น มหาวิทยาลัย โรงพยาบาล ธนาคาร, Syn. academy, foundation, institute | institutional | (adj) เกี่ยวกับสถาบัน, See also: เกี่ยวกับระบบ, เกี่ยวกับองค์กรสำคัญๆ เช่น มหาวิทยาลัย โรงพยาบาล ธนาคาร, Syn. convention, custom, practice | intercollegiate | (adj) ซึ่งเกิดขึ้นระหว่างมหาวิทยาลัย, See also: ซึ่งเกิดขึ้นระหว่างวิทยาลัย | lecture to | (phrv) แสดงการบรรยายให้ (โดยเฉพาะในมหาวิทยาลัยหรือวิทยาลัย), See also: บรรยายให้ | junior | (n) นักศึกษามหาวิทยาลัยชั้นปีที่ 3 | Kasetsart University | (n) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ | Khon Kaen University | (n) มหาวิทยาลัยขอนแก่น | Mahidol University | (n) มหาวิทยาลัยมหิดล | matriculate | (vi) สอบเข้าวิทยาลัยหรือมหาวิทยาลัยได้ | Oxbridge | (n) มหาวิทยาลัยอ็อกซ์ฟอร์ดและเคมบริดจ์ในประเทศอังกฤษ | Oxon | (n) มหาวิยาลัยอ็อกซ์ฟอร์ด | Oxonian | (adj) เกี่ยวกับมหาวิทยาลัยอ็อกซ์ฟอร์ด | Oxonian | (adj) เกี่ยวกับมหาวิทยาลัยอ็อกซ์ฟอร์ด | professor | (n) อาจารย์มหาวิทยาลัย | pass through | (phrv) เรียนครบหลักสูตร (เช่น มหาวิทยาลัย) | reader | (n) ผู้บรรยายหรืออาจารย์ในมหาวิทยาลัยของอังกฤษ, See also: มีตำแหน่งต่ำกว่า professor ปกติใช้ Reader, Syn. leturer, teacher | rector | (n) อธิการบดีของมหาวิทยาลัยหรือวิทยาลัย, Syn. dean, director | redbrick | (adj) ซึ่งเป็นมหาวิทยาลัยหรือวิทยาลัยของอังกฤษ, Syn. red-brick | regent | (n) สมาชิกสภามหาวิทยาลัย | regius | (adj) ซึ่งดำรงตำแหน่งเป็นศาสตราจารย์ในมหาวิทยาลัยของอังกฤษ | woozy | (sl) ง่วงนอน, See also: ง่วงเหงาหาวนอน | scurrilous | (adj) หยาบคาย, See also: สามหาว, ต่ำช้า, Syn. abusive, foul-mouthed, scornful, defamatory | senate | (n) วุฒิสภา, See also: สภาสูง, อาคารสภาสูง, ห้องสภาสูง, สภาสูงสุดของโรมัน, สภาบริหารมหาวิทยาลัย, Syn. council, assembly | Silpakorn University | (n) มหาวิทยาลัยศิลปากร | sonar | (n) ระบบหาวัตถุใต้น้ำด้วยคลื่นเสียง, See also: เครื่องส่งเสียงสะท้อนใต้น้ำ, Syn. detector, finder | Ubon Ratchathani University | (ีีn) มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี | university | (n) มหาวิทยาลัย |
| a. a. u. w. | abbr. American Association of University Women (สมาคมสตรีมหาวิทยาลัยแห่งอเมริกา) | abc | (เอบีซี) ย่อมาจาก Atanasoff-Berry Computer ว่ากันว่า เป็นชื่อเครื่องคอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์เครื่องแรกของโลก (หนังสือบางเล่มว่า เครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องแรกของโลกมีชื่อว่า ENIAC) ศาสตราจารย์ John Atanasoff แห่งมหาวิทยาลัยไอโอวา และ Clifford Berry เป็นผู้ประดิษฐ์เครื่องเอบีซีนี้เมื่อราวทศวรรษ 1940 ABEND การหยุดงานผิดปกติ <คำแปล>ย่อมาจาก abnormal end of task หมายถึงการหยุดงานที่เกิดขึ้นโดยที่ไม่ได้มีคำสั่งให้หยุดในโปรแกรมหรือชุดคำสั่งมักจะเกิดขึ้น เมื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ถูกสั่งให้ปฏิบัติงานหนึ่งงานใด แล้วไม่ยอมปฏิบัติ อาจจะเป็นเพราะเครื่องเสีย หรือโปรแกรมผิดพลาด | aerialist | (แอ' เรียลลิสท) นักกายกรรมกลางหาว | alumnus | (อะลัม' เนิส) n., (pl. -ni) ศิษย์เก่าชายของโรงเรียน วิทยาลัยหรือมหาวิทยาลัย | arpanet | (อาร์ปาเน็ต) ARPA นั้นย่อมาจาก Advanced Research Project Agency เป็นชื่อหน่วยงานที่ทำการวิจัยและทดลองเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทั่วประเทศของกระทรวงกลาโหม สหรัฐอเมริกา ที่เชื่อมโยงสถาบันวิจัยและมหาวิทยาลัยต่าง ๆ เข้าด้วยกัน โดยมีจุดประสงค์ที่จะเพิ่มศักยภาพทางการทหารให้แก่กระทรวงกลาโหม ปัจจุบัน เครือข่ายอาร์ปาเน็ต ได้ไปผนวกเข้ากับเครือข่ายอื่น ๆ อีกหลายเครือข่าย เป็นเครือข่ายรวมใหญ่ในชื่อว่า "อินเตอร์เน็ต" (Internet) | autoexec.bat | ชื่อแฟ้มคำสั่งรวม <คำแปล>เป็นชื่อของแฟ้มเก็บคำสั่งรวม (batch file) แฟ้มหนึ่ง ถือเป็นแฟ้มพิเศษ เพราะคอมพิวเตอร์จะทำตามคำสั่งในแฟ้มที่ชื่อนี้ทันทีที่เปิดเครื่อง โดยมาก จะเขียนขึ้นเพื่อให้ผู้ใช้คอมพิวเตอร์เรียกโปรแกรมต่าง ๆ มาใช้ได้เลย โดยไม่ต้องเสียเวลาหาว่า โปรแกรมที่ต้องการอยู่ในสารบบ (directory) ใด ใช้คำสั่งเข้าไปในสารบบนั้น แล้วจึงตามด้วยชื่อแฟ้มที่เป็นโปรแกรม แต่ผู้ใช้สามารถพิมพ์ชื่อโปรแกรมได้เลย ตัวอย่างแฟ้ม autoexec.bat ที่นำเข้าสู่ โปรแกรม FoxPro โดยผ่านโปรแกรม VTHAI อาจมีข้อความดังนี้ echo off cls cd FOXPRO25 VTHAI/U CD\ AUX : axis : | bbs | (บีบีเอส) ย่อมาจาก bulletin board system หรือที่แปลว่า ระบบแผงข่าว เป็นโปรแกรมหนึ่งที่ทำหน้าที่เก็บรายการ หัวข้อ หรือข้อมูลที่เป็นที่สนใจ ผู้ที่ต้องการทราบข้อมูลเหล่านี้ อาจจะโทรศัพท์ผ่านเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อขอคัดลอกแฟ้มข้อมูล หรือสอบถามข้อความ ก็ได้ เช่น บีบีเอสของมหาวิทยาลัยก็อาจมีประกาศต่าง ๆ เช่น ประกาศรับสมัครนิสิตเข้าเรียนในระดับต่าง ๆ ปฏิทินการศึกษา รายการกีฬา ฯ ผู้ใช้บริการจะต้องมีคอมพิวเตอร์และโมเด็มพร้อมกับโปรแกรมที่จำเป็น ถ้าเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับข้อมูลสำคัญในทางธุรกิจ จะมีการเรียกเก็บค่าบริการด้วย (มีใช้เฉพาะในระบบเครือข่าย) | bulletin board system | ระบบการบริการเครือข่ายที่อนุญาตให้ผู้ใช้ที่มีผลประโยชน์ร่วมให้ส่งและรับข้อมูลหรือได้รับซอฟแวร์ เป็นต้น ระบบแผงข่าวศูนย์รวมข่าวใช้ตัวย่อว่า BBS (อ่านว่า บีบีเอส) เป็นโปรแกรมหนึ่งที่ทำหน้าที่เก็บรายการ หัวข้อ หรือข้อมูลที่เป็นที่สนใจ ผู้ที่ต้องการทราบข้อมูลเหล่านี้ อาจจะโทรศัพท์ผ่านเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อขอคัดลอกแฟ้มข้อมูล หรือสอบถามข้อความ ก็ได้ เช่น ระบบแผงข่าวของมหาวิทยาลัยก็อาจมีประกาศต่าง ๆ เช่น ประกาศรับสมัครนิสิตเข้าเรียนในระดับต่าง ๆ ปฏิทินการศึกษา รายการกีฬา ฯ ผู้ใช้บริการจะต้องมีคอมพิวเตอร์และโมเด็มพร้อมกับโปรแกรมที่จำเป็น ถ้าเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับข้อมูลสำคัญในทางธุรกิจ จะมีการเรียกเก็บค่าบริการด้วย (มีใช้เฉพาะในระบบเครือข่าย) | campus | (แคมพฺ'พัส) n. บริเวณมหาวิทยาลัยหรือโรงเรียน, วิทยาลัย, มหาวิทยาลัย -pl. campuses | campus area network | ข่ายงานบริเวณวิทยาเขตหมายถึงข่ายงานร่วมกันภายในแต่ละมหาวิทยาลัยที่มีวิทยาเขต (campus) หลายวิทยาเขต คอมพิวเตอร์ในแต่ละวิทยาเขตจะทำงานร่วมกันได้ ใช้ข้อมูลหรือโปรแกรมร่วมกันได้ ผู้ใช้สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูล หรือใช้อุปกรณ์บางอย่างร่วมกันได้ เช่น เครื่องพิมพ์ นับเป็นการประหยัดค่าใช้จ่ายได้เป็นอย่างดีดู local area network ประกอบ | censor | (เซน'เซอะ) n. เจ้าหน้าที่จับผิด, เจ้าหน้าที่ดูแลมหาวิทยาลัย, พลังข่มจิตภายใน vt. ตรวจสอบ, เซนเซอร์, ตัดตอนแก้ไข, See also: censorial adj. -Conf. consure | college-bred | adj. ซึ่งได้รับการศึกษาขั้นมหาวิทยาลัย | colleger | (คอล'ละเจอะ) n. นักเรียนวิทยาลัย, นักเรียนมหาวิทยาลัย | collegial | (คะลี'เจียล) adj. เกี่ยวกับวิทยาลัยหรือมหาวิทยาลัย, นักศึกษาของมหาวิทยาลัย | collegian | (คะลี'เจียน) n. นิสิตมหาวิทยาลัย | collegiate | (คะลี'จิเอท) adj. (เกี่ยวกับ) วิทยาลัยหรือมหาวิทยาลัย, สมาชิกในสมาคมหรือบริษัท, Syn. collegial | common | (คอม'เมิน) adj. ร่วมกัน, ธรรมดา, สามัญ, ซึ่งรู้จักกันดีในทางเลว, พร้อมกัน, เหมือนกัน, สาธารณะ n., See also: commons n., pl. คนสามัญ, สมาชิกสภาล่าง, ห้องอาหารขนาดใหญ่ โดยเฉพาะในมหาวิทยาลัย, Syn. habitual, ordinary, usual -Conf. mutu | commoner | (คอม'มะเนอะ) n. สามัญชน, สมาชิกสภาล่าง, นักศึกษา (โดยเฉพาะในมหาวิทยาลัยอ๊อคฟอร์ด) ที่ไม่ได้รับทุนช่วยเหลือการศึกษา, ผู้มีกรรมสิทธิ์ร่วม | darpanet | (ดาร์พาเน็ต) ย่อมาจาก Defense Advanced Research Projects Agency Network (แปลว่า เครือข่ายสำนักงานโครงการวิจัยขั้นสูงของกระทรวงกลาโหม) เป็นชื่อหน่วยงานที่เป็นเครือข่ายสำนักงานที่ทำโครงการวิจัยขั้นสูงทั่วประเทศของกระทรวงกลาโหม สหรัฐอเมริกา ที่เชื่อมโยงสถาบันวิจัยและมหาวิทยาลัยต่าง ๆ เข้าด้วยกัน โดยมีจุดประสงค์ที่จะเพิ่มศักยภาพทางการทหารให้แก่กระทรวงกลาโหม ปัจจุบันเครือข่ายดาร์ปาเน็ต ได้ไปผนวกเข้ากับเครือข่ายอื่น ๆ อีกหลายเครือข่าย เป็นเครือข่ายรวมใหญ่ในชื่อว่า "อินเตอร์เน็ต" (internet) ดู internet ประกอบ | decryption | การถอดรหัสลับหมายถึงการถอดรหัส หรือแปลความของรหัส ให้เป็นข้อความที่เข้าใจได้ เช่นรหัส 3716543 มีความหมายว่า เป็นเลขประจำตัวของนักศึกษาที่เริ่มเข้าเรียนในมหาวิทยาลัยในปีการศึกษา 2537 อยู่คณะวิศวกรรมศาสตร์ ฯ ดู encryption ประกอบ | docent | (โด'เซินท) n. ครูพิเศษ, อาจารย์มหาวิทยาลัย., See also: docentship n. ดูdocent | donnish | (ดอน'นิช) adj. คล้ายอาจารย์มหาวิทยาลัย | fellow | (เฟล'โล) n. คนผู้ชาย, เด็กผู้ชาย, เพื่อน, เพื่อนร่วมงาน, บุคคล, มนุษย์, เจ้าหมอ, คนชั้นเดียวกัน, สิ่งประกอบเป็นคู่, ของคู่กัน, นักศึกษาบัญฑิตวิทยาลัยที่ได้รับทุนการศึกษา, สมาชิกของสมาคมวิชาการ, ผู้วิจัยในมหาวิทยาลัย vt. ทำให้เท่าเทียมกับ, เท่าเทียมกับ. adj. เกี่ยวกับช | fellowship | (เฟล'โลชิพ) n. ตำแหน่งผู้วิจัยในมหาวิทยาลัย, ตำแหน่งสมาชิกของสมาคมวิชาการ, ความสัมพันธ์ของมนุษย์, มิตรภาพ, การคบหา, ความเป็นมิตร, สมาคมของบุคคลที่มีอาชีพ, รสนิยม, บริษัท, กลุ่มนักวิจัยในมหาวิทยาลัย. vt. รับเข้าเป็นสมาชิกของสมาคมหรือกลุ่ม. vi. ร่วมเป็นสมาชิกของสมาค | fescennine | (เฟส' ซะนิน) adj. หยาบคาย, สามหาว, ลามก | gape | (เกพ) { gaped, gaping, gapes } vi., n. (การ) อ้าปากค้าง, อ้าปากหาว, หาวนอน, เปิดออกกว้าง, ความกว้างของปากที่เปิด., See also: gaper n. gapingly adv., Syn. stare, gaze, glare | gapes | (เกพซฺ) n. โรคพยาธิในสัตว์จำพวกเป็ดไก่และนกที่บริเวณหลอดคอและหลอดลม, อาการหาว, See also: gapy adj. | gut course | วิชาง่าย ๆ ในมหาวิทยาลัย | home page | (โฮม' เพจ) n. หน้าแรกของข่าวสารบนองค์การ มหาวิทยาลัยหรือบุคคล เป็นต้น บนเครือข่ายWWW (World Wide Web) | hood | (ฮูด) n. หมวกครอบ, ผ้าคลุมศีรษะ, หมวกปริญญาของเสื้อชุดปริญญาของมหาวิทยาลัย, ฝาครอบเครื่องยนต์, ฝาครอบปล่องไฟ, คอแผ่แม่เบี้ยของงูเห่า, หงอนขนบนหัวของนกหรือสัตว์บางชนิด, Syn. cowl, bonnet | inception | (อินเซพ' เชิน) n. การเริ่ม, การเริ่มแรก, การได้รับปริญญา (โดยเฉพาะปริญญาโทหรือเอกที่มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์) , พิธีมอบปริญญา | institute | (อิน'สทิทิวทฺ) n. สถาบัน, องค์การ, วิทยาลัย, สถาบันหนึ่งของมหาวิทยาลัย vt. จัดตั้ง, จัดให้มี, ริเริ่ม, สร้าง, ก่อตั้ง., See also: institutor, instituter n., Syn. establish | instructor | (อินสทรัค'เทอะ) n. ผู้สอน, ครู, อาจารย์, อาจารย์ในมหาวิทยาลัยทีมีตำแหน่งต่ำกว่าผู้ช่วยศาสตราจารย์., See also: instructorial adj. instructorship n., Syn. educator | intercollegiate | (อินเทอคะลี'จิเอท) adj. ระหว่างมหาวิทยาลัย, ระหว่างวิทยาลัย | junior | (จูน'เนียร์) adj. อายุน้อยกว่า, อ่อนอาวุโส, อ่อนวัยกว่า, มีคุณวุฒิด้อยกว่า, อยู่ชั้นเรียนต่ำกว่า, ใหม่, รอง, เกี่ยวกับนักศึกษามหาวิทยาลัยปีที่2 n. ผู้มีอายุน้อย, กว่า, ผู้มาใหม่นักศึกษาปีที่ 2, ขนาดเสื้อเอวสั้นของผู้หญิง, Syn. subordinate | lethargic | (ละธาร์'จิค) adj. เฉื่อยชา, เซื่องซึม, ซึม, ง่วง, ง่วงเหงาหาวนอน, เมินเฉย, เฉยเมย, See also: lethargy n. ดูlethargic, Syn. drowsy, sluggish | licentiate | (ไลเซน'ชิเอท) n. ผู้ได้รับอนุญาตให้ประกอบอาชีพในสาขาใดสาขาหนึ่ง, ผู้ได้รับปริญญาโทจากบางมหาวิทยาลัยในยุโรป., See also: licentiateship n. ดูlicentiate licentiation n. ดูlicentiate | mc carthyism | (มะคาร'ธิอิสซึม) n. การกล่าวหาว่าไม่ซื่อสัตย์ต่อหน้าที่ | nasty | (แนส'ที) adj. สกปรกอย่างน่าชัง, กลิ่นเหม็น, น่าชัง, น่ารังเกียจ, ลามก, หยาบคาย, สามหาว, ร้าย, ฉุนเฉียว, เลว., See also: nastily adv. nastiness n. | oxford | (ออคซฺ'เฟิร์ด) n. ชื่อมหาวิทยาลัยในอังกฤษ | pass degree | n. ปริญญาตรีของมหาวิทยาลัยในอังกฤษ | president | (เพรส'ซิเดินทฺ) n. ประธาน, นายก, ประธานาธิบดี, ประมุข, ประธานบริษัท, อธิการบด' (ของมหาวิทยาลัยอเมริกา) , คณบดี (ของมหาวิทยาลัยในอังกฤษ), Syn. chairman | prex | (เพรค'ซี) n. ประธาน (โดยเฉพาะอธิการบดีมหาวิทยาลัย, Syn. president | prexy | (เพรค'ซี) n. ประธาน (โดยเฉพาะอธิการบดีมหาวิทยาลัย, Syn. president | proctor | (พรอค'เทอะ) n. ทนาย, ผู้ดูแลความประพฤติของนักศึกษาในมหาวิทยาลัย, เจ้าหน้าที่ดูแลความสงบเรียบร้อย. vt., vi. ดูแลความประพฤติ, ดูแลความสงบเรียบร้อย, See also: proctorial adj. proctorship n., Syn. agent, proxy | professor | (โพรเฟส'เซอะ) n. ศาสตราจารย์, อาจารย์ในมหาวิทยาลัย หรือวิทยาลัย, ผู้แสดงความเลื่อมใส, ผู้สอนวิชาทางศิลปกรรม, ผู้สอนวิชากีฬา, ผู้เชี่ยวชาญ., See also: professorial adj. professorship n. professorate n. professoriate n. คำที่มีความหมายเหมือน | provost | (พรอฟ'โวสทฺ, โพร'โวสทฺ) n. ผู้เป็นประธาน, ผู้ดำรงตำแหน่งบริหารชั้นสูงของมหาวิทยาลัยหรือวิทยาลัย, พระครู, หัวหน้าพระศาสนา, See also: provostship n., Syn. chairman, president | readership | (รีด'เดอะชิพ) n. จำนวนผู้อ่านทั้งหมด, หน้าที่ฐานะหรืออาชีพของผู้อ่าน, (โดยเฉพาะในมหาวิทยาลัยอังกฤษ) ตำแหน่งอาจารย์หรือผู้บรรยาย | rector | (เรค'เทอะ) n. อธิการโบสถ์, เจ้าคณะเขตปกครองของโบสถ์โปรเตสแตนต์, อธิการบดีของมหาวิทยาลัย, See also: rectorial adj. rectorate n. | regent | (รี'เจินทฺ) n. ผู้สำเร็จราชการแผ่นดิน, อุปราช, ผู้ว่าการ, สมาชิกสภามหาวิทยาลัย, ข้าหลวง adj. เกี่ยวกับผู้สำเร็จราชการแผ่นดิน, ปกครอง, See also: regental adj. regentship n. |
| aerialist | (n) นักกายกรรมกลางหาว | fellow | (n) มิตรสหาย, เพื่อน, ภาคีสมาชิก, มนุษย์, นักวิจัยในมหาวิทยาลัย | fellowship | (n) มิตรภาพ, ความสัมพันธ์, การคบหาสมาคม, ทุนเรียนในมหาวิทยาลัย | gape | (n) อาการอ้าปากค้าง, การหาว | gape | (vi) อ้าปากค้าง, หาว | intercollegiate | (adj) ระหว่างวิทยาลัย, ระหว่างมหาวิทยาลัย | ribald | (adj) พูดสามหาว, พูดหยาบคาย, ไม่เคารพ | ribaldry | (n) การพูดสามหาว, การพูดหยาบคาย, การไม่เคารพ | scurrilous | (adj) สามหาว, หยาบคาย, ต่ำช้า, สถุล | slumberous | (adj) ง่วง, ง่วงเหงาหาวนอน, ขี้เซา | slumbrous | (adj) ง่วง, ง่วงเหงาหาวนอน, ขี้เซา | university | (n) มหาวิทยาลัย | vulgar | (adj) หยาบคาย, ต่ำช้า, สามหาว, สามานย์ | vulgarity | (n) ความหยาบคาย, ความต่ำช้า, ความสามหาว, คำหยาบ | yawn | (n) การหาว, การอ้าปากค้าง, ช่อง, รอยแตก | yawn | (vi) หาว, อ้าปากค้าง |
| academia | โรงเรียน มหาวิทยาลัย | aerialist | นักเหินหาว, นักกายกรรมเหินหาว | Archbasilica | (n) อัครมหาวิหาร | Assumption University | (n) มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ | cathedral | (n) วัดของคริสต์ศาสนาที่มีสังฆราช (bishop) เป็นประมุขและที่เป็นทีตั้งของ “อาสนะสังฆราช” (bishop's cathedra) เป็นสถานที่ทางศาสนาที่ใช้ในการสักการะบูชา (โดยเฉพาะสำหรับนิกายที่มีระบบฐานันดรการปกครองเช่นนิกาย นิกายโรมันคาทอลิก นิกายอีสเติร์นออร์โธด็อกซ์ นิกายอังกลิคัน และ นิกายลูเทอรัน มหาวิหารจะเป็นวัดที่เป็นที่นั่งของสังฆราช (วัดประจำตำแหน่ง) ที่ใช้เป็นศูนย์กลางของสังฆมณฑล (Diocese หรือ See) ที่อยู่ใต้การปกครองของสังฆราชที่กำหนดไว้ | college | (n) มหาวิทยาลัย | entania | [เอนทาเนีย] (name) ชื่อเรียกของนักศึกษา คณะวิศวกรรมศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ | entania | (uniq) ชื่อเรียกของนักศึกษา คณะวิศวกรรมศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ | entania | (n) ชื่อเรียกของนักศึกษา คณะวิศวกรรมศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ | intania | (n, name, uniq) ชื่อเรียกของนิสิต นักศึกษา คณะวิศวกรรมศาสตร์ จาก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และ มหาวิทยาลัยมหิดล | intrabusiness | [ไทย] (n, vt) Intrabusiness ก็คือ การติดต่อ ระหว่างคนในองค์กรกันเอง หรือ ระหว่างบริษัทที่เป็นคู่ค้ากันอยู่ เช่น เว็บของมหาวิทยาลัยบ คนอื่น ก็จะเข้ามาได้ แต่ไม่สามารถเข้ามาดูข้อมูลส่วนตัวได้ หรือ อย่างธนาคารที่มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างสาขากัน | kuy | [ควย] (n, adj) อวัยวะเพศของผุ้ชาย ส่วนใหญ่มักใช้ในกรณีด่ากันหาว่าเป็นของต่ำ หรือยังไงประมาณนี้ | ronin student | (n) นักเรียนที่พลาดการสมัครสอบคัดเลือกเข้ามหาวิทลัยในปีนั้นๆ และกำลังศึกษาเพื่อเตรียมสอบคัดเลือกในปีต่อๆ ไป | TU | (n) โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา , มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, See also: thammasat university, Syn. trian undon suksa |
| 入学 | [にゅうがく, nyuugaku] (n) การเข้ามหาวิทยาลัย (เริ่มเข้าไปเรียน) | 学部 | [がくぶ, gakubu] (n) คณะวิชา (ในมหาวิทยาลัย) | 学長 | [がくちょう, gakuchou] (n) อธิการบดี(ของมหาวิทยาลัย) | 東北大学 | [tohoku daigaku, tohoku daigaku] (n, uniq) มหาวิทยาลัยโตโฮกุ ตั้งอยู่ที่เมืองเซนได ประเทศญี่ปุ่น เป็นมหาวิทยาลัยที่ตั้งขึ้นเป็นแห่งที่สามของประเทศญี่ปุ่น |
| 早稲田 | [わせだ, waseda] (name, org) วาเซดะ (ชื่อของมหาวิทยาลัย), มหาวิทยาลัยวาเซดะ | todai | [とうだい, toudai] (n) มหาวิทยาลัยโตเกียว (เป็นชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งของมหาวิทยาลัยโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น) | 浪人 | [ろうにん、rounin, rounin , rounin] ซามูไรพเนจร, คนที่สอบเข้ามหาวิทยาลัยไม่ได้แล้วรอสอบใหม่ในปีต่อไป | 大学 | [だいがく, daigaku, daigaku , daigaku] (n) มหาวิทยาลัย |
| 学内 | [がくない, gakunai] TH: อยู่ภายในบริเวณสถานศึกษา เช่น โรงเรียน, วิทยาสัย หรือ มหาวิทยาลัย EN: within the school | 大生 | [だいせい, daisei] TH: นักศึกษามหาวิทยาลัย EN: college student | 進学 | [しんがく, shingaku] TH: เรียนในระดับที่สูงขึ้นต่อไป เช่นจากมัธยมปลายเป็นมหาวิทยาลัย EN: going on to university (vs) | 京大 | [きょうだい, kyoudai] TH: ชื่อย่อของมหาวิทยาลัยเกียวโต EN: Kyoto University (abbr) | 京都大学 | [きょうとだいがく, kyoutodaigaku] TH: มหาวิทยาลัยเกียวโต | 電気通信大学 | [でんきつうしんだいがく, denkitsuushindaigaku] TH: มหาวิทยาลัยเดงกิซือชิน EN: University of Electro-Communication | 北大 | [ほくだい, hokudai] TH: ชื่อย่อเรียกมหาวิทยาลัยฮอกไกโด EN: Hokkaido University | 東京大学 | [とうきょうだいがく, toukyoudaigaku] TH: มหาวิทยาลัยโตเกียว EN: Tokyo University | 大学 | [だいがく, daigaku] TH: มหาวิทยาลัย EN: university | 学園際 | [がくえんさい, gakuensai] TH: งานฉลองประจำปีของโรงเรียนหรือมหาวิทยาลัยมักจัดในช่วงวันวัฒนธรรมปลายเดือนพฤศจิกายน EN: school festival |
| Universität | (n) |die, pl. Universitäten| มหาวิทยาลัย | her | (adv) นี่ (ทิศทางจากนอกเข้ามา) เช่น von irgendwo her จากที่ใดที่หนึ่ง, Wir kennen uns von der Uni her. เรารู้จักกันจากตอนมหาวิทยาลัย | Fachhochschule | (n) |die, pl. Fachhochschulen| มหาวิทยาลัยที่เน้นการเรียนด้านปฏิบัติ เมื่อจบการศึกษาจะได้รับวุฒิที่เทียบเท่าปริญญาตรีที่เมืองไทย ในขณะที่ในมหาวิทยาลัยทั่วไป (Universität)จะได้วุฒิที่เทียบเท่ากับปริญญาโท | herzhaft | (adj, adv) เข้มข้น, รุนแรง เช่น herzhaft gähnen หาวอย่างรุนแรง, See also: intensiv, Syn. kräftig | gähnen | (vi) |gähnte, hat gegähnt| หาว | promovieren | (vi) |promovierte, hat promoviert| ศึกษาหรือเรียนระดับปริญญาเอก เช่น Meine Schwester promovierte im Jahr 1991 an der Mahidol Universität. น้องสาวของผมเรียนจบระดับปริญญาเอกจากที่มหาวิทยาลัยมหิดลในปี 1991, Syn. eine Doktorarbeit machen | in die Schule gehen | (phrase) ไปเรียน หรือ ไปโรงเรียน สามารถแปลว่า ไปมหาวิทยาลัยได้ด้วย เช่น 1° a: Wann geht Ihr Sohn in die Schule? = ลูกชายคุณจะเข้าโรงเรียนเมื่อไหร่ครับ b: wahrscheinlich, nächstes Jahr! = อ๋อ ก็คงจะปีหน้านะ, Syn. zur Schule gehen | Ablehnungsbescheid | (n) |der| คำปฏิเสธ เช่น คำปฏิเสธเข้าศึกษาต่อในมหาวิทยาลัย เป็นต้น, See also: A. der Zulassungsbescheid | Prüfungsamt | (n) |das| ฝ่ายวิชาการในมหาวิทยาลัย ซึ่งรับผิดชอบเรื่องที่เกี่ยวกับการสอบโดยตรง | Mensa | (n) |die, pl. Mensen| โรงอาหารของมหาวิทยาลัย | Cafeteria | (n) |die, pl. Cafeterian/Cafeterias| ร้านขายกาแฟและอาหารว่างตามมหาวิทยาลัยและสถานศึกษา | unterstützen | (vt) |unterstützte, hat unterstützt| สนับสนุน, ช่วยเหลือโดยให้สิ่งของ เช่น Meine Eltern haben mich finanziell während meines Studium unterstützt. พ่อแม่ของผมช่วยผมด้านการเงินช่วงที่ผมเรียนอยู่ที่มหาวิทยาลัย, See also: Related: helfen | Schließfach | (n) |das, pl. Schließfächer| ตู้ใส่ของตามสถานีรถไฟหรือตามมหาวิทยาลัย, ล็อกเกอร์, Syn. Spind | Spind | (n) |der, pl. Spinde| ตู้ใส่ของตามมหาวิทยาลัย, ล็อกเกอร์, Syn. Schließfach |
| enseignement supérieur | (n) le, = การเรียนการสอนในระดับอุดมศุกษา, มหาวิทยาลัย | en | (prep) ที่ (ใช้ตอบคำถาม ไปที่ไหน หรือ อยู่ที่ไหน) เช่น Le Chili, c'est en Amérique. ประเทศชิลีอยู่ในทวีปอเมริกา, Elle va à la fac chaque jour. เธอไปที่มหาวิทยาลัยทุกวัน |
|
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |