ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: มีสิทธิ, -มีสิทธิ- |
|
| การออกเสียงประชามติ | น. การขอความเห็นชอบจากประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ในเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่อาจกระทบถึงประโยชน์ส่วนได้เสียของประเทศชาติหรือประชาชน โดยวิธีการให้ออกเสียงลงมติโดยตรง. | ขโมย | (ขะ-) ก. ลัก, โดยปริยายหมายความว่า ลอบทำสิ่งที่ตนไม่มีสิทธิ์หรือไม่ได้รับอนุญาต เช่น เด็กขโมยสูบบุหรี่ เขาขโมยอ่านจดหมายเพื่อน. | ครอบครอง | ก. ยึดถือไว้, มีสิทธิปกครอง | คุณสมบัติ | (คุนนะสมบัด, คุนสมบัด) น. คุณงามความดี, คุณลักษณะประจำตัวของบุคคล เช่น คุณสมบัติของผู้มีสิทธิเลือกตั้ง, ลักษณะประจำของสิ่งนั้น ๆ เช่น สมุนไพรส่วนใหญ่มีคุณสมบัติเป็นยารักษาโรค. | จัดการงานนอกสั่ง | น. การที่บุคคลคนหนึ่งเข้าทำกิจการแทนผู้อื่น โดยเขามิได้ว่าขานวานใช้ให้ทำหรือโดยมิได้มีสิทธิที่จะทำการงานนั้นแทนผู้อื่น. | เจว็ด | โดยปริยายหมายความว่า ผู้ที่ได้รับยกย่องให้เป็นประธานหรือเป็นใหญ่ แต่ไม่มีอำนาจ เช่น ประธานไม่ได้เป็นเจว็ด ต้องมีสิทธิ์พิจารณาเรื่องที่เสนอได้ | เจ้าของ | ผู้มีสิทธิครอบครอง ใช้สอย เก็บผลประโยชน์ และจำหน่ายทรัพย์สิน. | เจ้ามรดก | น. ผู้ตายซึ่งมีทรัพย์มรดกตกทอดแก่ผู้มีสิทธิ. | เจ้าหนี้ | บุคคลซึ่งมีมูลหนี้เหนือบุคคลอีกคนหนึ่งซึ่งเรียกว่า ลูกหนี้ และมีสิทธิที่จะเรียกให้ลูกหนี้ชำระหนี้ได้. | เจ้าหนี้บุริมสิทธิ | น. บุคคลผู้ซึ่งมีสิทธิเหนือทรัพย์สินของลูกหนี้ในการที่จะได้รับชำระหนี้อันค้างชำระแก่ตนจากทรัพย์สินนั้นก่อนเจ้าหนี้อื่น ๆ ตามที่กฎหมายกำหนด. | เจ้าหนี้มีประกัน | น. เจ้าหนี้ผู้มีสิทธิเหนือทรัพย์สินของลูกหนี้ในทางจำนอง จำนำ หรือสิทธิยึดหน่วง หรือเจ้าหนี้ผู้มีบุริมสิทธิที่บังคับได้ทำนองเดียวกับผู้รับจำนำ. | เจ้าหนี้ร่วม | น. บุคคลหลายคนซึ่งมีสิทธิเรียกร้องการชำระหนี้โดยแต่ละคนอาจจะเรียกให้ชำระหนี้โดยสิ้นเชิงได้. | ชอบ ๒ | มีสิทธิ์ เช่น ชอบที่จะทำได้. | ตราตั้ง | น. เอกสารแต่งตั้ง เช่น ตราตั้งพระอุปัชฌายะ ตราตั้งที่พระราชทานให้แก่ธนาคารหรือบริษัทห้างร้านเป็นต้นที่ทำประโยชน์ในราชการส่วนพระองค์หรือประเทศชาติ มีสิทธิที่จะใช้ตราครุฑเพื่อแสดงว่าได้รับพระบรมราชานุญาต. | ถนนสาธารณะ | น. ถนนที่เป็นของรัฐหรือหน่วยงานของรัฐ และประชาชนทั่วไปมีสิทธิใช้เป็นทางสัญจรได้. | ทายาท | บุคคลรวมทั้งทารกในครรภ์มารดาซึ่งมีสิทธิได้รับมรดกของผู้ตาย ถ้าสิทธินั้นเกิดขึ้นตามกฎหมาย เรียกว่า ทายาทโดยธรรม ถ้าสิทธินั้นเกิดขึ้นตามพินัยกรรม เรียกว่า ผู้รับพินัยกรรม. | ทายาทโดยธรรม | น. ทายาทที่มีสิทธิตามกฎหมายในมรดกของผู้ตาย ได้แก่ คู่สมรสที่ยังมีชีวิตอยู่ ผู้สืบสันดาน บิดามารดา พี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน พี่น้องร่วมบิดาหรือร่วมมารดาเดียวกัน ปู่ ย่า ตา ยาย ลุง ป้า น้า อา ตามลำดับและส่วนแบ่งที่กฎหมายกำหนดไว้. | นางสาว | น. คำนำหน้าชื่อหญิงที่มีอายุตั้งแต่ ๑๕ ปีบริบูรณ์ขึ้นไป และยังไม่ได้จดทะเบียนสมรส แต่หญิงซึ่งจดทะเบียนสมรสแล้วหรือหญิงซึ่งเป็นหม้าย ก็มีสิทธิใช้คำนำหน้าชื่อว่า นางสาว ได้. | นิติบุคคล | น. บุคคลซึ่งจัดตั้งขึ้นโดยกฎหมายหรือตามกฎหมายแยกต่างหากจากบุคคลธรรมดา โดยมีสิทธิและหน้าที่เช่นเดียวกับบุคคลธรรมดา เว้นแต่สิทธิและหน้าที่ซึ่งโดยสภาพจะพึงมีพึงเป็นได้เฉพาะแก่บุคคลธรรมดาเท่านั้น เช่น กระทรวง ทบวง กรม บริษัทจำกัด สมาคม มูลนิธิ. | บัตรอิเล็กทรอนิกส์ | น. บัตรที่ผู้ออกได้ออกให้แก่ผู้มีสิทธิใช้โดยบันทึกข้อมูลหรือรหัสไว้ในบัตรด้วยการประยุกต์ใช้วิธีการทางอิเล็กตรอน ไฟฟ้า คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าหรือวิธีอื่นใดในลักษณะคล้ายกัน ซึ่งรวมถึงการประยุกต์ใช้วิธีการทางแสงหรือวิธีการทางแม่เหล็ก เช่น บัตรเครดิต บัตรเดบิต บัตรสมาร์ทการ์ด. | บุกรุก | เข้าไปหรือซ่อนตัวอยู่ในเคหสถาน อาคารเก็บรักษาทรัพย์หรือสำนักงานในความครอบครองของผู้อื่นโดยไม่มีเหตุอันควร หรือไม่ยอมออกไปจากสถานที่เช่นว่านั้นเมื่อผู้มีสิทธิที่จะห้ามมิให้เข้าไปได้ไล่ให้ออก. | บุคคลภายนอก | น. บุคคลที่มิได้เป็นคู่กรณีหรือคู่สัญญา แต่อาจมีสิทธิเกี่ยวข้อง, บุคคลที่สาม ก็เรียก. | บุตรบุญธรรม | (บุดบุนทำ) น. บุคคลหนึ่งซึ่งบุคคลอื่นที่มิใช่บิดามารดาโดยชอบด้วยกฎหมายได้จดทะเบียนรับเป็นบุตรบุญธรรม บุตรบุญธรรมมีสิทธิและหน้าที่เช่นเดียวกับบุตรโดยสายโลหิตของผู้รับบุตรบุญธรรม. | บุริมสิทธิสามัญ | น. บุริมสิทธิของเจ้าหนี้ผู้ทรงสิทธิเรียกร้องในมูลหนี้อย่างหนึ่งอย่างใดเกี่ยวกับค่าใช้จ่ายเพื่อประโยชน์อันร่วมกัน ค่าปลงศพ ค่าภาษีอากร และเงินที่ลูกจ้างมีสิทธิได้รับเพื่อการงานที่ได้ทำให้แก่ลูกหนี้ซึ่งเป็นนายจ้าง ค่าเครื่องอุปโภคบริโภคอันจำเป็นประจำวัน ในอันที่จะได้รับชำระหนี้ที่ค้างชำระแก่ตนจากทรัพย์สินทั้งหมดของลูกหนี้. | ประชุมโต๊ะกลม | น. การประชุมปรึกษาหารือหรืออภิปราย ซึ่งจัดที่นั่งล้อมกันเป็นวงกลม ไม่มีประธาน ทุกคนมีสิทธิ์เสนอความคิดเห็นเท่าเทียมกัน. | ประทานบัตร | (ปฺระทานนะบัด, ปฺระทานบัด) น. หนังสือสำคัญที่ออกให้ตามกฎหมายว่าด้วยแร่ เพื่อให้มีสิทธิทำเหมืองแร่ภายในเขตที่กำหนดในหนังสือสำคัญนั้น | ประทานบัตร | ใบอนุญาตซึ่งผู้ว่าราชการจังหวัดออกให้แก่บุคคลผู้ประมูลได้ ให้มีสิทธิทำการประมงในที่ว่าประมูล. | ปลดออก | น. โทษทางวินัยสถานหนึ่ง ที่ใช้ลงแก่ข้าราชการผู้กระทำผิดวินัยอย่างร้ายแรง ซึ่งมีผลให้ข้าราชการผู้นั้นออกจากราชการ แต่ยังมีสิทธิได้รับบำเหน็จบำนาญเสมือนว่าผู้นั้นลาออก. | โป๊กเกอร์ | น. ชื่อการพนันชนิดหนึ่ง ใช้ไพ่ป๊อก มักเล่นเป็นกลุ่ม ๔ คน เจ้ามือแจกไพ่ควํ่าคนละ ๕ ใบ ทุกคนมีสิทธิ์ขอเปลี่ยนไพ่ครั้งเดียว ผู้ใดถือไพ่รวมได้แต้มหรือศักดิ์สูงกว่าตามกติกา ผู้นั้นชนะ. | ผู้จัดการมรดก | น. บุคคลที่ตั้งขึ้นโดยพินัยกรรมหรือโดยคำสั่งศาลให้มีสิทธิและหน้าที่จัดการมรดกโดยทั่วไป หรือเพื่อแบ่งปันทรัพย์มรดก. | ผู้แทนโดยชอบธรรม | น. บุคคลซึ่งตามกฎหมายมีสิทธิที่จะทำการแทน ให้คำอนุญาต หรือให้ความยินยอม แก่บุคคลผู้มีความสามารถบกพร่อง ในอันที่จะทำการอย่างใดอย่างหนึ่ง. | ผู้แทนราษฎร | น. บุคคลที่ได้รับเลือกตั้งจากประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งให้ทำหน้าที่นิติบัญญัติในสภา, (ปาก) ผู้แทน. | ผู้รับพินัยกรรม | น. ทายาทผู้มีสิทธิรับมรดกโดยพินัยกรรม. | ไพ่ตาย | น. ไพ่ในมือที่รอเข้าตองเข้าเศียรอยู่แต่ไม่มีใครทิ้งให้หรือเขาทิ้งให้คนอื่นซึ่งตนไม่มีสิทธิ์เก็บมาใช้ได้ เช่น ไพ่ตายคามือ, โดยปริยายหมายถึง เรื่องสำคัญที่สามารถให้คุณให้โทษได้ซึ่งอีกฝ่ายหนึ่งกำเป็นความลับไว้ เช่น เขากำไพ่ตายของคนนั้นไว้ จะบีบก็ตายจะคลายก็รอด. | ภาระติดพันในอสังหาริมทรัพย์ | น. ข้อผูกพันที่ผู้รับประโยชน์มีสิทธิได้รับการชำระหนี้เป็นคราว ๆ จากอสังหาริมทรัพย์ที่ตกอยู่ในภาระติดพัน หรือได้ใช้และถือเอาซึ่งประโยชน์แห่งทรัพย์สินตามที่ระบุไว้. | มติพิเศษ | น. มติของที่ประชุมใหญ่ผู้ถือหุ้นของบริษัทจำกัด ที่ได้ลงมติด้วยคะแนนเสียงข้างมากไม่ต่ำกว่าสามในสี่ของจำนวนเสียงทั้งหมดของผู้ถือหุ้นที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียงลงคะแนน. | ลูกเมียน้อย | น. ลูกของเมียน้อยซึ่งมีสิทธิ์ด้อยกว่าลูกของเมียหลวง, โดยปริยายหมายถึงผู้มีฐานะไม่เทียมหน้าเทียมตาผู้อื่นหรือสิ่งอื่นที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น บางคนบ่นว่าสถาบันของตนเป็นลูกเมียน้อย. | ลูกเมียหลวง | น. ลูกของเมียหลวงซึ่งมีสิทธิ์มากกว่าลูกของเมียน้อย, โดยปริยายหมายถึงผู้มีฐานะเหนือกว่าผู้อื่นหรือสิ่งอื่นที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น หลายคนมองว่ามหาวิทยาลัยในกรุงเทพฯ เป็นลูกเมียหลวง. | ไล่ออก | น. โทษทางวินัยสถานหนักที่สุดที่ใช้ลงแก่ข้าราชการผู้กระทำผิดวินัยอย่างร้ายแรง มีผลให้พ้นจากราชการโดยไม่มีสิทธิได้รับบำเหน็จบำนาญ. | สมนอก | น. เลกของเจ้านายที่ทรงกรมหรือขุนนางที่มีสิทธิ์มีเลก. | สมาชิก ๑ | (สะมา-) น. ผู้มีสิทธิและมีส่วนร่วมในสมาคม องค์การ หรือกิจกรรมใด ๆ เช่น สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกสมาคมศิษย์เก่า สมาชิกวารสาร, (ปาก) ลูกค้า, ขาประจำ, เช่น หมู่นี้สมาชิกไม่ค่อยมาอุดหนุนที่ร้านเลย. | สหกรณ์ | น. องค์กรทางเศรษฐกิจและสังคมที่สมาชิกร่วมกันจัดตั้งขึ้นด้วยการลงหุ้นร่วมกัน จัดการร่วมกันในการผลิต การจำหน่ายสินค้า หรือบริการตามความต้องการหรือผลประโยชน์อย่างเดียวกันของบรรดาสมาชิก สมาชิกแต่ละคนมีสิทธิ์ออกเสียงได้หนึ่งเสียงในการบริหารสหกรณ์ โดยไม่ขึ้นกับจำนวนหุ้นที่ถืออยู่ เช่น สหกรณ์ออมทรัพย์ สหกรณ์การเกษตร สหกรณ์โคนม, (กฎ) คณะบุคคลซึ่งร่วมกันดำเนินกิจการเพื่อประโยชน์ทางเศรษฐกิจและสังคม โดยช่วยตนเองและช่วยเหลือซึ่งกันและกัน และได้จดทะเบียนตามกฎหมาย. | สังเกตการณ์ | ก. เฝ้าดูหรือศึกษาเหตุการณ์หรือเรื่องราวพอรู้เรื่อง. น. เรียกผู้เข้าร่วมประชุมที่ไม่มีสิทธิ์ลงคะแนนเสียง ว่า ผู้สังเกตการณ์. | สิทธิ, สิทธิ์ | (สิดทิ, สิด) น. อำนาจอันชอบธรรม เช่น บุคคลมีสิทธิและหน้าที่ตามรัฐธรรมนูญ เขามีสิทธิ์ในที่ดินแปลงนี้. (ป., ส.) | สิทธิเก็บกิน | น. สิทธิ์เหนืออสังหาริมทรัพย์ อันเป็นเหตุให้ผู้ทรงสิทธินั้นมีสิทธิ์ครอบครองใช้ และถือเอาซึ่งประโยชน์แห่งอสังหา-ริมทรัพย์นั้น. | สิทธิครอบครอง | น. สิทธิเหนือทรัพย์สิน ซึ่งผู้ทรงสิทธิมีสิทธิยึดถือทรัพย์สินนั้นเพื่อตน อันเป็นผลให้มีสิทธิต่าง ๆ เหนือทรัพย์สินนั้น เช่น สิทธิในการใช้สอย สิทธิที่จะมิให้บุคคลใดมารบกวนการครอบครอง. | สิทธิเหนือพื้นดิน | น. ทรัพย์สิทธิอย่างหนึ่งที่เจ้าของที่ดินก่อให้เกิดเป็นคุณแก่บุคคลอื่นโดยให้บุคคลนั้นมีสิทธิเป็นเจ้าของโรงเรือน สิ่งปลูกสร้าง หรือสิ่งเพาะปลูก บนดินหรือใต้ดินนั้น โดยไม่ตกเป็นเจ้าของที่ดิน. | เสมอภาค | ว. มีส่วนเท่ากัน, เท่าเทียมกัน, เช่น ในปัจจุบันบุรุษและสตรีมีสิทธิเสมอภาคกัน. | เสรี | ว. ที่ทำได้โดยอิสระ, มีสิทธิที่จะทำจะพูดได้โดยไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น. | เสรีภาพ | น. ความสามารถที่จะกระทำการใด ๆ ได้ตามที่ตนปรารถนาโดยไม่มีอุปสรรคขัดขวาง เช่น เสรีภาพในการพูด เสรีภาพในการนับถือศาสนา, ความมีสิทธิที่จะทำจะพูดได้โดยไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น. |
| pari causa (L.) | มีสิทธิเท่าเทียมกัน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | possession, civil | การมีสิทธิครอบครองตามกฎหมาย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | possession, naked | การครอบครองโดยไม่มีสิทธิ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | popular vote | คะแนนเสียงของผู้มีสิทธิเลือกตั้ง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | pari passu (L.) | มีสิทธิในลำดับเดียวกัน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | legal voter | ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | retainer | ๑. ผู้มีสิทธิยึดหน่วง๒. การจ้างทนายความ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | option | ทางเลือก, การมีสิทธิเลือก [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | option to purchase | การมีสิทธิเลือกซื้อ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | alien, ineligible | คนต่างด้าวที่ไม่มีสิทธิเลือกตั้ง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | ayant cause (Fr.) | บุคคลผู้มีสิทธิ์, บุคคลผู้มีส่วนได้เสีย (ก. ฝรั่งเศส) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | qualified voter | ผู้มีสิทธิออกเสียงเลือกตั้ง [ ดู qualified elector ประกอบ ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | qualification, voting | คุณสมบัติของผู้มีสิทธิเลือกตั้ง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | bargain and sale | สัญญาซื้อขายที่ดิน (ที่ผู้ซื้อมีสิทธิเข้าครอบครองได้เลย) (ก. อังกฤษ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | civil posession | การมีสิทธิครอบครองตามกฎหมาย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | colour of law | การแสร้งว่ามีสิทธิตามกฎหมาย (สำนวน) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | caucus | การประชุมลับของพรรคการเมือง (ของกลุ่มผู้มีสิทธิได้รับเลือกตั้ง) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | x.r. (ex rights) | โดยไม่มีสิทธิ์ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | direct nomination | การเสนอชื่อผู้เข้ารับเลือกตั้งโดยตรง (โดยผู้มีสิทธิออกเสียง) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | failure of title | การไม่มีสิทธิในทรัพย์ที่ขาย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | forcible detainer | ๑. การยึดหน่วงที่ดินไว้โดยใช้กำลัง๒. การยึดหน่วงทรัพย์ไว้โดยไม่มีสิทธิ์ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | elector | ๑. ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง๒. สมาชิกคณะผู้เลือกตั้ง (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | electorate | บรรดาผู้มีสิทธิเลือกตั้ง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | ex rights (x.r.) | โดยไม่มีสิทธิ์ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | ex rights (x.r.) | โดยไม่มีสิทธิ์ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | entitled by law | มีสิทธิตามกฎหมาย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | entitlement | ๑. การให้สิทธิ์, การมีสิทธิ์๒. การตั้งฐานันดรศักดิ์, การตั้งบรรดาศักดิ์ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | eligible | มีสิทธิรับเลือกตั้ง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | in pari causa (L.) | โดยมูลเหตุอย่างเดียวกัน, โดยมีสิทธิเท่าเทียมกัน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | ineligible alien | คนต่างด้าวที่ไม่มีสิทธิเลือกตั้ง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | voter registration | ทะเบียนผู้มีสิทธิเลือกตั้ง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | voter registration record | ทะเบียนผู้มีสิทธิเลือกตั้ง [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | voting qualification | คุณสมบัติของผู้มีสิทธิเลือกตั้ง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | vote, popular | คะแนนเสียงของผู้มีสิทธิเลือกตั้ง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | vested estate | ที่ดินที่มีสิทธิอย่างเด็ดขาด [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | heir apparent | ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง (ก. แพ่ง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | nemo dat quod non habet (L.) | ไม่มีผู้ใดจะให้สิ่งที่ตนไม่มี (ผู้รับโอนไม่มีสิทธิดีกว่าผู้โอน) [ ดู non dat qui non habet ประกอบ ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | nomination, direct | การเสนอชื่อผู้เข้ารับเลือกตั้งโดยตรง (โดยผู้มีสิทธิออกเสียง) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | naked possession | การครอบครองโดยไม่มีสิทธิ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | non recourse | ไม่มีสิทธิไล่เบี้ย [ ดู no recourse ประกอบ ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
| Priority Number | เลขที่คำขอรับสิทธิบัตรที่ถูกอ้างการมีสิทธิก่อน [ทรัพย์สินทางปัญญา] | Priority Date | วันยื่นคำขอ ซึ่งถูกอ้างการมีสิทธิก่อนในกรณีที่ยืนคำขอมากกว่าหนึ่งประเทศ [ทรัพย์สินทางปัญญา] | PR, Intellectual Property Rights | การมีสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา [ทรัพย์สินทางปัญญา] | Heir apparent | ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง [TU Subject Heading] | Ambassador | เอกอัครราชทูต - Ambassador Extraordinary and Plenipotentiary : เอกอัครราชทูตวิสามัญผู้มีอำนาจเต็ม หมายถึง เอกอัครราชทูตที่รัฐผู้ส่งแต่งตั้งไปยังรัฐผู้รับ โดยมอบหมายอำนาจให้ในฐานะหัวหน้าคณะผู้แทนของรัฐผู้ส่ง ในกรณีที่เอกอัครราชทูตมิได้มีถิ่นพำนักอยู่ในรัฐผู้รับ เรียกว่า Non-resident Ambassador - Ambassador-Designate : ว่าที่เอกอัครราชทูตประจำรัฐผู้รับ หมายถึง บุคคลที่ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูต แต่ยังมิได้ยื่นสาส์นตราตั้งต่อประมุขแห่งรัฐผู้รับ - Ambassador-at-Large : เอกอัครราชทูตผู้แทนพิเศษ หมายถึง ผู้แทนพิเศษของกระทรวงการต่างประเทศที่มีสิทธิและสถานะเทียบเท่าเอกอัคร ราชทูตผู้ซึ่งได้รับมอบหมายให้ดูแลงานและกิจการเฉพาะกิจ หรือเฉพาะเรื่องในต่างประเทศเป็นครั้งคราว - Ambassador attached to the Ministry of Foreign Affairs : เอกอัครราชทูตประจำกระทรวงการต่างประเทศ หมายถึง บุคคล ผู้ที่ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูต มีภารกิจดูแลกิจการภายในของกระทรวงการต่างประเทศ ตามที่ได้รับมอบหมายจากปลัดกระทรวงการต่างประเทศ - Resident Ambassador : เอกอัครราชทูตผู้มีถิ่นพำนักในประเทศไทย หมายถึง เอกอัครราชทูตของไทยที่ได้รับการแต่งตั้งให้ประจำต่อประมุขแห่งรัฐผู้รับ แต่ยังคงมีถิ่นพำนักอยู่ในรัฐผู้ส่ง เอกอัครราชทูตผู้มีถิ่นพำนักในประเทศไทยนี้ จะเดินทางไปปฏิบัติหน้าที่ในรัฐผู้รับเป็นครั้งคราว [การทูต] | Classes of Consuls | เจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุล แบ่งออกเป็นสองประเภท คือ กงสุลอาชีพ (Consules de Carriere) กับกงสุลกิตติมศักดิ์ (Honorary Consuls) กงสุลอาชีพเป็นคนชาติของรัฐผู้ส่ง และจะประจำทำงานเต็มเวลาในที่ทำการทางกงสุล ส่วนกงสุลกิตติมศักดิ์นั้นไม่มีฐานะเป็นกงสุลอาชีพ โดยมากเป็นนักธุรกิจในต่างประเทศ ซึ่งจะประจำทำงานเพียงส่วนหนึ่งของวัน (ไม่ใช่เต็มวัน) ในสถานที่ทำการทางกงสุลของตน และอาจจะเป็นคนชาติของรัฐที่เขาเป็นตัวแทนอยู่ หรือไม่เป็นคนชาติของรัฐนั้นก็ได้ ความแตกต่างอื่นๆ ระหว่างกงสุลอาชีพกับกงสุลกิตติมศักดิ์ มีดังนี้1. กงสุลอาชีพจะได้รับเงินเดือนประจำ แต่กงสุลกิตติมศักดิ์ไม่มีเงินเดือน2. กงสุลอาชีพมีตำแหน่งหน้าที่ถาวร ส่วนกงสุลกิตติมศักดิ์มีตำแหน่งว่าจ้างเพียงชั่วคราว 3. ส่วนมากกงสุลอาชีพจะต้องเป็นผู้ได้รับการฝึกอบรมหรือมีประสบการณ์มาก่อน ส่วนกงสุลกิตติมศักดิ์ไม่ต้องเป็นเช่นนั้น4. กงสุลอาชีพมีสิทธิได้รับความคุ้มกัน (immunities) และการยกเว้นต่าง ๆ มากกว่ากงสุลกิตติมศักดิ์สำหรับบุคคลที่เป็นหัวหน้าในที่ทำการทางกงสุลนั้น มีตำแหน่งตามลำดับชั้น คือ1) กงสุลใหญ่ (Consuls-general)2) กงสุล (Consuls)3) รองกงสุล (Vice-consuls) [การทูต] | Duration of Diplomatic Privileges and Immunities | ระยะเวลาของการอุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันทาง การทูต ในเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในมาตราที่ 39 ว่า?1. บุคคลทุกคนมีสิทธิที่จะได้รับเอกสิทธิ์และความคุ้มกัน ที่จะได้อุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันนั้นตั้งแต่ขณะที่บุคคลนั้นเข้ามาใน อาณาเขตของรัฐผู้รับในการเดินทางไปรับตำแหน่งของตน หรือถ้าอยู่ในอาณาเขตของรัฐผู้รับแล้ว ตั้งแต่ขณะที่ได้บอกกล่าวการแต่งตั้งของตนต่อกระทรวงการต่างประเทศ หรือกระทรวงอื่นตามที่อาจจะตกลงกัน 2. เมื่อภารกิจหน้าที่ของบุคคล ซึ่งอุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันยุติลง เอกสิทธิ์และความคุ้มกันตามปกติให้สิ้นสุดลงขณะที่บุคคลนั้นออกไปจากประเทศ หรือเมื่อสิ้นกำหนดอันสมควรที่จะทำเช่นนั้น แต่จะยังมีอยู่จนกระทั่งเวลานั้น แม้ในกรณีของการขัดแย้งด้วยอาวุธ อย่างไรก็ดี ในส่วนที่เกี่ยวกับการกระทำที่ได้ปฏิบัติไปโดยบุคคลเช่นว่านั้น ในการปฏิบัติการหน้าที่ของตนในฐานะเป็นบุคคลในคณะผู้แทน ความคุ้มกันนั้นให้มีอยู่สืบไป 3. ในกรณีการถึงแก่กรรมของบุคคลในคณะผู้แทน ให้คนในครอบครัวของบุคคลในคณะผู้แทน อุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันซึ่งเขามีสิทธิที่จะได้สืบไป จนกว่าจะสิ้นกำหนดเวลาอันสมควรที่จะออกจากประเทศไป 4. ในกรณีการถึงแก่กรรมของบุคคลในคณะผู้แทน ซึ่งไม่ใช่คนชาติของรัฐผู้รับ หรือมีถิ่นอยู่ถาวรในรัฐผู้รับ หรือของคนในครอบครัว ซึ่งประกอบเป็นส่วนของครัวเรือนของบุคคลในคณะผู้แทนดังกล่าว รัฐผู้รับสามารถอนุญาตให้ถอนสังหาริมทรัพย์ของผู้วายชนม์ไป ยกเว้นแต่ทรัพย์สินใดที่ได้มาในประเทศที่การส่งออกซึ่งทรัพย์สินนั้นเป็นอัน ต้องห้าม ในเวลาที่บุคคลในคณะผู้แทน หรือคนในครอบครัวของบุคคลในคณะผู้แทนนั้นถึงแก่กรรม อากรกองมรดก การสืบมรดก และการรับมรดกนั้น ไม่ให้เรียกเก็บแก่สังหาริมทรัพย์ซึ่งอยู่ในรัฐผู้รับเพราะการไปอยู่ ณ ที่นั้นแต่เพียงถ่ายเดียวของผู้วายชนม์ ในฐานะเป็นบุคคลในคณะผู้แทน หรือในฐานะเป็นคนในครอบครัวของบุคคลในคณะผู้แทน? [การทูต] | Extradition | การส่งผู้ร้ายข้ามแดน การที่ชาติหนึ่งยอมส่งคนในชาติของตนให้แก่อีกชาติหนึ่ง คือคนในชาติที่ถูกกล่าวหา หรือต้องโทษฐานกระทำความผิดภายนอกเขตแดนของตน และเป็นความผิดที่กระทำขึ้นในเขตอำนาจของอีกชาติหนึ่ง ซึ่งมีความสามารถที่จะตัดสินคดี รวมทั้งลงโทษบุคคลที่ถูกกล่าวหานั้นข้ออ้างว่า ในกรณีที่ชนชาติหนึ่งซึ่งถูกกล่าวหาว่าประกอบอาชญากรรมแล้วหลบหนีไปยังต่าง ประเทศนั้น รัฐของผู้ที่ประกอบอาชญากรรมมีสิทธิที่จะขอให้ต่างประเทศนั้นส่งตัวผู้กระทำ ผิดกลับคืนมา เพื่อส่งตัวขึ้นศาลเพื่อพิจารณาลงโทษได้ แต่หลายคนยังมีความเห็นแตกต่างกันอยู่ในข้อนี้ มีไม่น้อยที่สนับสนุนหลักการที่ว่า กฎหมายระหว่างประเทศมิได้รับรองหน้าที่ที่จะต้องส่งผู้ร้ายข้ามแดน กล่าวคือ นอกจากสนธิสัญญาส่งผู้ร้ายข้ามแดนที่มีต่อกันแล้ว กฎหมายระหว่างประเทศมิได้รับรองสิทธิที่จะส่งผู้ร้ายข้ามแดนให้แก่กัน อย่างไรก็ดี ตามสนธิสัญญาที่มีต่อกัน ผู้ร้ายที่หนีความยุติธรรมจะถูกส่งไปให้อีกประเทศหนึ่งตามสนธิสัญญานั้น จักกระทำโดยวิถีทางการทูต ส่วนผู้หลบหนีเจ้าหน้าที่เพราะเหตุผลทางการเมือง จะส่งข้ามแดนอย่างผู้ร้ายไม่ได้ และเมื่อหลบหนีไปยังอีกประเทศหนึ่งได้สำเร็จ ประเทศนั้นๆ มักจะให้อาศัยพักพิงในประเทศของตนเป็นในฐานะผู้ลี้ภัยทางการเมือง [การทูต] | Heads of State | ผู้แทนที่สำคัญที่สุดของรัฐ หรือประมุขของรัฐ ในบางกรณีอาจทำหน้าที่เป็นตัวแทนของรัฐ ในการเจริญความสัมพันธ์กับประเทศต่างๆ โดยมีอำนาจเต็มที่จะประกอบการใด ๆ ได้ ประมุขของรัฐนั้นอาจได้แก่ พระจักรพรรดิ (Emperor) พระเจ้าแผ่นดิน (King) พระราชินี (Queen) และประธานาธิบดี (President)ประมุขของรัฐย่อมมีสิทธิที่จะได้รับการเคารพ และการยอมรับนับถือจากประเทศอื่นๆ ในสังคมนานาประเทศ ในแง่พิธีการทูต ผู้ที่เป็นกษัตริย์อาจได้รับเกียรติแตกต่างกับผู้ที่เป็นประธานาธิบดี แต่ความแตกต่างเช่นนี้หามีความสำคัญในแง่กฎหมายอย่างใดไม่ เมื่อประมุขของรัฐเดินทางไปเยือนต่างประเทศ ตัวประมุขพร้อมด้วยบุคคลในครอบครัวและบริวารทั้งหลาย ตลอดจนถึงทรัพย์สินของประมุขจะไดรับความคุ้มกัน (Immunity) ทั้งในทางแพ่งและอาญาคำว่าประมุขของรัฐอาจหมายถึงหัวหน้าของรัฐบาลก็ได้ เช่น ในกรณีสหรัฐอเมริกา แต่ในบางประเทศ เช่น อังกฤษ ประมุขของรัฐมิได้เป็นหัวหน้าของรัฐบาล ผู้ที่เป็นหัวหน้าของรัฐบาลได้แก่ นายกรัฐมนตรี (Prime Minister) ในประเทศที่มีการปกครองในรูปสาธารณรัฐ (Republic) ถือว่าอำนาจอธิปไตยตกอยู่กับประชาชน แม้แต่ตัวประธานาธิบดีของประเทศก็ไม่มีอำนาจอธิปไตย หากแต่เป็นประชาชนพลเมืองคนหนึ่ง ซึ่งได้รับการเลือกตั้งให้เข้าไปบริหารประเทศตามกำหนดระยะเวลาหนึ่งภายใต้ รัฐธรรมนูญ และตัวประธานาธิบดี เช่น ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา ก็อาจถูกฟ้องให้ขับออกจากตำแหน่งโดยรัฐสภา หรือสภานิติบัญญัติได้ เรียกว่า Impeachment [การทูต] | human security | ความมั่นคงของมนุษย์ " หมายถึง การสร้างสภาพที่มั่นคงให้แก่มนุษย์โดยครอบคลุมทุกด้าน ทั้งในด้านการเมือง (เช่น การปลอดจากภัยสงคราม) ด้านเศรษฐกิจ (เช่น การกินดีอยู่ดี การมีสุขอนามัย) และด้านสังคม (เช่น การมีสิทธิพื้นฐานตามที่กฎหมายกำหนด) " [การทูต] | International Court of Justice | ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ หรือที่เรียกกันอย่างไม่เป็นทางการว่า ศาลโลก ตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ.1945 ตามกฎบัตรขององค์การสหประชาชาติ กฎข้อบังคับ (Statute) ของศาลโลกนั้นได้ผนวกอยู่ท้ายกฎบัตรของสหประชาชาติ และถือเป็นส่วนสำคัญอย่างแยกจากกันมิได้ของกฎบัตร ศาลนี้ตั้งอยู่ ณ กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ถือเป็นองค์กรแห่งศาลหรือแห่งตุลาการสำคัญที่สุดขององค์การสหประชาชาติ ประเทศใดที่เข้าเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลก ย่อมมีสิทธิที่จะส่งคดีใดก็ตามไปให้ศาลโลกพิจารณาได้ ภายใต้เงื่อนไขที่คณะมนตรีความมั่นคงได้จัดวางไว้ นอกจากนั้น คณะมนตรีความมั่นคงก็อาจจะส่งกรณีพิพาททางกฎหมายไปให้ศาลพิจารณาได้ทั้ง สมัชชาและคณะมนตรีความมั่นคงสามารถขอคำปรึกษาหรือความเห็นจากศาลเกี่ยวกับ ปัญหาข้อกฎหมายใดๆ และองค์กรอื่น ๆ ของสหประชาชาติ อันรวมถึงองค์การชำนัญพิเศษ ก็สามารถขอคำปรึกษา หรือความเห็นเกี่ยวกับประเด็นปัญหาทางกฎหมายใดๆ ที่อยู่ภายในกรอบของงานที่ปฏิบัติอยู่ แต่ทั้งนี้ ต้องได้รับอนุมัติเห็นชอบจากสมัชชาสหประชาชาติก่อน สมัชชาเคยมอบอำนาจเช่นนี้แก่คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม คณะมนตรีภาวะทรัสตี คณะกรรมาธิการระหว่างกาล (Interim Committee) ของสมัชชา รวมทั้งองค์กรระหว่างรัฐบาลบางแห่งด้วยรัฐทั้งหมดที่เป็นสมาชิกของสหประชา ชาติถือว่าเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลกไปในตัว ส่วนประเทศใดที่มิใช่เป็นสมาชิกของสหประชาชาติ ก็อาจเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลกได้ ตามเงื่อนไขที่สมัชชาสหประชาชาติเป็นผู้กำหนดเป็นราย ๆ ไป ตามข้อเสนอแนะของคณะมนตรีความมั่นคง ศาลโลกมีอำนาจที่จะพิจารณาปัญหาทั้งหลายที่รัฐสมาชิกขอให้พิจารณา รวมทั้งเรื่องอื่น ๆ ทั้งหลายที่ระบุอยู่ในกฎบัตรสหประชาชาติ และตามสนธิสัญญาหรืออนุสัญญาที่ใช้บังคับอยู่ รัฐสมาชิกย่อมยอมผูกพันตนล่วงหน้าได้ที่จะยอมรับอำนาจศาลในกรณีพิเศษต่าง ๆ โดยจะต้องลงนามในสนธิสัญญา หรืออนุสัญญาซึ่งยอมให้ส่งเรื่องไปที่ศาลได้ หรือออกประกาศเป็นพิเศษว่าจะปฏิบัติเช่นนั้น ในคำประกาศเช่นนั้นจะต้องระบุว่ายอมรับอำนาจบังคับของศาลโลก และอาจจะยกเว้นคดีบางประเภทมิให้อยู่ในอำนาจของศาลได้ ในการวินิจฉัยลงมติ ศาลโลกจะอาศัยแหล่งที่มาของกฎหมายต่าง ๆ ดังนี้ คือ- สัญญาหรืออนุสัญญาระห่างประเทศซึ่งวางกฎข้อบังคับที่รัฐคู่กรณียอมรับ- ขนบธรรมเนียมระหว่างประเทศซึ่งมีหลักฐานแสดงว่าเป็นหลักปฏิบัติทั่วไปตามที่ กฎหมายรับรองศาลโลกอาจจะตัดสินชี้ขาดว่าสิ่งใดยุติธรรมและดี โดยรัฐภาคีที่เกี่ยวข้องตกลงเห็นชอบด้วยคณะมนตรีความมั่นคงอาจจะรับการขอ ร้องจากรัฐภาคีหนึ่งใดในกรณีพิพาท ให้กำหนดมาตรการที่จะใช้เพื่อให้คำตัดสินของศาลมีผลบังคับ ถ้าคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งไม่ยอมปฏิบัติตามข้อผูกพันภายใต้อำนาจศาลศาลโลก ประกอบด้วยผู้พิพากษารวม 15 ท่าน ซึ่งถือกันว่าเป็น ?สมาชิก? ของศาล และได้รับเลือกตั้งจากสมัชชาและคณะมนตรีความมั่นคงของสหประชาชาติ ผู้พิพากษาเหล่านี้จะมีอำนาจออกเสียงลงคะแนนอย่างอิสระเสรีหลักเกณฑ์การคัด เลือกผู้พิพากษาศาลโลกจะถือตามคุณสมบัติขอผู้พิพากษานั้น ๆ มิใช่ถือตามสัญชาติของบุคคลดังกล่าว อย่างไรก็ดี จะมีการระมัดระวังด้วยว่า กฎหมายที่นำมาใช้ในศาลจะต้องมาจากระบบกฎหมายที่สำคัญ ๆ ของโลก ในศาลโลกจะมีผู้พิพากษาที่เป็นชาติเดียวกันมากกว่าหนึ่งคนไม่ได้ ผู้พิพากษาทั้งหลายจะมีสิทธิ์ดำรงอยู่ในตำแหน่งได้ เป็นเวลา 9 ปี มีสิทธิ์ได้รับเลือกตั้งซ้ำได้ และระหว่างที่ดำรงอยู่ในตำแหน่ง จะต้องไม่ประกอบอาชีพการงานอื่นใดทั้งสิ้น [การทูต] | Intellectual Property | ทรัพย์สินทางปัญญา " หมายถึง ผลงานอันเกิดจากความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์ซึ่งผู้เป็นเจ้าของสามารถถือครอง และ/หรือเก็บเกี่ยวสิทธิประโยชน์ได้ นอกเหนือจากสังหาริมทรัพย์และอสังหาริมทรัพย์ - Patent สิทธิบัตร หมายถึง สิ่งประดิษฐ์ที่สร้างใหม่ ยังไม่เคยมีการเปิดเผยมาก่อน และเป็นสิ่งประดิษฐ์ที่มีขั้นตอนการประดิษฐ์ที่สูงขึ้น และการประดิษฐ์นั้นสามารถประยุกต์ใช้ในทางอุตสาหกรรมได้ - Copy Rights ลิขสิทธิ์ หมายถึง งานหรือความคิดสร้างสรรค์ในสาขาวรรณกรรม ศิลปกรรม ดนตรี งานภาพยนต์ หรืองานอื่นใดในแผนกวิทยาศาสตร์ - Neighboring Rights สิทธิข้างเคียง เป็นความคุ้มครองที่แตกแขนงมาจากลิขสิทธิ์ เนื่องจากงานที่สร้างขึ้นไม่สามารถถูกจัดเข้าเป็นงานลิขสิทธิ์ได้โดยตรง เพราะผลงานที่เกิดขึ้นนั้นได้มีบุคคลอื่นเข้ามาเป็นสื่อกลาง และก่อให้เกิดผลงานโดยใช้ เครื่องมือในทางวิชาชีพสร้างงานขึ้นมา ดังนั้น บุคคลผู้ที่เข้ามาเป็น สื่อกลางเพื่อผลิตงานให้แก่ผู้สร้างงานจึงควรมีสิทธิในผลงานนั้นเหมือนกับ เจ้าของงานลิขสิทธิ์ด้วย - Trade Marks เครื่องหมายการค้า หมายถึง เครื่องหมาย สัญลักษณ์ หรือตราที่ใช้กับสินค้าเพื่อให้ประชาชนทั่วไปแยกแยะได้ว่าสินค้านั้นเป็นของ ผู้ใด ใครเป็นเจ้าของ และมีความแตกต่างกันอย่างไร ซึ่งโดยทั่วไปจะเรียกว่า ยี่ห้อ สำหรับเครื่องหมายการค้านั้น จะเป็นภาพ เป็นคำ หรือเป็นตัวอักษรก็ได้ Service Marks เครื่องหมายบริการ เป็นเรื่องที่เกิดใหม่เนื่องจากสินค้าบริการได้เจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว เช่น การให้บริการด้านการเงิน การโทรคมนาคม จึงทำให้ผู้ให้บริการต้องการที่จะใช้เครื่องหมาย เพื่อชี้ให้เห็นถึงการบริการของตน เช่นเดียวกับการใช้เครื่องหมายการค้า " [การทูต] | Nuclear Test Ban | หมายถึง สนธิสัญญาว่าด้วยการห้ามการทดสอบอาวุธนิวเคลียร์ ทั้งในบรรยากาศ ในอวกาศ และใต้น้ำ สนธิสัญญาฉบับนี้ได้มีผลบังคับเมื่อวันที่ 10 ตุลาคม ค.ศ. 1963 ประเทศที่ลงนามเริ่มแรกในสนธิสัญญาได้แก่ อังกฤษ สหภาพโซเวียต และ สหรัฐอเมริกา รวมสามประเทศจุดมุ่งหมายสำคัญของสนธิสัญญาคือ รัฐบาลของประเทศทั้งสาม ต้องการให้มีการทำความตกลงกันเป็นผลสำเร็จเกี่ยวกับการลดอาวุธ หรือปลดกำลังอาวุธทั้งหมดโดยสิ้นเชิง ภายใต้การควบคุมระหว่างประเทศอย่างเคร่งครัด ตามความมุ่งประสงค์ขององค์การสหประชาชาติ ซึ่งต้องการให้ยุติหรือเลิกการแข่งขันกันสะสมอาวุธ และกำจัดมิให้มีเหตุจูงใจที่จะผลิตและทดสอบอาวุธไม่ว่าชนิดใดทั้งหมด รวมทั้งอาวุธนิวเคลียร์ด้วย นอกจากนี้ ยังเสาะแสวงหาที่จะให้หยุดการทดสอบอาวุธนิวเคลียร์ไปตลอดชั่วกาลนานสนธิ สัญญานี้มีข้อความอยู่ 5 มาตรา และไม่จำกัดอายุเวลา ทั้งยังเปิดโอกาสให้ประเทศอื่น ๆ ทั้งหลายเข้าร่วมลงนามเป็นภาคีได้ ในทางตรงกันข้าม ประเทศภาคีก็มีสิทธิใช้อธิปไตยแห่งชาติได้เพื่อถอนตัวจากสนธิสัญญา ถ้าหากประเทศนั้น ๆ เห็นว่า ประโยชน์อันสูงสุดของประเทศตนต้องตกอยู่ในอันตราย และแจ้งล่วงหน้าสามเดือนให้ประเทศภาคีอื่น ๆ ทั้งหมดทราบการตกลงใจนั้น [การทูต] | Passport | หนังสือเดินทาง คือเอกสารทางราชการที่ใช้แสดงตัวและสัญชาติ ซึ่งทางราชการออกให้แก่บุคคลที่จะเดินทางไป หรือพำนักอยู่ชั่วคราวในต่างประเทศเมื่อสมัยก่อนสงครามโลกทั้งสองครั้ง ประเทศต่าง ๆ มิได้ขอให้คนต่างด้าวที่จะเข้าไปในประเทศของตนต้องมีหนังสือเดินทาง มีการเริ่มใช้หนังสือเดินทางอย่างแพร่หลายก็ในระยะหลังสงครามดังกล่าว ทุกวันนี้ ประเทศส่วนมากในโลกต่างต้องการให้คนต่างด้าวที่จะเดินทางเข้าไปในดินแดนของ ตนมีหนังสือเดินทางซึ่งได้รับการตรวจลงตรา (Visa) โดยถูกต้องจากเจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลของตนเสียก่อน อย่างไรก็ดี ทุกวันนี้ประเทศส่วนมากได้มอบอำนาจให้เจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลของตนในต่าง ประเทศเป็นผู้ออกหนังสือเดินทางได้ด้วยหนังสือเดินทางที่ใช้กันในปัจจุบันมี อยู่หลายประเภทอันได้แก่1. หนังสือเดินทางทูต (Diplomatic passports ) ออกให้แก่ผู้ที่มีตำแหน่งเอกอัครราชทูต อัครราชทูต เจ้าหน้าที่ต่าง ๆ ของสถานเอกอัครราชทูต และบุคคลอื่น ๆ ที่มีตำแหน่งทางการทูต รวมทั้งบุคคลในครอบครัวของเขาเหล่านั้น2. หนังสือเดินทางพิเศษ (Special passports) ออกให้ แก่ข้าราชการที่ไม่มีสถานะทางการทูต และบุคคลในครอบครัวของเขาเหล่านั้น3. หนังสือเดินทางธรรมดา ( Regular passports ) ออกให้แก่บุคคลธรรมดา (Private persons) ซึ่งมีสิทธิจะขอหนังสือเดินทางดังกล่าวได้ตามกฎหมายและระเบียบข้อบังคับของ ประเทศของตนมีบางประเทศได้ออกหนังสือเดินทางประเภทอื่น นอกเหนือจากที่ได้กล่าวมาข้างต้นด้วยเหตุผลเฉพาะ เช่น ภายใต้ระบบของสหรัฐอเมริกา มีการออกหนังสือเดินทางที่เรียกว่า1. หนังสือเดินทางบริการ (Service passports) ออกให้แก่คนอเมริกัน หรือชนชาติที่สวามิภักดิ์ต่อสหรัฐอเมริกาที่อยู่ในต่างประเทศ2. หนังสือเดินทางบุคคลในครอบครัว (Dependent passports) ออกให้แก่บุคคลที่ถือหนังสือเดินทางนี้ในกรณีที่เดินทางไปชั่วคราว หรือพำนักอยู่นาน ๆ ในต่างประเทศในฐานะที่เป็นบุคคลในครอบครัวของเจ้าหน้าที่ฝ่ายทหารบก ทหารเรือ ทหารอากาศ หรือพลเรือนอเมริกันที่ยังรับราชการอยู่นอกเขตประเทศสหรัฐอเมริกา [การทูต] | Persons Entitled to Diplomatic Privileges and Immunities | บุคคลทีมีสิทธิที่จะได้รับเอกสิทธิ์และความคุ้ม ครองกันทางการทูต มาตรา 37 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ว่า ?1. คนในครอบครัวของตัวแทนทางการทูต ซึ่งประกอบเป็นส่วนของครัวเรือนของตัวแทนทางการทูต ถ้าไม่ใช่คนในชาติของรัฐผู้รับ ให้ได้อุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันที่ระบุไวในข้อ 29 ถึง 36 2. บุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายธุรการและฝ่ายวิชาการของคณะผู้แทน รวมทั้งคนในครอบครัวของตน ซึ่งประกอบเป็นส่วนของครัวเรือนของตน ตามลำดับ ถ้าไม่ใช่คนในชาติของรัฐผู้รับ หรือมีถิ่นที่อยู่ถาวรในรัฐผู้รับ ให้ได้อุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันที่ได้ระบุไว้ในข้อ 29 ถึง 35 เว้นแต่ว่าความคุ้มกันจากอำนาจศาลทางแพ่งและทางปกครองของรัฐผู้รับ ที่ได้ระบุไว้ในวรรค 1 ของข้อ 31 นั้น ไม่ให้ขยายไปถึงการกระทำที่ได้ปฏิบัติไปเกินภารกิจหน้าที่ของตน ให้บุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายธุรการและฝ่ายวิชาการได้อุปโภคเอกสิทธิ์ ที่ได้ระบุไว้ในข้อ 36 วรรค 1 ในส่วนที่เกี่ยวกับสิ่งของที่ได้นำเข้าเมื่อเข้ารับหน้าที่ครั้งแรกด้วย 3. บุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายบริการของคณะผู้แทนซึ่งไม่ใช่คนในชาติของรัฐผู้ รับ หรือมีถิ่นที่อยู่ถาวรในรัฐผู้รับให้ได้อุปโภคความคุ้มกัน ในส่วนที่เกี่ยวกับการกระทำที่ได้ปฏิบัติตามภารกิจหน้าที่ตน การยกเว้นจากค่าภาระผูกพันรวมทั้งภาษีสำหรับค่าบำเหน็จที่ตนได้รับโดยเหตุผล จากการรับจ้างของตน และการยกเว้นที่ได้บรรจุไว้ในข้อ 33 4. คนรับใช้ส่วนตัวของบุคคลในคณะผู้แทน ถ้าไม่ใช่คนในชาติของรัฐผู้รับ หรือมีถิ่นที่อยู่ประจำในรัฐผู้รับ ให้ได้รับการยกเว้นจากค่าภาระผูกพัน หรือภาษีสำหรับค่าบำเหน็จที่เขาได้รับโดยเหตุผลจากการรับจ้างของตนในส่วน อื่น คนรับใช้ส่วนตัวเช่นว่านี้ อาจได้อุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันเท่าที่รัฐผู้รับยอมให้เท่านั้น อย่างไรก็ดี รัฐผู้รับต้องใช้อำนาจของตนเหนือบุคคลเช่นว่านี้ ในการที่จะไม่แทรกสอดโดยไม่สมควรในการปฏิบัติการหน้าที่ของคณะผู้แทน [การทูต] | Security Council of the United Nations | คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ คณะมนตรีนี้ประกอบด้วยสมาชิกถาวร (Permanent members) 5 ประเทศ คือ จีน ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต อังกฤษ และสหรัฐฯ และมีสมาชิกไม่ถาวร (Non-permanent members) อีก 10 ประเทศ ซึ่งสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติเป็นผู้เลือกตั้ง และให้ดำรงอยู่ในตำแหน่งประเทศละ 2 ปี สมาชิกประเภทนี้ไม่มีสิทธิรับเลือกตั้งใหม่ในทันที และในการเลือกตั้งจะคำนึงส่วนเกื้อกูลหรือบทบาทของประเทศผู้สมัครที่มีต่อ การธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ รวมทั้งที่มีต่อวัตถุประสงค์อื่น ๆ ขององค์การสหประชาชาติด้วย ในการเลือกตั้ง จะคำนึงถึงการแบ่งกลุ่มประเทศสมาชิกดังนี้คือ ก. 5 ประเทศจากแอฟริกาและเอเชียข. 1 ประเทศจากยุโรปตะวันออกค. 2 ประเทศจากละตินอเมริกาง. 2 ประเทศจากยุโรปตะวันตก และประเทศอื่น ๆหน้าที่ของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติมีดังนี้1. ธำรงรักษาสันติภาพ และความมั่นคงระหว่างประเทศตามวัตถุประสงค์และหลักการของสหประชาชาติ2. สอบสวนเกี่ยวกับกรณีพิพาทหรือสถานการณ์ใด ๆ ซึ่งอาจนำไปสู่การกระทบกระทั่งระหว่างประเทศ3. เสนอแนะวิธีที่จะใช้กรณีพิพาทเช่นว่านั้น หรือ เงื่อนไขที่ให้มีการตกลงปรองดองกัน4. วางแผนเพื่อสถาปนาระบบการควบคุมกำลังอาวุธ5. ค้นหาและวินิจฉัยว่ามีภัยคุกคามต่อสันติภาพ หรือ เป็นการกระทำที่รุกรานหรือไม่ แล้วเสนอแนะว่าควรจะปฏิบัติอย่างไร 6. เรียกร้องให้สมาชิกประเทศที่ทำการลงโทษในทางเศรษฐกิจ และใช้มาตรการอื่น ๆ ที่ไม่ถึงขั้นทำสงคราม เพื่อป้องกันมิให้เกิดหรือหยุดยั้งการรุกราน7. ดำเนินการทางทหารตอบโต้ฝ่ายที่รุกราน8. เสนอให้รับประเทศสมาชิกใหม่ รวมทั้งเงื่อนไขหรือกฎเกณฑ์ ในการที่จะเข้าเป็นภาคีตามกฎหมายของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ 9. ทำหน้าที่ให้ภาวะทรัสตีของสหประชาชาติ ในเขตที่ถือว่ามีความสำคัญทางยุทธศาสตร์10. เสนอแนะให้สมัชชาสหประชาชาติ แต่งตั้งตัวเลขาธิการและร่วมกับสมัชชาในการเลือกตั้งผู้พิพากษาศาลโลก11. ส่งรายงานประจำปีและรายงานพิเศษต่อสมัชชาสหประชาชาติบรรดาประเทศสมาชิกของสห ประชาชาติ ต่างตกลงยินยอมที่จะปฏิบัติตามข้อมติใด ๆ ของคณะมนตรีความมั่นคง ทั้งยังรับรองที่จะจัดกำลังกองทัพของตนให้แก่คณะมนตรีความมั่นคงหากขอร้อง รวมทั้งความช่วยเหลือและและอุปกรณ์อื่น ๆ ที่จำเป็นต่อการธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพ และความมั่นคงระหว่างประเทศ [การทูต] | territorial sea | ทะเลอาณาเขต รัฐทุกรัฐมีสิทธิกำหนดความกว้างของทะเลอาณาเขตของตนได้จนถึงขอบเขตหนึ่งซึ่ง ไม่เกิน 12 ไมล์ทะเล โดยวัดจากเส้นฐานที่กำหนดขึ้นตามอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล พ.ศ. 2525 [การทูต] | Voting Procedure in the United Nations | วิธีการลงคะแนนเสียงในที่ประชุมสมัชชาสหประชาชาติ ในเรื่องนี้ สมาชิกแต่ละประเทศมีคะแนนเสียง 1 คะแนน ข้อมติของสมัชชาในปัญหาสำคัญ (Important Questions) จะกระทำโดยถือคะแนนเสียงข้างมาก 2 ใน 3 ของสมาชิกที่มาประชุมและออกเสียง ที่เรียกว่าปัญหาสำคัญนั้นได้แก่ ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ การเลือกตั้งสมาชิกไม่ประจำของคณะมนตรีความมั่นคง การเลือกตั้งสมาชิกของคณะมนตรีเศรษฐกิจและการสังคม การเลือกตั้งสมาชิกของคณะมนตรีภาวะทรัสตี การรับสมาชิกใหม่ของสหประชาชาติ การงดใช้สิทธิและเอกสิทธิแห่งสมาชิกภาพ การขับไล่สมาชิก ปัญหาการดำเนินงานของระบบภาวะทรัสตี และปัญหางบประมาณ คำวินิจฉัยปัญหาอื่น ๆ รวมทั้งการกำหนดประเภทแห่งปัญหาที่จะต้องวินิจฉัยด้วยคะแนนเสียงข้างมาก 2 ใน 3 เพิ่มเติมนั้น จัดกระทำโดยอาศัยคะแนนเสียงข้างมากของสมาชิกที่มาประชุมและออกเสียงอนึ่ง ในการเลือกตั้งผู้พิพากษาของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ (ศาลโลก) ผู้ที่ได้รับเลือกตั้งจักต้องได้รับคะแนนเสียงข้างมากเด็ดขาด (Absolute majority) ในที่ประชุมของสมัชชาและในที่ประชุมของคณะมนตรีความมั่นคงด้วย นอกจากนี้สมาชิกสหประชาชาติที่ค้างชำระค่าบำรุงแก่องค์การ ย่อมไม่มีสิทธิ์ลงคะแนนเสียงในสมัชชา ถ้าหากจำนวนเงินที่ค้างชำระเท่าหรือมากกว่าจำนวนเงินค่าบำรุงที่ถึงกำหนด ชำระสำหรับ 2 ปีเต็มที่ล่วงมา อย่างไรก็ตาม สมัชชาอาจอนุญาตให้สมาชิกเช่นว่านั้นลงคะแนนเสียงก็ได้ ถ้าทำให้เป็นที่พอใจได้ว่า การไม่ชำระนั้น เนื่องมาจากภาวะอันอยู่นอกเหนืออำนาจควบคุมของสมาชิกนั้น [การทูต] | Work of the United Nations for the Independence of Colonial Peoples | งานขององค์การสหประชาชาติ ในการช่วยให้ชาติอาณานิคมทั้งหลายได้รับความเป็นเอกราช นับตั้งแต่เริ่มตั้งองค์การสหประชาชาติเมื่อปี ค.ศ.1945 เป็นต้นมา มีชนชาติของดินแดนที่ยังมิได้ปกครองตนเอง รวมทั้งดินแดนในภาวะทรัสตีตามส่วนต่าง ๆ ของโลก ได้รับความเป็นเอกราชไปแล้วไม่น้อยกว่า 170 ล้านคน ดินแดนที่แต่ก่อนยังไม่มีฐานะปกครองตนเองราว 50 แห่งได้กลายฐานะเป็นรัฐเอกราช มีอธิปไตยไปแล้ว ขณะนี้ยังเหลือดินแดนที่ยังมิได้ปกครองตนเองอีกไม่มาก กำลังจะได้รับฐานะเป็นประเทศเอกราชต่อไปแม้ว่าปัจจัยสำคัญที่สุดซึ่งทำให้ เกิดวิวัฒนาการอันมีความสำคคัญทางประวัติศาสตร์ จะได้แก่ความปรารถนาอย่างแรงกล้าของประชาชนในดินแดนเมืองขึ้นทั้งหลาย แต่องค์การสหประชาชาติก็ได้แสดงบทบาทสำคัญในการส่งเสริมและสนับสนุนชนชาติ ที่ยังมิได้เป็นเอกราช และชาติที่ยังปกครองดินแดนเหล่านั้นอยู่ ให้รีบเร่งที่จะให้ชาชาติในดินแดนเหล่านั้นได้รับฐานะเป็นเอกราชโดยเร็วที่ สุดเท่าที่จะเป็นไปได้การที่องค์การสหประชาชาติมีบทบาทหน้าที่ดังกล่าวเพราะ ถือตามหลักแห่งความเชื่อศรัทธาที่ว่า มนุษย์ไม่ว่าชายหรือหญิง และชาติทั้งหลายไม่ว่าใหญ่หรือเล็ก ย่อมมีสิทธิเท่าเทียมกัน และได้ยืนยันความตั้งใจอันแน่วแน่ของประเทศสมาชิกที่จะใช้กลไกระหว่างประเทศ ส่งเสริมให้ชนชาติทั้งหลายในโลกได้ประสบความก้าวหน้าทั้งในทางเศรษฐกิจและ สังคมนอกจากนั้น เพื่อเร่งรัดให้ชนชาติที่ยังอยูใต้การปกครองแบบอาณานิคมได้ก้าวหน้าไปสู่ เอกราช สมัชชาของสหประชาชาติ (General Assembly of the United Nations) ก็ได้ออกปฏิญญา (Declaration) เกี่ยวกับการให้ความเป็นเอกราชแก่ประเทศและชนชาติอาณานิคม เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม ค.ศ. 1960 ซึ่งในปฏิญญานั้น ได้ประกาศยืนยันความจำเป็นที่จะให้ลัทธิอาณานิคมไม่ว่าในรูปใด สิ้นสุดลงโดยเร็วและปราศจากเงื่อนไขใด ๆ สมัชชายังได้ประกาศด้วยว่า การที่บังคับชนชาติอื่นให้ตกอยู่ใต้อำนาจการปกครอง แล้วเรียกร้องประโยชน์จากชนชาติเหล่านั้น ถือว่าเป็นการปฏิเสธไม่ยอมรับสิทธิมนุษยชนขั้นมูลฐาน เป็นการขัดกับกฎบัตรของสหประชาชาติ เป็นอุปสรรคต่อการส่งเสริมสันติภาพและความร่วมมือของโลกสมัชชาสหประชาชาติ ยังได้ประกาศต่อไปว่า จะต้องมีการดำเนินการโดยด่วนที่สุด โดยไม่มีเงื่อนไขหรือข้อสงวนใด ๆ ตามเจตนารมณ์ ซึ่งแสดงออกอย่างเสรี โดยไม่จำกัดความแตกต่างในเรื่องเชื้อชาติ หลักความเชื่อถือ หรือผิว เพื่อให้ดินแดนทั้งหลายที่ยังไม่ได้มีการปกครองของตนเองเหล่านั้นได้รับความ เป็นเอกราชและอิสรภาพโดยสมบูรณ์ในปี ค.ศ. 1961 สมัชชาสหประชาชาติก็ได้จัดตั้งคณะกรรมการพิเศษขึ้นคณะหนึ่ง เพื่อตรวจดูและให้มีการปฏิบัติให้เป็นตามคำปฏิญญาของสหประชาชาติ และถึงสิ้นปี ค.ศ. 1962 คณะกรรมการดังกล่าวได้ประชุมกันหลายต่อหลายครั้งทั้งในและนอกสำนักงานใหญ่ ขององค์การสหประชาชาติ แล้วรวบรวมเรื่องราวหลักฐานจากบรรดาตัวแทนของพรรคการเมืองทั้งหลาย จากดินแดนที่ยังไม่ได้รับการปกครองตนเอง แล้วคณะกรรมการได้ตั้งข้อเสนอแนะต่าง ๆ โดยมุ่งจะเร่งรัดให้การปกครองอาณานิคมสิ้นสุดลงโดยเร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ [การทูต] | Work of the United Nations on Human Rights | งานขององค์การสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิมนุษยชน งานสำคัญชิ้นหนึ่งของสหประชาชาติคือ วควมมปรารถนาที่จะให้ประเทศทั้งหลายต่างเคารพและให้ความคุ้มครองแก่สิทธิ มนุษยชนตลอดทั่วโลก ดังมาตรา 1 ในกฎบัตรของสหประชาติได้บัญญัติไว้ว่า?1. เพื่อธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ และมีเจตนามุ่งมั่นต่อจุดหมายปลายทางนี้ จะได้ดำเนินมาตรการร่วมกันให้บังเกิดผลจริงจัง เพื่อการป้องกันและขจัดปัดเป่าการคุกคามต่อสันติภาพ รวมทังเพื่อปราบปรามการรุกรานหรือการล่วงละเมิดอื่น ๆ ต่อสันติภาพ ตลอดจนนำมาโดยสันติวิธี และสอดคล้องกับหลักแห่งความยุติธรรมและกฎหมายระหว่างประเทศ ซึ่งการปรับปรุงหรือระงับกรณีพิพาทหรือสถานการณ์ระหว่างประเทศ อันจะนำไปสู่การล่วงละเมิดสันติภาพได้ 2. เพื่อพัฒนาสัมพันธไมตรีระหว่างประชาชาติทั้งปวงโดยยึดการเคารพต่อหลักการ แห่งสิทธิเท่าเทียมกัน และการกำหนดเจตจำนงของตนเองแห่งประชาชนทั้งปวงเป็นมูลฐานและจะได้ดำเนิน มาตรการอันเหมาะสมอย่างอื่น เพื่อเป็นกำลังแก่สันติภาพสากล 3. เพื่อทำการร่วมมือระหว่างประเทศ ในอันที่จะแก้ปัญหาระหว่างประเทศในทางเศรษฐกิจ การสังคม วัฒนธรรม และมนุษยธรรม รวมทั้งการส่งเสริมสนับสนุนการเคารพสิทธิมนุษยชนและอิสรภาพ อันเป็นหลักมูลฐานสำหรับทุก ๆ คนโดยปราศจากความแตกต่างด้านเชื้อชาติ เพศ ภาษา หรือศาสนา 4. เพื่อเป็นศูนย์กลางและประสานการดำเนินงานของประชาชาติทั้งปวงในอันที่จะ บรรลุจุดหมายปลายทางเหล่านี้ร่วมกันด้วยความกลมกลืน"ดังนั้น เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม ค.ศ. 1948 สมัชชาแห่งสหประชาชาติจึงได้ลงข้อมติรับรองปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ซึ่งนับเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ชุมชนระหว่างประเทศ ที่ได้ยอมรับผิดชอบที่จะให้ความคุ้มครอง และเคารพปฏิบัติตามสิทธิมนุษยชนปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ประกอบด้วยข้อความรวม 30 มาตรา กล่าวถึง1. สิทธิของพลเมืองทุกคนที่จะมีเสรีภาพ และความเสมอภาค รวมทั้งสิทธิทางการเมือง2. สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม มาตรา 1 และ 2 เป็นมาตราที่กล่าวถึงหลักทั่วไป เช่น มนุษย์ปุถุชนทั้งหลายต่างเกิดมาพร้อมกับ อิสรภาพ และทรงไว้ซึ่งศักดิ์ศรีและสิทธิเท่าเทียมกัน ดังนั้น ทุกคนย่อมมีสิทธิและอิสรภาพตามที่ระบุในปฏิญญาสากล โดยไม่คำนึงถึงความแตกต่างใด ๆ เชื้อชาติ เพศ ภาษา ศาสนา ความเห็นทางการเมือง หรืออื่น ๆ ต้นกำเนิดแห่งชาติหรือสังคม ทรัพย์สินหรือสถานภาพอื่น ๆ ส่วนสิทธิของพลเมืองและสิทธิทางการเมืองนั้น ได้รับการรับรองอยู่ในมาตร 3 ถึง 21 ของปฏิญญาสากล เช่น รับรองว่าทุกคนมีสิทธิที่จะมีชีวิตอยู่ มีเสรีภาพและความมั่นคงปลอดภัย มีอิสรภาพจากความเป็นทาสหรือตกเป็นทาสรับใช้ มีเสรีภาพจากการถูกทรมาน หรือการถูกลงโทษอย่างโหดร้าย สิทธิที่จะได้รับการรับรองเป็นบุคคลภายใต้กฎหมาย ได้รับความคุ้มครองเท่าเทียมกันภายใต้กฎหมาย มีเสรีภาพจากการถูกจับกุม กักขัง หรือถูกเนรเทศโดยพลการ มีสิทธิที่จะเคลื่อนย้ายไปไหนมาไหนได้ สิทธิที่จะมีสัญชาติ รวมทั้งสิทธิที่จะแต่งงานและมีครอบครัว เป็นต้นส่วนมาตรา 22 ถึง 27 กล่าวถึงสิทธิทางเศรษฐกิจ ทางสังคม และทางวัฒนธรรม เช่น มีสิทธิที่จะอยู่ภายใต้การประกันสังคม สิทธิที่จะทำงาน สิทธิที่จะพักผ่อนและมีเวลาว่าง สิทธิที่จะมีมาตรฐานการครองชีพสูงพอที่จะให้มีสุขภาพอนามัย และความเป็นอยู่ที่ดี สิทธิที่จะได้รับการศึกษาและมีส่วนร่วมในชีวิตความเป็นอยู่ตามวัฒนธรรมของ ชุมชน มาตรา 28 ถึง 30 กล่าวถึงการรับรองว่า ทุกคนมีสิทธิที่จะมีขีวิตอยู่ท่ามกลางความสงบเรียบร้อยของสังคมและระหว่าง ประเทศ และขณะเดียวกันได้เน้นว่า ทุกคนต้องมีหน้าที่และความรับผิดชอบต่อชุมชนด้วยสมัชชาสหประชาชาติได้ประกาศ ให้ถือปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนนี้ เป็นมาตรฐานร่วมกันที่ทุกประชาชาติจะต้องปฏิบัติตามให้ได้ และเรียกร้องให้รัฐสมาชิกของสหประชาชาติช่วยกันส่งเสริมรับรองเคารพสิทธิและ เสรีภาพตามที่ปรากฎในปฏิญญาสากลโดยทั่วกัน โดยเล็งเห็นความสำคัญในเรื่องสิทธิมนุษยชนนี้ สมัชชาสหประชาชาติจึงลงมติเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม ค.ศ. 1950 ให้ถือวันที่ 10 ธันวาคมของทุกปี เป็นวันสิทธิมนุษยชนทั่วโลก [การทูต] | Without rights | ไม่มีสิทธิ์ [การบัญชี] |
| Hindley and Hareton are both dispossessed. | ฮินด์ลีย์และแฮร์ตัน\ ต่างก็ไม่มีสิทธิงั้นหรือ Wuthering Heights (1992) | You loved me... and what right had you to leave me? | เธอรักฉัน แล้วเธอมีสิทธิอันใด ถึงทิ้งฉัน Wuthering Heights (1992) | You ain't got no right to come into my room. | นายไม่มีสิทธิ์เข้ามาในห้องฉัน Of Mice and Men (1992) | - Yeah, well, I got a right to have a light. | - ฉันมีสิทธิ์ที่จะเปิดไฟ Of Mice and Men (1992) | Ain't I got a right to talk to nobody? | ฉันไม่มีสิทธิ์จะคุยกับใครเลยเหรอ Of Mice and Men (1992) | The Alliance has the right to do whatever they feel is in the best interest of the sport. | คณะกรรมการมีสิทธิ์ที่จะเปลี่ยนแปลง อะไรก็ได้ถ้าเห็นว่ามันเป็นประโยชน์ Cool Runnings (1993) | Those guys have earned the right to represent their country. | พวกเขามีสิทธิ์ที่จะเป็น ตัวแทนประเทศของเขา Cool Runnings (1993) | They've earned the right to march into that stadium... and wave their nation's flag. | พวกเขามีสิทธิ์ที่จะได้เดินเข้าสนามในพิธีเปิด และโบกธงชาติของพวกเขา Cool Runnings (1993) | Are you all right? | คุณมีสิทธิทั้งหมดหรือไม่ In the Name of the Father (1993) | I have a right to speak to my son. | ฉันมีสิทธิที่จะพูดคุยกับลูกของฉัน In the Name of the Father (1993) | They have no right to take him to England. | พวกเขาไม่มีสิทธิ ที่จะพาเขาไปยังประเทศอังกฤษ In the Name of the Father (1993) | It'll be all right. | มันจะมีสิทธิ์ทั้งหมด In the Name of the Father (1993) | Are you all right, Da? | คุณมีสิทธิทั้งหมดดา? In the Name of the Father (1993) | Are you all right? | คุณมีสิทธิทั้งหมดหรือไม่ In the Name of the Father (1993) | You're gonna be all right, Da! | คุณมีสิทธิ์ทั้งหมด gonna, Da! In the Name of the Father (1993) | Under the Businesses Compensation Fund, | ฉันมีสิทธิ์เรียกค่าชดเชยด้วย Schindler's List (1993) | Harry has the right to know why. | แฮรี่มีสิทธิ์ที่จะรู้ว่าทำไม Harry Potter and the Prisoner of Azkaban (2004) | We're not at liberty to comment. | เราไม่มีสิทธิที่จะออกความเห็น Squeeze (1993) | Doesn't the government have a right and a responsibility to protect its secrets? | ทำไมรัฐบาลจะไม่มีสิทธิและหน้าที่ ที่จะปกปิดมันเป็นความลับ ? Squeeze (1993) | I thought we don't have the right to drink. | ฉันคิดว่าเราไม่มีสิทธิ์ที่จะดื่ม Léon: The Professional (1994) | Does paying rent here mean I have to put up with you guys? | ฉันจ่ายเงินแล้วหมายความว่า พวกนายยังมีสิทธิ์ที่นี่อีกใช่มั้ย Léon: The Professional (1994) | I'll be right back with your drinks. | ฉันจะมีสิทธิ์กลับมาพร้อมกับเครื่องดื่มของคุณ Pulp Fiction (1994) | As you know, special detail carries with it special privileges. | ที่คุณรู้ว่า รายละเอียดพิเศษก็จะมีสิทธิพิเศษ The Shawshank Redemption (1994) | You have the right to remain silent. | คุณมีสิทธิที่จะอยู่เงียบ ๆ The Shawshank Redemption (1994) | They had no right to do that. | พวกเขาไม่มีสิทธิ์ทำอย่างนั้น Don Juan DeMarco (1994) | You're better off than a lot of people. | นายมีสิทธิ์เลือก มากกว่าคนทั่วไป The Great Dictator (1940) | You have no right! | คุณไม่มีสิทธินะ The Great Dictator (1940) | If I were a man I'd show you. | ทุกคนมีสิทธิ์จะได้มัน The Great Dictator (1940) | In this world, the good earth is rich and can provide for everyone. | ในโลกนี้ ผืนแผ่นดิน ทุกคนมีสิทธิที่จะได้ยืน The Great Dictator (1940) | She had a right to amuse herself, didn't she? | ท่านมีสิทธิ์ที่จะรักสนุกบ้างไม่ใช่หรือ Rebecca (1940) | Yes. Unfortunately, I suppose you have the right to ask that. | ใช่ผมว่าคุณมีสิทธิ์นั้น Rebecca (1940) | Oh, isn't it? Well, people are entitled to leave cars outside if they want to. | งั้นหรือ คนเรามีสิทธิ์ที่จะจอดรถไว้ตรงไหนก็ได้ Rebecca (1940) | The gentleman has a right to see exhibits in evidence. | สุภาพบุรุษมีสิทธิที่จะเห็นการจัดแสดงนิทรรศการในหลักฐาน 12 Angry Men (1957) | You have no right to leave this room! | คุณมีสิทธิที่จะออกจากห้องนี้! 12 Angry Men (1957) | - I don't think you have any right to... | - ฉันไม่คิดว่าคุณมีสิทธิที่จะใด ๆ ... 12 Angry Men (1957) | There'll be no more privileges. | จะมีสิทธิพิเศษในการไม่มาก ฉันจะหยุดนี้ลักขโมยจิ๊บจ๊อย How I Won the War (1967) | He has no privileges in this court. | เขามีสิทธิ์ในการศาลนี้ คุณสามารถเลือกคนที่คุณเช่นที่ จะปกป้องคุณ How I Won the War (1967) | - A spice. - He's right, you know. | โอ้เขามีสิทธิที่คุณรู้ว่า มันเปเปอ Yellow Submarine (1968) | -Yeah. Are you all right? | - ใช่ คุณมีสิทธิทั้งหมดหรือไม่ The Godfather (1972) | I'm relating. | ผมมีสิทธิ์ Oh, God! (1977) | What's going on? We have a right to know the truth. | เกิดอะไรขึ้น เรามีสิทธิ์ที่จะรู้ความจริง Airplane! (1980) | Get him! He had no right to shoot my babies. Get the son of a bitch! | จับเขา เขาไม่มีสิทธิ์ที่จะยิงลูกของผม จับลูกหมา First Blood (1982) | "A High Court judge confirmed that Mr. Gandhi would've been within his rights to prosecute for assault since neither he nor Mr. Khan resisted arrest." | "ผู้พิพากษาศาลสูงยืนยันว่าคานธี มีสิทธิจะฟ้องร้องที่ถูกทำร้าย เพราะทั้งเขาและข่าน ไม่ได้ขัดขืนการจับกุม" Gandhi (1982) | And it's their privilege to nourish the effort of the few who can raise India from servitude and apathy. | พวกเขามีสิทธิที่จะสนับสนุนคน ที่สามารถดึงอินเดียให้พ้นจาก ความเป็นทาสและเฉื่อยชาได้ Gandhi (1982) | Terrorism would only justify their repression. | การฆ่าฟันทำให้พวกเขา มีสิทธิ์ปราบปราม Gandhi (1982) | -You've earned a few indulgences. | - คุณมีสิทธิจะบ่นได้เลย Gandhi (1982) | Let every Indian claim it as his right. | ชาวอินเดียทุกคนมีสิทธิเป็นเจ้าของ Gandhi (1982) | You are authorized to observe other aspects of our mission. | คุณมีสิทธิ์ที่จะสังเกตเห็น ด้านอื่น ๆ ของภารกิจของเรา 2010: The Year We Make Contact (1984) | He's right in front of me. | เขามีสิทธิที่ด้านหน้าของฉัน 2010: The Year We Make Contact (1984) | You have no right to shut me in. | พวกคุณไม่มีสิทธิจะขังผมไว้ในนี้ Clue (1985) |
| มีสิทธิ์เลือก | [mī sit leūak] (v, exp) FR: avoir le droit de choisir | ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง | [phū mī sit leūaktang] (n, exp) EN: eligible voter ; elector ; constituent FR: électeur [ m ] ; électrice [ f ] | ผู้มีสิทธิ์ลงคะแนน | [phū mī sit longkhanaēn] (n, exp) EN: constituent FR: électeur [ m ] ; électrice [ f ] | ผู้มีสิทธิ์ลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง | [phū mī sit long khanaēnsīeng leūaktang] (xp) EN: elector ; qualified voter ; constituent FR: électeur [ m ] ; électrice [ f ] |
| heat | (n) รอบการแข่งขันกีฬาในลักษณะที่ผู้ชนะจะมีสิทธิ์ผ่านเข้าไปแข่งในรอบที่สูงๆ ขึ้นไปได้ |
| be within one's right | (idm) มีสิทธิที่จะทำ | censurable | (adj) ที่มีสิทธิที่จะว่ากล่าว, Syn. blameworthy, culpable | censurably | (adv) อย่างมีสิทธิที่จะว่ากล่าว, Syn. blamably | constituency | (n) ผู้ที่มีสิทธิเลือกตั้งในเขตเลือกตั้ง | elector | (n) ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง, See also: ผู้เลือก, Syn. voter | electorate | (n) ผู้ที่มีสิทธิเลือกตั้งทั้งหมดในท้องที่หรือเขตหนึ่งๆ, See also: เขตเลือกตั้งของผู้มีสิทธิเลือกตั้ง | enfranchise | (vt) ให้มีสิทธิเลือกตั้ง, See also: ให้สิทธิเลือกตั้ง | free | (vt) ทำให้ปลอดจากสิ่งกีดขวาง, See also: ทำให้มีสิทธิเสรีภาพ | freehold | (n) การครอบครองอสังหาริมทรัพย์แบบผู้ครอบครองมีสิทธิสมบูรณ์ | freehold | (n) อสังหาริมทรัพย์ที่ผู้ครอบครองมีสิทธิที่จะทำอย่างไรก็ได้กับอสังหาริมทรัพย์นั้น | governing | (adj) ซึ่งมีสิทธิปกครอง | have a right to do | (idm) มีสิทธิ์ในการกระทำบางสิ่ง, See also: มีอิสระในการทำบางสิ่ง | have the right to do | (idm) มีสิทธิที่จะทำบางสิ่ง | pay the piper | (idm) (คน)จ่ายเงินคือคนที่มีสิทธิ์ควบคุม | monopolisation | (n) การทำให้มีสิทธิ์แต่เพียงผู้เดียว, See also: การทำให้มีเอกสิทธิ์ | monopolise | (vt) ทำให้มีสิทธิ์เพียงผู้เดียว, Syn. monopolize | optionee | (n) ผู้มีสิทธิเลือก, See also: ผู้เลือก | ordinary share | (n) หุ้นส่วนที่มีสิทธิ์ออกเสียงในบริษัท | outlaw | (vt) ทำให้คนไม่มีสิทธิตามกฎหมาย | preempt | (vt) ยึดเอาไปก่อน, See also: จอง, ทำให้มีสิทธิ์ก่อนคนอื่น, Syn. seize, appropriate | qualify | (vi) มีอำนาจ, See also: มีสิทธิ | roundtable | (n) การนั่งประชุมโต๊ะกลม (ทุกคนมีสิทธิเท่าเทียมกันหมด) | underprivilged | (adj) ไม่ได้มีสิทธิเพราะยากจน, See also: ไม่ได้สิทธิเพราะด้อยโอกาส, Syn. deprived, disadvantaged | votable | (adj) ซึ่งมีสิทธิออกเสียง, Syn. voteable | vote | (n) ผู้ที่มีสิทธิออกเสียง | voteable | (adj) ซึ่งมีสิทธิออกเสียง, Syn. votable |
| beneficial | (เบนนะฟิช'เชียล) adj. เป็นประโยชน์, เป็นผลดี, ซึ่งช่วยเหลือ, มีสิทธิในการใช้สอย, See also: beneficialness n. ดูbeneficial, Syn. helpful -Conf. beneficent | beneficiary | (เบนนะฟิช'เชียรี) n. ผู้รับผลประโยชน์, ผู้รับเงินประกัน, ผู้รับเงินช่วยเหลือ, ผู้มีสิทธิพิเศษ, Syn. donee, recipient | constituency | (คันสทิช'ชุเอินซี) n. ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งในเขตหนึ่ง, เขตเลือกตั้ง | disable | (ดิสเอ'เบิล) { disabled, disabling, disables } vt. ทำให้ไร้ความสามารถทำให้ไม่มีสิทธิ์, See also: disablement n. ดูdisable, Syn. cripple | dower | (เดา'เออะ) n., vt. (มอบ) ทรัพย์สินของสามีที่ตายไปและหญิงหม้ายมีสิทธิได้รับ, สินสมรส, พรสวรรค์ | electorate | n. ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งทั้งหมด, เขตเลือกตั้ง | eligibility | (เอลลิจะบิล'ลิที) n. การมีสิทธิเข้ารับเลือก | eligible | (เอล'ลิจะเบิล) adj. ซึ่งมีสิทธิเข้ารับเลือก, เหมาะสม, เข้าเกณฑ์ -n. บุคคลที่มีสิทธิเข้ารับเลือก, See also: eligibly adv. ดูeligible, Syn. proper | jointure | (จอยน'เซอ) n. ทรัพย์สินของสามีที่ตายซึ่งภรรยาหม้ายมีสิทธิ์จะได้รับ | judicative | (จูดดะเค'ทิฟว) adj. เกี่ยวกับการพิจารณาคดี, สามารถตัดสินได้, ซึ่งมีสิทธิตัดสิน, Syn. judging | legitimacy | (ลิจิท'ทะมะซี) n. ความถูกต้องตามกฎหมาย, ความชอบด้วยกฎหมาย, ความถูกต้องสมควร, ความมีสิทธิตามกฎหมาย, ความถูกต้องตามทำนองคลองธรรม, ความถูกต้องตามขนบธรรมเนียมประเพณี | legitimate | (ลิจิท'ทะเมท) adj. ถูกต้องตามกฎหมาย, ถูกต้องสมควร, มีสิทธิตามกฎหมาย, ถูกต้องตามทำนองคลองธรรม, ถูกต้องตามขนบธรรมเนียมประเพณี, โดยการสมรสที่ชอบด้วยกฎหมาย vt.ทำให้ถูกต้อง ตามกฎหมาย, ทำให้ชอบด้วยกฎหมาย, มอบอำนาจ., See also: legitimateness n. ดูlegitimate legitimation n. ดูlegimate, Syn. lawful, legal, licit | optionee | (ออพชันนี') n. ผู้มีสิทธิเลือก, ผู้เลือก | popular vote | คะแนนเสียงจากผู้มีสิทธิออกเสียง (ต่างจาก electoral vote ซึ่งเป็นคะแนนเสียงจากผู้แทน) | precedence | (เพรส'ซิเดินซฺ) n. การนำก่อน, การนำหน้า, การมาก่อน, ความสำคัญกว่า, สิทธิการนำหน้า, การมีสิทธิก่อน | prerogative | (พรีรอก'กะทิฟว) n. สิทธิพิเศษ, อภิสิทธิ์, บุริมสิทธ adj. มีสิทธิดังกล่าว, Syn. privilege | priority | (ไพรออ'ริที) n. การมาก่อน, การมีสิทธิก่อน, บุริมสิทธิ, สิทธิพิเศษ | privileged | (พริฟ'วิลลิจดฺ) adj. มีอภิสิทธิ์, มีสิทธิพิเศษ, ไม่อยู่ภายใต้การบังคับของกฎเกณฑ์ทั่ว ๆ ไป, Syn. advantaged | privileged instruction | คำสั่งเอกสิทธิ์หมายถึง คำสั่งภาษาเครื่อง (machine language) ซึ่งจำกัดโปรแกรมต่าง ๆ ไม่ให้ทำงานผิดแนวทาง โดยปกติ คำสั่งเอกสิทธิ์จะประกอบด้วย คำสั่งข้อจำกัดการใช้ เกี่ยวกับการปฏิบัติงานของหน่วยรับข้อมูลเข้า หน่วยแสดงผล การป้องกันหน่วยความจำ การหยุดชะงักการทำงานของเครื่อง และปฏิบัติการเกี่ยวกับการควบคุม และการกำหนดเวลา คำสั่งนี้ผู้ใช้เครื่องธรรมดาไม่มีสิทธิใช้ และจะทำงานได้เฉพาะเมื่ออยู่ในภาวะการใช้ระบบปฏิบัติการ (operating system mode) | qualified | (ควอล'ละไฟดฺ) adj. มีคุณสมบัติ, มีคุณวุฒิเหมาะสม, มีสิทธิ, มีข้อแม้, มีเงื่อนไข., See also: qualifiedly adv., Syn. able, capable | rights | (ไรทซฺ) n. สิทธิ, สิทธิโดยชอบธรรม, สิทธิของพลเมือง adj. มีสิทธิ, มีสิทธิโดยชอบธรรมของพลเมือง, Syn. civil rights | round table | (เรานดฺ'เท'เบิล) adj. เกี่ยวกับการประชุมที่ผู้เข้าร่วมประชุมมีสิทธิเท่าเทียมกัน | underlie | (อันเดอะไล') vt. วางอยู่ข้างใต้, อยู่ข้างใต้, หนุน, ค้ำ, เป็นฐาน, มีบุริมสิทธิ์, มีสิทธิ์ก่อน., See also: underlier n., Syn. underscore | underlying | (อัน'เดอะไลอิง) adj. อยู่ข้างใต้, อยู่ชั้นใต้, เป็นรากฐาน, แฝงอยู่, มีบุริมสิทธิ์, มีสิทธิก่อน vi. กริยาเติม?ing?ของunderlie | underprivileged | (อัน'เดอะพริฟ'วะลิจดฺ) adj. ไม่ได้มีสิทธิเพราะยากจน, ไม่ได้สิทธิเพราะอยู่ในชนชั้นที่ต่ำ | usufructuary | (ยูซิวฟรัค'ทิวอะรี) n. บุคคลผู้มีสิทธิเก็บกินในทรัพย์สินที่ครอบครอง, adj. ซึ่งมีสิทธิเก็บกิน | votable | (โว'ทะเบิล) adj. ลงคะแนนได้, มีสิทธิเลือกตั้ง, นำไปลงมติได้. | votaless | (โวท'ลิส) adj. ไม่มีคะแนนเสียง, ไม่มีสิทธิออกเสียง, ไม่มีสิทธิเลือกตั้ง | voter | (โว'เทอะ) n. ผู้ลงคะแนนเสียง, ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง |
| constituent | (n) ส่วนสำคัญ, ส่วนประกอบ, องค์ประกอบ, ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง | disable | (vt) ทำให้ไร้ความสามารถ, ทำให้ไร้สมรรถภาพ, ทำให้ไม่มีสิทธิ์ | elective | (adj) เกี่ยวกับการเลือก, ซึ่งมีสิทธิ์เลือก, ซึ่งได้รับเลือก | elector | (n) ผู้เลือก, ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง | electoral | (n) สิ่งที่ให้เลือกได้, ผู้มีสิทธิเลือกได้ | electorate | (n) ผู้มีสิทธิ์ออกเสียงเลือกตั้ง, เขตเลือกตั้ง | eligibility | (n) ความเหมาะสม, ความมีสิทธิ์จะได้รับเลือก | eligible | (adj) ซึ่งมีสิทธิ์จะได้รับเลือก, น่าเลือก, เหมาะ | feminist | (n) ผู้นิยมให้มีสิทธิสตรีมากขึ้น, สุภาพสตรี | ineligible | (adj) ไม่เหมาะ, ไม่น่าเลือก, ไม่มีสิทธิ์, ไม่มีคุณสมบัติ | legitimacy | (n) ความถูกต้องตามกฎหมาย, การมีสิทธิตามกฎหมาย | prescription | (n) การมีสิทธิ์เป็นเจ้าของ, การกำหนดอายุความ | prescriptive | (adj) กำหนดให้, มีสิทธิ์เป็นเจ้าของตามกฎหมาย | priority | (n) บุริมสิทธิ์, สิทธิพิเศษ, การมีสิทธิ์ก่อน | qualified | (adj) มีคุณสมบัติ, มีคุณวุฒิ, มีเงื่อนไข, มีสิทธิ | tenure | (n) ความเป็นเจ้าของ, การครอบครอง, ความมีสิทธิ์ |
| | befugt | (adj) |zu etwas befugt sein| มีสิทธิหรืออำนาจในการกระทำการสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น Ich bin nicht dazu befugt, Ihnen Aufkunft zu geben. ฉันไม่มีอำนาจในการให้ข้อมูลคุณ |
|
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |