พักตร์ | (n) face, Syn. หน้า, ใบหน้า, พักตร์, หน้าตา, Example: พระพักตร์ของพระพุทธรูปที่สร้างในสมัยสุโขทัยจะอิ่มเอิบ สวยงาม, Count Unit: หน้า | พระพักตร์ | (n) face, Syn. หน้า, ใบหน้า, Example: พระพุทธรูปอินเดียสมัยราชวงศ์ปาละ มีพระวรกายอวบอ้วน พระพักตร์กลมคล้ายผลมะตูม, Count Unit: หน้า, Notes: (ราชา) | แปรพักตร์ | (v) depart from, See also: defect, desert, be disloyal, go over to the other side, renege, deviate from, turn away fr, Syn. ทรยศ, หักหลัง, ไม่ซื่อตรง, Ant. ซื่อสัตย์, ซื่อตรง, Example: ทหารรัฐบาลบางส่วนแปรพักตร์ไปเข้ากับกองทัพแดง, Thai Definition: หันไปคบค้ากับผู้อื่น, เอาใจออกห่าง | จตุรพักตร์ | (n) four-faced, See also: the creator of the Universe, Syn. พระพรหม, สี่หน้า, Example: จตุรพักตร์ หมายถึงพระพรหม, Thai Definition: ผู้มี 4 หน้า คือ พระพรหม | ซับพระพักตร์ | (n) handkerchief, Syn. ผ้าเช็ดหน้า, Notes: (ราชา) | ผู้แปรพักตร์ | (n) defector, Ant. ผู้ภักดี, Example: นายสุธรรม แสงประทุม อดีตส.ส. พลังธรรม เป็นผู้แปรพักตร์จากประชาธิปัตย์มาอยู่กับ พ.ต.ท. ดร.ทักษิณ, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้ที่เอาใจออกหาก, ไม่ซื่อตรง และไปเข้าร่วมกับฝ่ายตรงข้าม | เฉพาะพระพักตร์ | (adv) in front of the king or queen, Syn. ต่อหน้า, Example: ละครชุดนี้จะแสดงเฉพาะพระพักตร์, Notes: (ราชา) |
|
จตุรพักตร์ | ว. “ผู้มี ๔ หน้า” คือ พระพรหม. | จัตุรพักตร์ | ว. จตุรพักตร์, “ผู้มี ๔ หน้า” คือ พระพรหม. | เฉพาะพระพักตร์ | ว. เบื้องหน้า, ต่อหน้า. | ซับพระพักตร์ | น. ผ้าเช็ดหน้า. | แปรพักตร์ | ก. เอาใจออกหาก, ไม่ซื่อตรง. | พรหมพักตร์ | น. ยอดเครื่องสูงหรือยอดสิ่งก่อสร้างที่เป็นหน้าพรหม ๔ ด้าน. | พักตร-, พักตร์ | (พักตฺระ-, พัก) น. หน้า, ใช้ว่า พระพักตร์. | กระเลียด | (-เหฺลียด) ก. ชัง, รังเกียจมาก, เช่น ไยเยาวเคียดและกระเลียด ฤเหลือบพระพักตร์ผิน (สรรพสิทธิ์). | กินนรรำ | ชื่อกลบทชนิดหนึ่ง ตัวอย่างว่า ชะจิตใจไฉนนางระคางเขิน ปะพบพักตร์จะทักทายชม้ายเมิน ละเลิงเหลือจะเชื้อเชิญเผอิญอาย. | ชักหน้า ๑ | ก. ทำสีหน้าโกรธไม่พอใจ เช่น นางนั่งก้มพักตร์แล้วชักหน้า (อิเหนา), ชักสีหน้า ก็ว่า. | นาคาวโลก | (-คาวะ-) น. ชื่อพระพุทธรูปปางหนึ่ง อยู่ในพระอิริยาบถยืน พระหัตถ์ซ้ายห้อยเยื้องมาข้างหน้าประทับไว้ที่พระเพลาข้างซ้าย พระหัตถ์ขวาห้อยลงข้างพระองค์ตามปรกติ เอี้ยวพระกายผินพระพักตร์ไปทางซ้าย (เป็นกิริยาทอดพระเนตรพระนครไพศาลีอย่างไว้อาลัย ด้วยจะเป็นการเห็นครั้งสุดท้าย). | พริ้ม | (พฺริ้ม) ว. งามอย่างยิ้มแย้ม, มีหน้าตาอิ่มเอิบและดูยิ้มละไมอยู่ในหน้า, เช่น พระพุทธรูปมีพระพักตร์พริ้ม นอนหลับตาพริ้ม. | พักตรา | ดู พักตร-, พักตร์. | พักตรากฤติ | ดู พักตร-, พักตร์. | ภควัม | (พะคะ-) น. พระเครื่องรางชนิดหนึ่ง มีพระพักตร์ควํ่าและปิดทวารทั้ง ๙ คือ ตา ๒ หู ๒ จมูก ๒ ปาก ๑ ทวารหนัก ๑ ทวารเบา ๑, โดยปริยายใช้เรียกคนที่ทำหน้าควํ่าหน้างอไม่รับแขก ว่า ทำหน้าเป็นภควัม หรือ หน้าควํ่าเป็นภควัม | ศิลป์ ๒ | (สิน) น. ศร เช่น งามเนตรดังเนตรมฤคมาศ งามขนงวงวาดดังคันศิลป์ (อิเหนา), พิศพักตร์ผ่องพักตร์ดั่งจันทร พิศขนงก่งงอนดั่งคันศิลป์ (รามเกียรติ์ ร. ๑). | สยิ้ว | (สะยิ่ว) ก. ทำหน้านิ่วคิ้วขมวดแสดงความไม่พอใจหรือเบื่อหน่าย ในคำว่า สยิ้วหน้า สยิ้วพระพักตร์. | หน้าที่นั่ง | ว. เบื้องหน้า, ต่อหน้า. น. ที่เฉพาะพระพักตร์พระเจ้าอยู่หัวหรือพระราชินี เช่น แสดงหน้าที่นั่ง. |
|