Numbers, Real | จำนวนจริง [TU Subject Heading] |
power | เลขยกกำลัง, จำนวนจริงที่เขียนอยู่ในรูป xn โดยที่ x เป็นจำนวนจริงใด ๆ ที่ไม่เท่ากับศูนย์ และ n เป็นจำนวนนับใด ๆ ในบางครั้งใช้ในความหมายเดียวกับเลขชี้กำลัง [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
real axis [ real number axis ] | แกนจำนวนจริง (แกนจริง), แกนนอนของระนาบเชิงซ้อน [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
absolute value | ค่าสัมบูรณ์, ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง a เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ หมายถึงระยะจากจุดแทน 0 ถึงจุดแทน a บนเส้นจำนวน [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
real number | จำนวนจริง, จำนวนที่เป็นสมาชิกอยู่ในเซตที่เกิดจากยูเนียนของเซตของจำนวนตรรกยะ และเซตของจำนวนอตรรกยะ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
positive real number | จำนวนจริงบวก, จำนวนจริงที่มากกว่าศูนย์ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
negative real number | จำนวนจริงลบ, จำนวนจริงที่มีค่าน้อยกว่าศูนย์ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
prime number | จำนวนเฉพาะ, จำนวนเต็ม a ซึ่งไม่เท่ากับ 0 หรือ ±1 และต้องหารลงตัวด้วย ±1 และ ± a เท่านั้น เช่น ±3, ± 5, ± 7, ± 11 เป็นต้น (ส่วนมากมักจะกล่าวถึงจำนวนเฉพาะที่เป็นจำนวนจริงบวกเท่านั้น) [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
complex number | จำนวนเชิงซ้อน, จำนวนใด ๆ ที่เขียนในรูปคู่อันดับ (a, b) เมื่อ a และ b เป็นจำนวนจริงและมีคุณสมบัติต่อไปนี้ 1. (a, b) = (c, d) ต่อเมื่อ a = c และ b = d2. (a, b) + (c, d) = (a + c, b + d)3. (a, b) . (c, d) = (ac - bd, ad + bc) หรือ (a, b) อาจเขียนได้ในรูป a + bi เมื่อ i2 = [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
determinant | ดีเทอร์มิแนนต์, ดีเทอร์มิแนนต์ของเมทริกช์ใดหมายถึงจำนวนจริงที่มีค่าขึ้นอยู่กับเมทริกช์นั้น เช่น ดีเทอร์มิแนนต์ของเทตริกช์ A เขียนแทนด้วย det(A) คือ a1a4 - a2a3 [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
quantifier | ตัวบ่งปริมาณ, ข้อความที่บอกปริมาณ เช่น ประโยค "สำหรับ x ทุกตัว ถ้า x เป็นจำนวนเต็มแล้ว x เป็นจำนวนจริง" ข้อความ "สำหรับ x ทุกตัว " เป็นตัวบ่งปริมาณ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
quotient | ผลหาร, จำนวนที่ได้จากการหารจำนวนจริง a ด้วยจำนวนจริง b เมื่อ b ¹ 0 เช่น 5 เป็นผลหารของ 10 ที่หารด้วย 2 ในกรณีที่การหารไม่ลงตัว เช่น 7 2 จะได้ผลหารเป็น 3 และเศษเป็น 1 [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
polynomial (in one variable) | พหุนาม (ที่มีตัวแปรเดียว), พหุนามที่มีตัวแปรเดียวดีกรี n คือนิพจน์ที่อยู่ในรูป a0xn + a1xn-1+...+an-1+an เมื่อ ai เป็นจำนวนจริง (i = 1, 2, 3, ... n) หรือจำนวนจินตภาพและ n เป็นจำนวนเต็ม ซึ่งมากกว่าหรือเท่ากับศูนย์ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
quadratic function | ฟังก์ชันกำลังสอง, ฟังก์ชันที่อยู่ในรูป f(x) = ax2 + bx + c เมื่อ a, b, c เป็นจำนวนจริงใด ๆ และ a ¹ 0 [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
constant function | ฟังก์ชันคงตัว, ฟังก์ชันที่เขียนได้ในรูป f(x) = c เมื่อ c เป็นจำนวนจริง [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
cosine function | ฟังก์ชันโคไซน์, ฟังก์ชันตรีโกณมิติชนิดหนึ่ง เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ cosine θ = x โดยที่ θ เป็นจำนวนจริง [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
linear function | ฟังก์ชันเชิงเส้น, ฟังก์ชันที่อยู่ในรูป f(x) = ax + b เมื่อ a และ b เป็นจำนวนจริง เช่น f(x) = 2x + 3 เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
sine function | ฟังก์ชันไซน์, ฟังก์ชันตรีโกณมิติชนิดหนึ่ง อาจนิยามโดยอาศัยวงกลมหนึ่งหน่วยเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ sine q = y โดยที่ q เป็นจำนวนจริงที่แทนด้วยความยาวของส่วนโค้งที่วัดจากจุด (1, 0) บนวงกลมหนึ่งหน่วย ไปตามส่วนโค้งของวงกลม(โดยคิดทิศทาง) และมี (x, y) เป็นจุดปลายของส่วนโค้งที่ย [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
trigonometric function | ฟังก์ชันตรีโกณมิติ, ฟังก์ชันในเซตของจำนวนจริงสามารถใช้วงกลมหนึ่งหน่วยเป็นหลักในการนิยาม เช่น ฟังก์ชันไซน์ ฟังก์ชันโคไซน์ เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
polynomial function | ฟังก์ชันพหุนาม, ฟังก์ชันที่อยู่ในรูป f(x) = anxn + an-1xn-1 + ... + a2x2+ a1x+ a0 โดยมีเงื่อนไขว่า an, an-1 , ..., a2, a1, a0 เป็นจำนวนจริง และ n เป็นจำนวนเต็มซึ่งมากกว่าหรือเท่ากับศูนย์ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
logarithmic function | ฟังก์ชันลอการิทึม, ฟังก์ชันที่เขียนในรูป y = logax เมื่อ x เป็นจำนวนจริงบวกและ a เป็นจำนวนจริงบวกที่ไม่เท่ากับ 1 logax อ่านว่า ลอการิทึมของเอกซ์ฐานเอ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
real plane | ระนาบจริง, ระนาบที่จุดใดจุดหนึ่งบนระนาบนั้น แทนด้วยคู่อันดับของจำนวนจริงเพียงคู่อันดับเดียว [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
complex plane | ระนาบเชิงซ้อน, ระนาบที่ประกอบด้วยแกนของจำนวนจริง (แกน X) และแกนของจำนวนจินตภาพ (แกน Y) [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
square root | รากที่สอง, รากที่สองของจำนวนจริง a เมื่อ a > 0 เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ หมายถึงจำนวนที่ยกกำลังสองแล้วได้ a เช่น 2 และ -2 เป็นรากที่สองของ 4 [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
cube root (of a real number) | รากที่สาม (ของจำนวนจริง), รากที่สามของจำนวนจริง a เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ หมายถึงจำนวนที่ยกกำลังสามแล้วได้ a เช่น = 2, = -3 [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
square | รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, กำลังสอง, 1. รูปสี่เหลี่ยมมุมฉากที่มีด้านทุกด้านยาวเท่ากัน 2. กำลังสองของจำนวนจริง x ใด ๆ หมายถึง x · x เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ x2 [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
trichotomy property | สมบัติไตรวิภาค, สมบัติที่กล่าวถึงการเท่ากันหรือไม่เท่ากัน เช่น ถ้า a และ b เป็นจำนวนจริงแล้ว a = b หรือ a < b หรือ a > b อย่างใดอย่างหนึ่งเท่านั้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
real part (of a complex number) | ส่วนจริง (ของจำนวนเชิงซ้อน), จำนวนจริง a ของจำนวนเชิงซ้อน a + bi (ดู complex number ประกอบ) [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
imaginary part (of a complex number) | ส่วนจินตภาพ (ของจำนวนเชิงซ้อน), จำนวนจริง b ของจำนวนเชิงซ้อน a + bi (ดู complex number ประกอบ) [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
straight line | เส้นตรง, เซตของจุด (x, y) ที่สอดคล้องกับสมการ y = a + bx เมื่อ a และ b เป็นจำนวนจริงใด ๆ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
antilogarithm | แอนติลอการิทึม, แอนติลอการิทึมของจำนวนจริง a หมายถึง จำนวนที่ลอการิทึมฐานสิบของจำนวนนั้นเท่ากับ a เช่น log10 100 = 2 antilog 2 = 100 [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
arithmetic number | จำนวนเลขคณิต, จำนวนที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวัน ได้แก่ จำนวนเต็มบวก เศษส่วน ทศนิยม และจำนวนจริง(ที่เป็นบวก) [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
irrational number | จำนวนอตรรกยะ, จำนวนจริงที่ไม่ใช่จำนวนตรรกยะ เขียนได้ในรูปทศนิยมไม่ซ้ำ เช่น ¶ = 3.1415926535..., sin 45° = 0.70710678..., tan 140° = -0.8391... [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
interval (of real numbers) | ช่วง(ของจำนวนจริง), ช่วง(ของจำนวนจริง) เมื่อ a และ b เป็นจำนวนจริง และ a < b ช่วงเปิด (a, b) หมายถึง { x | a < x < b } ช่วงปิด [ a, b ] หมายถึง { x | a x b } ช่วงครึ่งเปิด [ a, b) หมายถึง { x | a x < b } ช่วงครึ่งเปิด (a, b ] หมายถึง { x | a < x b } [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
half-open interval | ช่วงครึ่งเปิด, ช่วงครึ่งเปิดของจำนวนจริง a, b เมื่อ a < b ใช้สัญลักษณ์ [ a, b) หรือ (a, b ] โดยที่ [ a, b) หมายถึง { x | a x < b } (a, b ] หมายถึง { x | a < x b } เช่น [ 2, 5) หมายถึงจำนวนจริงที่อยู่ระหว่าง 2 ถึง 5 โดยนับรวม 2 แต่ไม่ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
binomial theorem | ทฤษฎีบททวินาม, ทฤษฎีที่ว่าด้วยการกระจาย (a+b)n เมื่อ a และ b เป็นจำนวนจริงและ n เป็นจำนวนเต็มบวก [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |